กองทุนเงินระหว่างประเทศ ผลประโยชน์

กองทุนเงินระหว่างประเทศ ผลประโยชน์

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (อังกฤษ: International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) เป็นองค์กรที่รัฐบาลของกลุ่มประเทศพันธมิตรได้ร่วมก่อตั้งขึ้น มีฐานะเป็นทบวงการชำนาญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีข้อบังคับว่าประเทศที่จะเป็นสมาชิกธนาคารโลก และจะต้องเป็นสมาชิกของ IMF ด้วย เริ่มเปิดดำเนินการในเดือนมีนาคม ปี ค.ศ. 1947 ประเทศที่สมัครเป็นสมาชิกกองทุนการเงินฯ จะต้องเป็นสมาชิกขององค์การสหประชาชาติอยู่ก่อนแล้ว ในปัจจุบันมีสมาชิก 185 ประเทศ (Montenegro เป็นสมาชิกอันดับที่ 185 เข้าร่วมเมื่อวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 2007)

วัตถุประสงค์และหน้าที่

วัตถุประสงค์ของการก่อตั้ง IMF คือ จัดการและควบคุมระบบการเงินของโลกและช่วยเหลือประเทศที่เผชิญกับวิกฤตเศรษฐกิจ โดยจะประสานการทำงานกับกระทรวงการคลัง และแบงก์ชาติของแต่ละประเทศ หน้าที่หลักของ IMF มีอยู่ 3 ประการคือ

  1. จัดระบบการเงินโลก
  2. กำกับกติกาทางเศรษฐกิจของโลก เพื่อให้เกิดความมั่นคงมีเสถียรภาพ
  3. สร้างเงินซึ่งเป็นเงินสำรองระหว่างประเทศ เป็นเงินที่เป็นกลาง ไม่ได้เป็นเงินของประเทศใดประเทศหนึ่

���������� ��ʶҺѹ����Թ���Ѵ��駢�����ͷ�˹�ҷ����᡹��ҧ�ͧ�к�����Թ�����ҧ����� ��������Թ�ҹ��͹�չҤ� �.�. 1947 �ӹѡ�ҹ�˭����������ا�ͪԧ�ѹ ��.��. ���Ѱ����ԡ�

�ѵ�ػ��ʧ��ͧ�ͧ�ع����Թ�����ҧ�����

������ �ͧ�ع����Թ�����ҧ������հҹ��繷�ǧ��êӹѭ����ɢͧ�˻�ЪҪҵ� �����ѵ�ػ��ʧ����ѡ�ѧ���

1.

�����������ѵ���š����¹�Թ��������ҧ��������ʶ����Ҿ��л�ͧ�ѹ����觢ѹ㹡��Ŵ����Թ

2.������䢻ѭ�ҢҴ��š�ê����Թ�ͧ�������Ҫԡ����������觼š�з�����к�����Թ�š3.�������������Ҫԡ���к��ѵ���š����¹������ʶ����Ҿ4.�ӹ�¤����дǡ������������â��µ�Ƿҧ��ä�������ҧ��������ҧ�������������Դ��è�ҧ�ҹ �������оѲ�ҡ�ü�Ե��дѺ�٧�����駡�þѲ�ҷ�Ѿ�ҡ÷��������ͧ�������Ҫԡ���͹�㹡�â��Ѻ������������ͨҡ�ͧ�ع����Թ�����ҧ�����

��������ͻ������Ҫԡ���ʺ�ѭ�����ɰ�Ԩ���ҧ�ع�ç�֧��鹵�ͧ�ͤ�����������ͼ����е�ͧ�Ӥ�����ŧ ����ǡѺἹ��û�Ѻ��ا�ç���ҧ���ɰ�Ԩ ��ѡ����Ӥѭ���ͧ�ع����Թ�����ҧ������������͹䢡Ѻ����ȼ��͡�� ��ػ��ѧ���

1.

��÷�����к����ɰ�Ԩ��С���Թ���ʶ����Ҿ���������е�ҧ����� ( Stabilization ) �¡��Ŵ��âҴ��š�ê����Թ��źѪ���Թ�оѴ ��� ��ô��Թ���������ɰ�Ԩ���µ����ѵ�ҷ���������

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ( International Monetary Fund : IMF ) เป็นสถาบันการเงินที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่เป็นแกนกลางของระบบการเงินระหว่างประเทศ เริ่มดำเนินงานเดือนมีนาคม ค.ศ. 1947 สำนักงานใหญ่ตั้งอยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา

เมื่อประเทศต่าง ๆ ในโลกเกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจ เรามักได้ยินข่าวว่า หนึ่งในวิธีแก้ปัญหาของประเทศเหล่านั้นคือการกู้เงินจาก IMF ซึ่งประเทศไทยก็เคยเป็นลูกหนี้ IMF ตลอดจนกรณีที่ประเทศกรีซ ผิดนัดชำระหนี้จำนวน 1,500 ล้านยูโร เมื่อปี 2558 ซึ่งเป็นจำนวนหนี้ที่มากที่สุดในประวัติศาสตร์ของ IMF รวมถึงทำให้กรีซเป็นประเทศพัฒนาแล้วประเทศแรกที่ผิดนัดชำระหนี้ต่อ IMF

า IMF คือใครมาจากไหน ทำไมถึงมีเงินให้กู้มากมาย เงินเหล่านั้นมาจากที่ใด วันนี้กระะปุกดอทคอม มีคำตอบมาฝากกันครับ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในฐานะกองทุนการเงิน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 โดยแนวคิดการก่อตั้ง IMF มาจากที่ประชุมว่าด้วยเรื่องการเงินและการคลังแห่งสหประชาชาติ หรือ United Nations Monetary and Financial Conference ณ เมืองเบรตตันวูดส์ รัฐนิวแฮมเชียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา หรือที่รู้จักกันในนาม การประชุมเบรตตัน วูดส์ (Bretton Woods Conference)

วัตถุประสงค์ของกองทุนการเงินระหว่างประเทศ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศมีฐานะเป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์หลักดังนี้

1. ส่งเสริมให้อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศมีเสถียรภาพและป้องกันการแข่งขันในการลดค่าเงิน
2. ช่วยแก้ไขปัญหาขาดดุลการชำระเงินของประเทศสมาชิกเพื่อมิให้ส่งผลกระทบต่อระบบการเงินโลก
3. ดูแลให้ประเทศสมาชิกมีระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่มีเสถียรภาพ
4. อำนวยความสะดวกและส่งเสริมการขยายตัวทางการค้าระหว่างประเทศอย่างสมดุลเพื่อให้เกิดการจ้างงาน รายได้และพัฒนาการผลิตในระดับสูงรวมทั้งการพัฒนาทรัพยากรที่มีอยู่ของประเทศสมาชิก

เงื่อนไขในการขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ

เมื่อประเทศสมาชิกประสบปัญหาเศรษฐกิจอย่างรุนแรงถึงขั้นต้องขอความช่วยเหลือผู้กู้จะต้องทำความตกลง เกี่ยวกับแผนการปรับปรุงโครงสร้างเศรษฐกิจ หลักการสำคัญที่กองทุนการเงินระหว่างประเทศใช้เป็นเงื่อนไขกับประเทศผู้ขอกู้ สรุปได้ดังนี้

คุณสามารถรับเงินโอนจากต่างประเทศเข้าบัญชีของคุณที่มีกับธนาคารกรุงเทพได้โดยตรง โดยการแจ้งข้อมูลที่จำเป็นให้ผู้โอนเงินในต่างประเทศทราบ ดังนี้


  • เลขที่บัญชี ชื่อบัญชี   
  • ชื่อธนาคารกรุงเทพ
  • SWIFT Code ของธนาคารกรุงเทพ คือ "BKKBTHBK" (ข้อมูลจำเป็นสำหรับการโอนเงินผ่านระบบ SWIFT มายังบัญชีของผู้รับเงินที่มีกับธนาคารกรุงเทพทุกสาขาในประเทศไทย)

นอกจากนี้ คุณควรแจ้งผู้โอนเงินระบุวัตถุประสงค์การโอนเงินในคำสั่งโอนเงินที่ส่งถึงประเทศไทยทุกครั้ง เนื่องจากทางการกำหนดให้ธนาคารมีหน้าที่รายงานข้อมูลการรับเงินโอนจากต่างประเทศให้ทางการทราบทุกรายการแทนคุณ

ในกรณีที่ธนาคารได้รับคำสั่งโอนเงินจากต่างประเทศที่ไม่สมบูรณ์ถูกต้อง ธนาคารจำเป็นต้องสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมไปยังธนาคารผู้โอนเงินในต่างประเทศก่อน อาจจะเป็นเหตุให้คุณได้รับเงินโอนเข้าบัญชีล่าช้า ธนาคารขอเรียนแนะนำให้คุณแจ้งผู้โอนเงินในต่างประเทศ ติดต่อธนาคารผู้โอนเงินต้นทางด้วย เพื่อให้แจ้งข้อมูลเพิ่มเติมกลับมายังธนาคารกรุงเทพโดยเร็ว

คุณจะได้รับความสะดวกยิ่งขึ้น เมื่อสมัครใช้บริการแจ้งข้อมูลเงินโอนจากต่างประเทศเข้าบัญชีผ่านโทรศัพท์มือถือ (SMS Remittance Alert) โดยธนาคารจะส่งข้อความถึงคุณ เมื่อธนาคารนำเงินโอนจากต่างประเทศเข้าบัญชีของคุณแล้ว สมัครใช้บริการได้ที่เครื่อง ATM ของธนาคารกรุงเทพทั่วประเทศ ฟรี! ค่าธรรมเนียมบริการ

กองทุนการเงินระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งไอเอ็มเอฟ คือการส่งเสริมการขยายตัวที่สมดุล ด้านการค้าโลก การสร้างเสถียรภาพของอัตราแลกเปลี่ยน การป้องกันการ แข่งขันกันลดค่าเงินเพื่อความได้เปรียบทางการค้าและการแก้ไขปัญหา ดุลการชำระเงินของประเทศอย่างเป็นระเบียบเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ ข้างต้น ไอเอ็มเอฟมีการดำเนินการดังนี้

กองทุนเงินระหว่างประเทศคืออะไร

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม 2487 จากการประชุม United Nations Monetary and Financial Conference หรือที่รู้จักในนาม Bretton Woods Conference โดยมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่กรุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา และและมีฐานะเป็นทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ

International Monetary Fund IMF คือหน่วยงานใด

IMF (International Monetary Fund) หรือ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 22 ก.ค. 1944 จากการประชุมทางด้านการเงินของสหประชาชาติหรือที่รู้จักกันดีในชื่อของ Bretton Woods Conference โดย 44 ประเทศสมาชิกของสหประชาชาติ ณ ขณะนั้นได้ร่วมกันร่างข้อตกลงสำหรับกองทุนการเงินระหว่างประเทศขึ้น ทว่า IMF เริ่มปฏิบัติ ...

IMF มีประโยชน์อย่างไรต่อประเทศไทย

1.กำหนดให้กองทุนการเงินฯ ทำหน้าที่สนับสนุนความร่วมมือทางการเงินระหว่างประเทศ 2.สนับสนุนการค้าระหว่างประเทศให้ขยายตัวอย่างสมดุล 3.เสริมสร้างเสถียรภาพในอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ 4.สนับสนุนการจัดตั้งระบบการชำระเงินระหว่างประเทศ