รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565

ติดตามข่าวนี้ได้ที่ https://www.moe.go.th/websm/2016/feb/084.html

วิทยาลัยการอาชีวศึกษาปทุมธานี – พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มอบนโยบายในการประชุมเชิงปฏิบัติการผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน เมื่อวันศุกร์ที่ 19 กุมภาพันธ์ 2559 โดยมี ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และผู้บริหารสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ให้การต้อนรับ และมีผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน ตลอดจนผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) ทั่วประเทศเข้าร่วมประชุมจำนวน 1,200 คน

รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565

รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า จากการที่คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้มีคำสั่งที่ 8/2559 ลงวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2559 เรื่อง การบริหารจัดการรวมสถานศึกษาอาชีวศึกษาภาครัฐและเอกชน เพื่อให้การปฏิรูปการศึกษาและการบริหารราชการในกระทรวงศึกษาธิการเกิดประสิทธิภาพ มีความเหมาะสม สอดคล้องกับนโยบายอย่างมีคุณภาพได้มาตรฐาน ตลอดจนมีความคล่องตัวมากขึ้น ซึ่งเป็นผลให้มีการรวมสถานศึกษาของทั้งรัฐและเอกชนเข้าด้วยกัน

จากข้อมูล ณ วันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2559 มีสถานศึกษาอาชีวศึกษาในระบบจำนวนทั้งสิ้น 886 แห่ง มีนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) รวม 976,615 คน โดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) จะต้องโอนงบประมาณให้กับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) รวม 4,339 ล้านบาท แบ่งเป็นเงินอุดหนุนสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 4,324.5 ล้านบาท และงบประมาณบริหารตามภารกิจยุทธศาสตร์ส่วนกลาง 14.5 ล้านบาท พร้อมจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมการอาชีวศึกษาเอกชน เป็นหน่วยงานภายในของ สอศ. เพื่อทำหน้าที่ส่งเสริม พัฒนา กำกับ และดูแลโรงเรียนเอกชนประเภทอาชีวศึกษา โดยรับโอนภาระงานและบุคลากรของกลุ่มงานโรงเรียนอาชีวศึกษาเอกชนเดิม จำนวน 27 คน มาปฏิบัติงานประจำศูนย์

การประชุมครั้งนี้ จึงได้จัดขึ้นเพื่อชี้แจงเพื่อให้ผู้บริหารสถานศึกษาของภาครัฐและภาคเอกชนทั้งหมดได้เข้าใจถึงกระบวนการเปลี่ยนผ่าน ซึ่งผู้บริหารกระทรวงศึกษาธิการได้มาพบปะและมอบนโยบายในการดำเนินงาน โดยขอให้ สอศ. ดูแลและนำพาอาชีวะเอกชนให้สามารถอยู่รอดและมีความเข้มแข็งมากขึ้น ในขณะเดียวกันการอยู่รอดก็ต้องขึ้นอยู่กับภาคเอกชนเองด้วย เพราะเป็นการลงทุนเอง และมีสถานะทุกอย่างเป็นเอกชนเช่นเดิม เพียงแต่ภาครัฐจะช่วยดูแลให้การสนับสนุนส่งเสริมในเรื่ององค์ความรู้เพื่อพัฒนาให้มีคุณภาพมาตรฐาน รวมทั้งเรื่องอื่นๆ เพิ่มเติมให้ด้วย จึงขอให้ทั้งสองฝ่ายศึกษาวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งอย่างละเอียด พร้อมสรุปผลมานำเสนอเพื่อวางแผนส่งเสริมพัฒนาในแต่ละด้าน เช่น การแก้ไขปัญหาขาดแคลนครู การปรับภาพลักษณ์ การพัฒนาอาชีวศึกษาสู่ความเป็นเลิศเฉพาะด้าน เป็นต้น

ส่วนข้อคำถามเกี่ยวกับความกังวลต่างๆ นั้น โดยส่วนตัวไม่มีความกังวลใดๆ เพราะเชื่อว่าการรวมอาชีวะภาครัฐและอาชีวะภาคเอกชนจะช่วยให้การทำงานดีขึ้นไม่มากก็น้อย และจากการรับฟังครั้งนี้ยังพบถึงข้อกังวลของทางอาชีวะเอกชน ไม่ว่าจะเป็นงบประมาณ ซึ่งแน่นอนว่าได้รับน้อยกว่ารัฐ ส่วนแรงจูงใจในการเข้าเรียนของนักเรียนก็มีน้อยกว่า รวมทั้งเรื่องของการรับนักเรียนที่ได้ขอความร่วมมือสถานศึกษาอาชีวะภาครัฐว่าไม่ควรรับนักเรียนหลายรอบ

นอกจากนี้ ขอให้ทั้งสองฝ่ายสร้างความเป็นเลิศของสถานศึกษาให้มีความแตกต่างกันในพื้นที่เดียวกัน เพื่อสร้างจุดดึงดูดในการเข้าเรียน ไม่แย่งนักเรียนกัน และเป็นการช่วยพัฒนาตามศักยภาพและบริบทแต่ละพื้นที่ ส่วนข้อกังวลหรือความต้องการอื่นๆ ได้ขอให้รวบรวมส่งให้กระทรวงศึกษาธิการพิจารณาต่อไป

รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565

รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565



นวรัตน์ รามสูต, บัลลังก์ โรหิตเสถียร : สรุป/รายงาน
ยุทธพงศ์ เลือกกลั่นดี : ถ่ายภาพ
บัลลังก์ โรหิตเสถียร : ออกแบบกราฟิก
21/2/2559

รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565

รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
วันนี้ 13
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
เมื่อวาน 716
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
สัปดาห์นี้ 729
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
สัปดาห์ที่ผ่านมา 3236
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
เดือนนี้ 11513
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
เดือนที่ผ่านมา 18442
รายชื่อสถานศึกษาอาชีวศึกษาเอกชน 2565
ทั้งหมด 4010073


We have: 1 guests online
Your IP: 192.18.152.183
Firefox 102.0, Linux
Today: พ.ย. 21, 2022

Visitors Counter