การฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง

ส่อื ประกอบการเรียนการสอน รายวชิ า ภาษาไทย ๓ (ท๓๒๑๐๑) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๕

ความหมาย “การฟัง”

การฟงั หมายถึง พฤตกิ รรมการรบั สารผา่ นโสตประสาทอย่างตง้ั ใจ
เชื่อมโยงกับกระบวนการคิดในสมอง โดยสมองแปลความหมายของเสยี ง
จนเกดิ ความเข้าใจและมีปฏิกริ ยิ าตอบสนอง การฟังจงึ เปน็ กระบวนการที่
เกดิ ขนึ้ ภายในตวั บคุ คล

ความหมาย “การดู”

การดเู ปน็ การรบั สารจากส่ือภาพและเสยี ง เชน่ การดูภาพยนตร์
การดูละคร การดหู นังสอื การต์ นู การดูรปู ภาพ การดูวีดิทศั น์

การดจู ะตอ้ งใชก้ ระบวนการรบั สารด้วยวิธกี ารตา่ ง ๆ ท่ีสอดคลอ้ งกบั
ส่อื ชนดิ นนั้ เชน่ เม่อื ดภู าพยนตรแ์ ลว้ เราต้องรับรเู้ รอื่ งราว จบั ประเดน็ สาคัญ
สังเกตรายละเอียด ตคี วามด้วยการใชค้ วามรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์
เพือ่ ทาความเข้าใจ

ความหมาย “วิจารณญาณ”

วิจารณญาณ หมายถงึ ปญั ญาหรอื ความรใู้ นเรือ่ งใดเรอื่ งหนง่ึ ท่ี
ถกู ต้อง เหมาะสม และสอดคลอ้ งตามเหตผุ ล อนั ไดม้ าจากกระบวนการคดิ
และพิจารณาดว้ ยความรู้ และประสบการณเ์ ดมิ ของตน

ความหมาย
“การฟังและดอู ยา่ งมวี ิจารณญาณ”

คอื การรับสารใหเ้ ข้าใจเน้ือหาสาระใช้ปญั ญาคดิ ใครค่ รวญโดยอาศัยความรู้
ความคิด เหตผุ ล และประสบการณป์ ระกอบแล้วสามารถนาไปใช้ได้อยา่ งเหมาะสม

การฟังและดูให้เกดิ วจิ ารณญาณน้นั มขี ้ันตอนในการพัฒนาเป็นลาดับบางทกี อ็ าจ
เป็นไปอย่างรวดเรว็ บางทีกต็ ้องอาศยั เวลา ทงั้ นีย้ ่อมข้นึ อยกู่ บั พืน้ ฐานความรู้
ประสบการณ์ของบคุ คลและความยงุ่ ยากซับซ้อนของเรอ่ื งหรอื สารทีฟ่ งั

กระบวนการฟังและการดูอยา่ งมวี ิจารณญาณ

ขั้นท่ี ๑ การฟัง การดู
ไดย้ ิน + ไดเ้ หน็ รับรู้ + เขา้ ใจ

ขน้ั ที่ ๒ การฟงั และดอู ย่างมวี ิจารณญาณ
ไดย้ ิน + ได้เหน็ รบั รู้ + เข้าใจ

วิเคราะห์ + ใครค่ รวญ + วนิ ิจฉัย + ประเมินคา่ นาไปใช้ประโยชน์

หลักการฟังและดูอยา่ งมวี จิ ารณญาณ

๑. พิจารณาวา่ ผพู้ ดู หรอื ผ้แู สดงมจี ุดมงุ่ หมายอยา่ งไร จุดมงุ่ หมายนน้ั ชัดเจน หรอื ไม่
๒. เรื่องทีฟ่ งั หรอื ดนู น้ั ให้ประโยชน์ แงค่ ดิ กอ่ ให้เกดิ ความเจริญงอกงาม หรอื คดิ
สรา้ งสรรคอ์ ยา่ งไร
๓. เน้ือหาของเร่อื งนน้ั มคี วามเปน็ ไปไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด
๔. เน้ือหาในเรอ่ื งนน้ั น่าเช่ือถอื หรือไม่ มีหลักฐานอา้ งองิ หรอื ไม่
๕. ผพู้ ูดหรือผแู้ สดงมีวิธีการถ่ายทอดความคดิ อย่างไร

ข้นั ตอนการฟงั และดอู ย่างมีวจิ ารณญาณ

๑. การฟังและดูให้เข้าใจเรื่อง ให้รู้ว่าเนื้อเรื่องเป็นอย่างไร มีสาระสาคัญอะไรบ้าง
พยายามทาความเขา้ ใจรายละเอยี ดท้งั หมด
๒. การวิเคราะห์เรื่อง จะต้องพิจารณาว่าเรื่องเป็นงานเขียนประเภทใด เป็นเรื่องจริง
หรอื แตง่ ขึ้น ตอ้ งวิเคราะห์ลกั ษณะของตัวละคร และกลวธิ ใี นการเสนอสารให้เข้าใจ
๓. การวินิจฉัยเร่ือง คือการพิจารณาเรื่องท่ีฟังว่าเป็นข้อเท็จจริง ความรู้สึกความ
คิดเหน็ และผู้สง่ สารหรือผูพ้ ูดผ้แู สดงมเี จตนาอย่างไรในการพดู การแสดง อาจจะมีเจตนา
ทจ่ี ะโน้มน้าวในจรรโลงหรอื แสดงความคิดเหน็
๔. การประเมนิ ค่า วา่ เร่อื งนน้ั ให้ประโยชน์ ให้คณุ ค่า แงค่ ดิ มากนอ้ ยเพยี งใด
๕. การนาไปใช้ คือ การนาประเด็นหรือข้อความของเรื่องท่ีมีประโยชน์ไปใช้ให้
เหมาะสมกับเหตกุ ารณแ์ ละบุคคลต่อไปอย่างไร

ประเภทของสารแบ่งตามเจตนาของผู้ส่งสาร
๑. สารใหค้ วามรู้
๒. สารโนม้ นา้ วใจ
๓. สารจรรโลงใจ

๑. สารให้ความรู้

สารให้ความรู้ช่วยให้ผู้ฟังผู้ดูเกิดความรู้ความคิด สามารถปรับตัวให้เข้ากับ
สิง่ แวดลอ้ ม อยใู่ นสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ความร้ดู งั กลา่ วอาจเป็นความร้เู กี่ยวกบั สิ่งรอบ ๆ ตวั
ทั้งใกลแ้ ละไกลตัว

การฟงั สารใหค้ วามรู้เพื่อใหเ้ กดิ วิจารณญาณ มแี นวทางปฏิบัติดงั น้ี
๑.๑ พจิ ารณาวา่ เร่ืองน้ันมีคณุ คา่ หรือมีประโยชน์ควรแก่การฟงั หรือไม่
๑.๒ เร่ืองที่ต้องใช้วิจารณญาณในการฟัง ต้องต้ังใจฟัง จับประเด็นสาคัญให้ได้ วินิจสาร คือ
ตคี วามใหไ้ ดค้ วามหมายที่แท้จริงที่ผ้สู ง่ สารส่อื ถึงผ้ฟู งั
๑.๓ แยกขอ้ เท็จจรงิ จากขอ้ คดิ เห็น พิจารณาทศั นคติของผพู้ ูด พิจารณาความนา่ เชอื่ ถอื ของสาร
๑.๔ บนั ทึกประเด็นสาคัญไว้ บนั ทกึ คาถามหรอื ประเดน็ ที่ควรอภิปรายไว้
๑.๕ ประเมินค่าสารน้ันว่ามีประโยชน์ มแี ง่คิด มีคุณคา่ อะไรบ้าง
๑.๖ พิจารณากลวิธีในการเสนอความรู้ของผู้พูด การใช้ถ้อยคาสานวน ถูกต้องเหมาะสม
หรอื ไม่

๒. สารโนม้ นา้ วใจ

สารโน้มน้าวใจเป็นเรื่องท่ีผู้พูดมีเจตนาให้ผู้ฟังเชื่อ หรือคล้อยตามข้อความในเร่ือง
น้ัน ๆ เรื่องประเภทน้ีมีข้อความท่ีโน้มน้าวใจผู้ฟัง ให้เกิดอารมณ์ ความรู้สึกหรือความคิดเห็น
เป็นอันหน่ึงอันเดียวกับผู้พูด เช่น การโฆษณาสินค้า โฆษณาหาเสียง คาชี้แจง ข้อความปลุกใจ
ตา่ ง ๆ

การฟงั สารโน้มนา้ วใจเพ่ือใหเ้ กดิ วิจารณญาณ มแี นวทางปฏบิ ัติดงั น้ี
๒.๑ สารน้ันดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง หรือเสริมสร้างความน่าเชื่อถือของผู้พูดมากน้อย
เพียงใด
๒.๒ สารนน้ั สนองความตอ้ งการหรอื ก่อใหผ้ ฟู้ งั เกดิ ความปรารถนาอย่างไร มากนอ้ ยเพียงใด
๒.๓ ผู้พูดเสนอแนวทางที่จะสนองความต้องการของผู้บังคับหรือประโยชน์ท่ีผู้ฟังจะได้รับ
อยา่ งไร
๒.๔ สารนนั้ เร้าใหผ้ ฟู้ ังเชอ่ื ถอื เกย่ี วกบั สง่ิ ใด ต้องการใหผ้ ฟู้ ังคดิ ปฏบิ ตั ิ อยา่ งไร
๒.๕ ภาษาที่ใชม้ ลี ักษณะเรา้ อารมณ์อยา่ งไร

๓. สารจรรโลงใจ

สารจรรโลงใจจะทาใหผ้ ู้ฟงั ผอ่ นคลายจากความตึงเครยี ด เกดิ ความสุข ช่วยยกระดับ
จิตใจของมนุษย์ให้สูงขึ้น ความจรรโลงใจอาจได้จากเพลง ละคร ภาพยนตร์ คาประพันธ์
สุนทรพจน์ บทความบางชนดิ คาปราศรยั พระธรรมเทศนา โอวาท ฯลฯ

การฟงั และดสู ารจรรโลงใจมีวธิ สี าคญั ดังน้ี
๓.๑ ต้งั ใจฟงั ทาใจใหส้ บายในขณะที่ฟงั
๓.๒ ทาความเขา้ ใจเนอ้ื หาสาคญั ใช้จนิ ตนาการใหต้ รงจดุ ประสงค์ของสาร
๓.๓ พจิ ารณาว่าสารนน้ั จรรโลงใจในแง่ใด อยา่ งไร สมเหตุสมผลหรือไม่
๓.๔ พิจารณาการใชภ้ าษาวา่ เหมาะสมกบั เนอ้ื หาและผู้รบั สารเพยี งใด

มารยาทในการฟังและดูอย่างมวี ิจารณญาณ

๑. ตรงต่อเวลา
๒. ฟงั และดดู ว้ ยความต้งั ใจ
๓. จดบันทึก
๔. ซักถามเมอื่ จบการบรรยาย
๕. ปรบมือตามความเหมาะสม
๖. สารวมกริ ิยามารยาท
๗. ไม่นาอาหารและเครือ่ งดืม่ เขา้ ไป
๘. ระงบั อารมณ์
๙. ใชว้ ิจารณญาณ
๑๐. ไม่ทาลายสมาธผิ อู้ ื่น

สรุป
การฟังและดอู ยา่ งมีวจิ ารณญาณ

การฟังและการดูเป็นการรับสารท่ีเราใชใ้ นชีวิตประจาวันเสมอผู้ที่จะฟัง
และดไู ดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพจะต้องฝกึ ฝนตนเองให้เปน็ คนทฟ่ี ังและดูเปน็ คือฟังและ
ดูอย่างมีหลักการ มีจุดมุ่งหมาย รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมินค่าเรื่องท่ีฟัง
และดู สามารถแสดงทัศนะในเรื่องท่ีฟังและดูได้ ฟังได้อย่างมีวิจารณญาณ สามารถ
แยกแยะเร่อื งท่ีฟงั ได้ถูกต้อง

การฟังอย่างมีวิจารณญาณมีความหมายว่าอย่างไร

วิจารณญาณในการฟังและดู คือการรับสารให้เข้าใจเนื้อหาสาระใช้ปัญญาคิดใคร่ครวญโดยอาศัยความรู้ความคิด เหตุผล และประสบการณ์ประกอบแล้วสามารถน าไปใช้ได้อย่างเหมาะสม

จุดมุ่งหมายของการฟังและการดูมีอะไรบ้าง

จุดมุ่งหมายของการฟังและการดู ๑) เพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน ๒) เพื่อรับความรู้ ๓) เพื่อความเพลิดเพลิน ๔) เพื่อคติชีวิตและความจรรโลงใจ

การฟังและการดูมีความสําคัญอย่างไร

การฟังและดูเป็นการรับสารเข้าสู่สมอง ทำให้มีความรู้เพิ่มขึ้น การฝึกรับสารด้วยการฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณเป็นทักษะที่สำคัญ จะทำให้ผู้รับสารมีความรู้ที่ดี ถูกต้อง เหมาะสมและนำความรู้ที่ได้รับพูดนำเสนออกไปได้อย่างมีคุณค่า มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์กับตนเองและผู้อื่น

การฟังและการดูมีความหมายว่าอย่างไร

การฟัง หมายถึง การรับรู้แล้วแปลความหมายของเสียงที่ได้ยิน การดู หมายถึง การรับสารโดยผ่านประสาทตาหรืออาจเป็นการทางานประสานกันระหว่างประสาท ตาและหู องค์ประกอบของการสื่อสาร