กลไกการรักษาดุลยภาพของกรด-เบสในร่างกายของปอด

การรักษาดุลยภาพของรา่ งกาย

(Homeostasis)

นางสาววิชุดา พรหมคงบุญ
โรงเรียนกาแพงวทิ ยา อาเภอละงู จังหวดั สตูล

การควบคุมดุลยภาพของ
กรด-เบสของเลอื ดโดยการ

ทางานของไตและปอด

ขั้นสร้างความสนใจ

การหายใจระดับเซลล์

การสลายสารอาหารต่าง ๆ เพือ่ ใหไ้ ด้พลงั งานซึง่ ลว้ นเปน็
กระบวนการเมแทบอลิซึมทีต่ อ้ งอาศัยเอนไซมใ์ นการ
เกิดปฏิกิริยาเคมี เอนไซมเ์ ปน็ โปรตีน โดยเอนไซมแ์ ตล่ ะ
ชนิดจะทาางานได้ดีขึน้ อย่กู บั ปจั จัยต่าง ๆ

ข้นั สรา้ งความสนใจ

การทางานของเอนไซมใ์ นรา่ งกาย

การทางานของเอนไซม์ในร่างกาย

1. เอนไซม์อะไมเลสสา
มารถทางานได้ดที ส่ี ุดที่

คา่ pH ใด ??

2. จงอธิบายอัตราการ
ทางานของเอนไซม์เพป
ซนิ เอนไซม์อะไมเลส

และเอนไซม์ทรปิ ซิน
??

การหายใจระดบั เซลล์
(กระบวนการสร้างพลงั งาน)

ในเลอื ด

ความเป็นกรด-เบสของเลือดข้นึ กบั
ความเขน้ ขน้ ไฮโดรเจนไอออน H+

คาถาม

ถา้ เลอื ดมีปรมิ าณ H+ มากกวา่ หรอื นอ้ ยกวา่ ปกติจะ
ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของ pH อย่างไร

ร่างกายมนษุ ยม์ แี นวโน้มมคี วามเปน็ กรดหรือ
เบสมากกว่ากัน เพราะเหตใุ ด

ความเข้มข้นของ H+

H H+ + H+ H+

กรด ทั่วไปเลือดมีแนวโน้ม เบส

Acid มีสภาวะเปน็ กรด Base
(pH ต่า) (pH สูง)
เพราะ CO2 เกดิ ข้นึ
และสะสมตลอดเวลา

ในสภาวะปกติ.. เลอื ดมีแนวโน้มเปน็ กรด

ทัว่ ไปเลอื ดมแี นวโนม้ ตอ้ งกาจัด
H+
มสี ภาวะเป็นกรด
(ไฮโดรเจน
เพราะ CO2 เกิดขึน้ ไอออน)
และสะสมตลอดเวลา

การแลกเปลยี่ นแกส๊

การแลกเปลีย่ นแก๊สคาร์บอนไดออกไซดก์ ับแกส๊ ออกซเิ จนเกดิ ขึน้ ท่ี
อวยั วะใด และบรเิ วณใด

นักเรียนทดลองกล้นั หายใจ

เหตใุ ดนกั เรยี นจึงกลน้ั หายใจไม่ได้นาน

นกั เรียนสบื ค้นข้อมลู

เกีย่ วกบั กลไกการควบคุมดลุ ยภาพของกรด-เบสของ
เลือดโดยการทางานของปอด

การหายใจช่วยในการรกั ษาดุลยภาพของกรด-เบสใน
เลอื ดได้อยา่ งไร

การรักษาดลุ ยภาพของความเป็น
กรด – เบสภายในรา่ งกาย

ในคนปกติ pH ในเลือดอยูร่ ะหว่าง 7.35 – 7.45
ถ้า pH ต่ากวา่ 7.35 หมายความว่า เลอื ดของบคุ คลนน้ั เปน็ กรด
ถ้า pH สงู กวา่ 7.45 หมายความว่า เลอื ดของบคุ คลนั้นเปน็ ดา่ ง

Acidosis ปกติ Alkalosis
ต่ากวา่ 7.35 (7.35-7.45) สงู กวา่ 7.45

การรักษาดลุ ยภาพของ
กรด-เบสของเลือด

ปอด ไต

Lungs Kidneys

การรักษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลอื ด
โดยการทางานของปอด

ควบคมุ การหายใจ

สมองสว่ นเมดัลลา ออบลองกาตา

1 CO2 หรือ H+ สะสมในเลือดมาก
(เลือดเปน็ กรด)

หายใจเร็วและลึกขน้ึ เช่น
หลังออกกาลงั กาย

2 CO2 หรือ H+ สะสมในเลอื ดนอ้ ย
(เลือดเปน็ เบส)

หายใจชา้ ลง

การรกั ษาดลุ ยภาพของกรด-เบสของเลอื ด
โดยการทางานของไต

1 CO2 หรอื H+ สะสมในเลอื ดมาก
(เลือดเปน็ กรด)

หลั่งสารทเ่ี ป็นกรดออกไป
ทางทอ่ หนว่ ยไต

(ขบั ออกไปกับปสั สาวะ)
ไฮโดรเจนไอออน(H+),
แอมโมเนียมไอออน(NH4+)

ดูดกลบั สารท่ีเปน็ เบสเขา้ เลือด

ไฮโดรเจนคาร์บอเนตไอออน(HCO-3),
โซเดียมไอออน(Na+)

“เอากรดออก เอาเบสเขา้ ”

2 CO2 หรอื H+ สะสมในเลือดน้อย
(เลือดเปน็ เบส)

หล่งั สารทเี่ ปน็ เบสออกไป
ทางท่อหน่วยไต

(ขบั ออกไปกับปัสสาวะ)
ไฮโดรเจนคารบ์ อเนตไอออน
(HCO3-), โซเดยี มไอออน(Na+)

ดดู กลับสารทีเ่ ปน็ กรดเขา้ เลอื ด

ไฮโดรเจนไอออน(H+),
แอมโมเนยี มไอออน(NH4+)

“เอาเบสออก เอากรดเข้า”

สรุป

ดุลยภาพของกรด-
เบสของเลอื ด
โดย

ปอด ไต
กาจดั
กาจดั
CO2 NH4+

H+

มาลองทาข้อสอบ
กันหน่อยนะคะ

แบบทดสอบ

ข้อใดแสดงสภาวะของเลือดในคนกอ่ นและหลงั การออกกาลงั กาย

ใหมๆ่ ไม่ถูกต้อง

ค่าทีว่ ดั กอ่ นออก หลังออก
กาลงั กาย กาลงั กาย
1. คา่ pH ของเลือด
2. ความเข้มขน้ ของออกซิเจน(หนว่ ย/ 7.4 7.8
ซม3) 30 20
3. ความเขม้ ข้นของคาร์บอนไดออกไซด์
(หน่วย/ซม3) 60 65
4. ความเขม้ ขน้ ของกรดแลกติก
(หนว่ ย/ซม3) 15 35

แบบทดสอบ

2. การดื่มน้าสม้ เป็นปริมาณมากทาให้เลือดมีสภาวะเปน็ กรดจริง
หรือไมเ่ พราะเหตุใด

1. เป็ นกรดจริง เพราะวิตามินซลี ะลายนา้ ได้
2. เป็ นกรดจริง เพราะนา้ ส้มมรี สเปรีย้ วและมปี ริมาณกรดสูง
3. ไม่เป็ นกรด เพราะเลือดมีสมบตั เิ ป็ นสารละลายบัฟเฟอร์
4. ไมเ่ ป็ นกรด เพราะร่างกายจะไดร้ ับอนั ตรายไดห้ ากเลือดมี
สภาวะเป็ นกรด


�����Է�ҹԾ��� ��þѲ���к���èѴ��á�ü�Ե��ç�ҹö䶹�
A DEVELOPMENT OF PRODUCTION MANAGEMENT SYSTEM IN POWER TILLER INDUSTRY ���͹��Ե �ҭ�ز� �����Ҫѹ��
Chanwoot Asawarachan �����Ҩ�������֡�� �� �� �ѹ��� �Ԩ��ǹԪ
Asso Prof Vanchai Rijiravanich Ph D ����ʶҺѹ ����ŧ�ó�����Է�����. �ѳ�Ե�Է�����
Chulalongkorn University. Bangkok. (Thailand). Graduate School. �дѺ��ԭ�������������´�Ң��Ԫ� �Է�ҹԾ�����Һѳ�Ե. ���ǡ�����ʵ�� (���ǡ����ص��ˡ��)
Master. Engineering (Industrial Engineering) �շ�診����֡�� 2544 ���Ѵ���(��) �Է�ҹԾ��쩺Ѻ����繡���֡�һѭ����оѲ���к���èѴ��á�ü�Ե��ç�ҹö䶹ҵ�����ҧ ������������Է���Ҿ���Ŵ�����٭���´�ҹ��ü�Ե �ҡ����֡�Ҿ������Ҿ�ѭ�ҷ���Ӥѭ ���� �ѭ�Ҵ�ҹ��èѴͧ��� ��ҹ����ҧἹ��ü�Ե ��ҹ��äǺ�����ü�Ե ��ҹ��äǺ����Թ��Ҥ���ѧ ��д�ҹ�к��͡��� �ҡ�ѭ�Ҵѧ����Ƿҧ����Ԩ�����ʹ��Ƿҧ㹡�û�Ѻ��ا �¡�èѴ��÷ҧ��ҹ��ҧ� �ѧ��� 1. ��èѴ�ٻͧ��� ���� ��èѴ�ٻͧ������� ��èѴ�ӤӺ������ѡɳЧҹ�����ӹǹ�˵ء�ó�������ͧ�ѡ�������Ѻ���Чҹ�դ��Ŵŧ 36.15% 2. ����͡Ẻ�к��͡��� ���� ����͡Ẻ�к��͡�����зҧ�Թ�͡��÷�����кǹ����ҧἹ��ü�Ե��С�û���ҹ�ҹ�բ�� 3. ����ҧἹ��ü�Ե ���� ��þ�ҡó��ʹ��� ��������٭�����͡��㹡�â���դ��Ŵŧ�ҡ 5,280,000 �ҷ ����� 1,440,000 �ҷ ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 72.72% 4. ��äǺ�����ü�Ե ���� ��������觼�Ե�����§ҹ�� ��û����Թ�ŧҹ��������ҳ�Թ���������ٻ����ѧ����ҡ�Թ���������դ��Ŵŧ�ҡ 2,938 ˹��� �����1,496 ˹��� ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 49.08% 5. ��äǺ����Թ��Ҥ���ѧ ���� ����ҧἹ�����觫��� �����ӹǹ�˵ء�ó����ѵ�شԺ�Ҵ�ŹŴŧ�ҡ 32 ���� �� 12 ���� ��������� 4 ��͹ ���ͤԴ���ѵ��Ŵŧ 62.50% ���Ѵ���(English) This thesis studies ploblems and developments of productionmanagement system in power tiller industry to increase efficiency andreduce loss in production process. It was found from the study that themain problems were due to the problem of organization, production planningand controlling, inventory control and documentation systems. Solutionswere proposed to improve the productivity by using the management system asfollows : 1. Organization chart was reorganized. Job description was revisedand implemented. Machine idle time was reduced by 36.15 %. 2. After the redesign of documentation system, a new documentationflow was implemented. The coordinating and planning processes are improved. 3. Production plan applying sale forecasting was used. Salesopportunity loss was reduced from 5,280,000 baht to 1,440,000 baht whichwas 72.72 %. 4. Controlling system using job assignment forms and reports togetherwith work evaluation were implemented. The quantity of finished productinventory was reduced from 2,938 units to 1,496 units which was 49.08 %. 5. Inventory control system was developed to help purchasingplanning. The number of raw material shortages during a period of 4 monthswere reduced from 32 to 12 times which was a reduction of 62.50 %. ���ҷ������¹�Է�ҹԾ��� �ӹǹ˹�Ңͧ�Է�ҹԾ��� 370 P. ISBN 974-03-0769-8 ʶҹ���Ѵ���Է�ҹԾ��� ���Ӥѭ DEVELOPMENT, PRODUCTION, MANAGEMENT, POWER, TILLER �Է�ҹԾ���������Ǣ�ͧ

ระบบหายใจมีบทบาทในการรักษาดุลยภาพของกรด

กลไกการควบคุมกรด เบสในร่างกาย 1. โดยการเปลี่ยนแปลงอัตราการหายใจเพื่อลดหรือเพิ่มคาร์บอนไดออกไซด์ o โดยศูนย์ควบคุมการหายใจที่สมองส่วนเมดัลลาออบลองกาตา o ซึ่งการหายใจจะช่วยแก้ปัญหาความเป็น กรด เบส ในเลือดได้ 50-70 %

ร่างกายมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของกรด

กลไกการรักษาสภาพ pH ไม่ให้สูงหรือต่ำเกินไป ในร่างกายมนุษย์จะใช้ 3 ระบบ คือ 1. ระบบขับถ่าย โดยการขับ H+ ทางปัสสาวะ หรือดูดกลับ HCO3- ที่ท่อหน่วยไต สามารถเพิ่มหรือลดความเป็นกรดได้มากที่สุด แต่ใช้เวลานานที่สุด 2. ระบบหายใจ โดยการขับ CO2 ออกทางลมหายใจ เมื่อเลือดเป็นกรดมากเกินไป

ทำไมร่างกายต้องรักษาสมดุลกรด

อุณหภูมิและความเป็นกรด-เบสมีผลต่อการทำ งานของเอนไซม์ซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา เคมีต่าง ๆ ในร่างกาย โดยเอนไซม์เป็นสารประเภทโปรตีนซึ่งจะเสียสภาพธรรมชาติ ได้หากอุณหภูมิและค่าความเป็นกรด-เบสเปลี่ยนไป ซึ่งอาจทำ ให้ปฏิกิริยาต่าง ๆ ไม่ สามารถเกิดขึ้นได้ตามปกติ ดังนั้นร่างกายจึงต้องรักษาอุณหภูมิและความเป็นกรด-เบส

ระบบหายใจช่วยลดกรดในร่างกายได้อย่างไร

เลือดมีความเป็นเบสมากขึ้น อัตราการหายใจจะลดลงเพื่อเพิ่มปริมาณไฮโดรเจนไอออนให้สูงขึ้นโดย การสะสม CO. 2. ในเลือด ทำ ให้ความเป็นกรด-เบสของเลือดเข้าสู่ภาวะสมดุล