ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

ข่าวสาร

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

Beauty Sleep ผิวสุขภาพดี แค่นอนก่อน 4ทุ่ม

    เคยสังเกตกันไหมว่า เมื่อเรานอนหลับไม่เพียงพอ ตื่นเช้าหน้าจะดูโทรม ใต้ตาคล้ำ ผิวดูไม่สดใส บางคนอาจจะมีสิวขึ้นอีกด้วย ที่เป็นแบบนี้ เนื่องจากว่าร่างกายของเรานั้นมีระบบการทำงานตามธรรมชาติ หากถูกใช้งานมากเกินไป ก็จะมีผลกระทบต่อระบบต่างๆซึ่งจะส่งผลต่อเซลล์ในร่างกาย

    ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic Nervous System) เป็นระบบประสาทที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในของร่างกายให้อยู่ในสภาพปกติ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ

- ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกายให้เตรียมพร้อมเผชิญอันตรายหรือภาวะฉุกเฉิน

- ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous System) มีหน้าที่ควบคุมการสะสมพลังงาน ควบคุมระดับการทำงานของอวัยวะภายใน หลอดเลือดส่วนต่างๆให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะทำงานได้

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก มักทำงานได้ดีในช่วงกลางคืนขณะนอนหลับพักผ่อนโดยร่างกายจะทำการส่งอาหารไปยังเซลล์ต่างๆ โดยเฉพาะในช่วง 4ทุ่ม ถึงตี 2

    ดังนั้นคนที่นอนก่อน 4 ทุ่ม จึงมักจะมีสุขภาพผิวดีกว่าคนเข้านอนหลัง 4 ทุ่ม แต่ก็อย่าเพียงแต่ให้ความสำคัญแค่เรื่องชั่วโมงการนอน ให้จงใส่ใจกับเวลานอน และคุณภาพการนอนด้วย

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral Nervous System: PNS) คือส่วนของระบบประสาทที่แตกแขนงออกมาจากระบบประสาทส่วนกลาง (Central Nervous System: CNS) ทำหน้าที่รับและส่งกระแสประสาทหรือข้อมูลที่ได้รับจากส่วนต่างๆ ของร่างกายเข้าสู่สมองและไขสันหลัง ซึ่งเป็นศูนย์กลางการควบคุมและประมวลผล และนำคำสั่งหรือผลของสิ่งเร้าที่ได้จากการประมวลผลส่งต่อไปปฏิบัติยังหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัสต่างๆ รวมถึงเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง เพื่อให้ร่างกายตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่างถูกต้อง เช่น ความรู้สึกเจ็บปวด ความรู้สึกร้อนและเย็น การรับรู้แรงกดทับที่ผิวหนัง และการเคลื่อนไหวของร่างกาย เป็นต้น

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

องค์ประกอบของระบบประสาทส่วนปลาย

เส้นประสาทสมอง (Cranial Nerve) 12 คู่ – ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่สมองและนำคำสั่งการจากสมองส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ

เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal Nerve) 31 คู่ – ทำหน้าที่รับส่งกระแสประสาทสู่ไขสันหลังและนำคำสั่งการจากไขสันหลังส่งต่อไปยังหน่วยปฏิบัติการ เช่น กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ

เซลล์ประสาท (Neuron) นอกระบบประสาทส่วนกลาง – ทำหน้าที่รับข้อมูลจากร่างกายและนำส่งไปยังสมองและไขสันหลัง

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

การทำงานของระบบประสาทส่วนปลายจำแนกได้ 2 ลักษณะ คือ

  1. ระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ หรือระบบประสาทโซมาติก (Somatic Nervous System: SNS) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อโครงร่างที่อยู่ภายใต้อำนาจจิตใจ (Voluntary) เช่น การเดิน การนั่ง การยืน การวาดภาพ หรือการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อบริเวณใบหน้า ปาก และลำคอ
  2. ระบบประสาทภายนอกอำนาจจิตใจ หรือระบบประสาทอัตโนวัติ (Autonomic Nervous System: ANS) ประกอบไปด้วยเซลล์ประสาทและเส้นประสาทจำนวนมาก ควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ และระบบของอวัยวะภายในต่างๆ ที่อยู่นอกเหนือการสั่งการของจิตใจ (Involuntary) เช่น การเต้นของหัวใจ การย่อยของกระเพาะอาหาร การหดและขยายตัวของปอด เป็นต้น

นอกจากนี้ ระบบประสาทอัตโนวัติยังทำหน้าที่ควบคุมการตอบสนองกิริยาฉับพลัน หรือ “ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์” (Reflex Action) เมื่อมีสิ่งเร้าจากภายนอกเข้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัส เช่น ข้อศอก หรือหัวเข่า กระแสประสาทจากกล้ามเนื้อดังกล่าวถูกส่งตรงไปยังไขสันหลัง ก่อนที่ไขสันหลังจะสั่งการตอบสนองไปยังกล้ามเนื้อโดยตรง โดยไม่ผ่านกระบวนการประมวลผลในสมอง เพื่อให้กล้ามเนื้อบริเวณรับสัมผัสเกิดการหดตัว หรือหลบหลีกจากสิ่งกระตุ้นทันที

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

ระบบประสาทอัตโนวัติ ยังสามารถแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย ได้แก่

  • ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) มีศูนย์กลางอยู่บริเวณไขสันหลัง เป็นระบบที่ถูกนำมาใช้ในสภาวะฉุกเฉิน เมื่อร่างกายถูกกระตุ้นอย่างรุนแรงจากสิ่งเร้าภายนอก เพื่อให้ร่างกายเกิดการตื่นตัวและทำการตอบสนอง (สู้ หรือ หนี) โดยร่างกายจะเกิดปฏิกิริยาที่อยู่นอกเหนือการควบคุม เช่น ขนลุก มีอัตราการเต้นของหัวใจเร็วขึ้น เหงื่อออกมากขึ้น รูม่านตาขยายขึ้น เป็นต้น
  • ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous System) มีศูนย์กลางอยู่ที่ก้านสมอง (Medulla) และไฮโปทาลามัส (Hypothalamus) เป็นระบบที่ถูกนำมาใช้เมื่อระบบซิมพาเทติกทำงานสิ้นสุดลง เพื่อให้ร่างกายได้ผ่อนคลายและปรับสมดุลเข้าสู่สภาวะปกติ โดยก่อให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนอง เช่น อัตราการเต้นของหัวใจช้าลง กระเพาะอาหารและลำไส้ทำงานได้ดีขึ้น และหลั่งน้ำลายได้ตามปกติ เป็นต้น

สืบค้นและเรียบเรียง
คัดคณัฐ ชื่นวงศ์อรุณ


ข้อมูลอ้างอิง

อาจารย์รภัทร เอกนิธิเศรษฐ์ – http://www.elfit.ssru.ac.th/rapat_ek/pluginfile.php/63/mod_page/content/66/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0% B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%97.pdf

มหาวิทยาลัยมหิดล – https://il.mahidol.ac.th/e-media/nervous/ch2/chapter1/part_4.htm

โรงเรียนแก่นนครวิทยาลัย – http://www.kruseksan.com/book/keyhuman1.pdf


เรื่องอื่นๆ ที่น่าสนใจ : ระบบประสาทส่วนกลาง 

ระบบประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำหน้าที่สัมพันธ์กันในรูปแบบใด

ประสาทซิมพาเทติกกับระบบประสาทพาราซิมพาเทติกแตกต่างกันอย่างไร

- ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic Nervous System) มีหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆภายในร่างกายให้เตรียมพร้อมเผชิญอันตรายหรือภาวะฉุกเฉิน - ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic Nervous System) มีหน้าที่ควบคุมการสะสมพลังงาน ควบคุมระดับการทำงานของอวัยวะภายใน หลอดเลือดส่วนต่างๆให้อยู่ในสภาพพร้อมที่จะทำงานได้

ระบบประสาทซิมพาเทติกและระบบประสาทพาราซิมพาเทติกทำงานร่วมกันอย่างไร

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกเป็นระบบประสาทอัตโนมัติซึ่งมีหน้าที่ควบคุมกิจกรรมใต้สำนึกต่าง ๆ ของร่างกายและอวัยวะ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรมเกี่ยวกับการพักผ่อน การย่อยอาหาร การปัสสาวะและถ่ายอุจจาระ การหลั่งน้ำตา รวมไปถึงการตื่นตัวหรือมีอารมณ์ทางเพศ. ระบบประสาทประเภทนี้มีลักษณะการทำงานคู่ขนานไปกับระบบประสาทซิมพาเทติก ซึ่ง ...

ข้อใดคือวิธีการดูแลรักษาระบบประสาทที่ถูกต้องและสำคัญที่สุด

วิธีดูแลรักษาระบบประสาทให้ทำงานเป็นปกติ ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ และอาจปรึกษาแพทย์เพื่อให้ช่วยวางแผนการออกกำลังกายที่เหมาะสม รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ในปริมาณพอดี โดยเฉพาะอาหารไขมันต่ำ อาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และโฟเลต ซึ่งอาจช่วยบำรุงระบบประสาทให้ทำงานได้ตามปกติ

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติกมีหน้าที่อะไร

ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (parasympathetic) เป็นระบบประสาทที่ทำงานในสภาวะพักของร่างกาย ในสภาพนี้ ระบบย่อยอาหารทำงาน หัวใจเต้นช้า หายใจเข้าเพื่อนำอากาศเข้าปกติ