ในงานแอนิเมชั่น 2 มิติ 1 เรื่อง การตั้งค่า fps : 24.00 เท่ากับต้องวาดภาพทั้งหมดกี่ภาพ

กระทู้คำถาม

การ์ตูน อนิเมะ คอมพิวเตอร์

แล้วเขามีโปรแกรมอะไรช่วยป่าวครับ

0

0

ในงานแอนิเมชั่น 2 มิติ 1 เรื่อง การตั้งค่า fps : 24.00 เท่ากับต้องวาดภาพทั้งหมดกี่ภาพ

สมาชิกหมายเลข 2897079

กำลังโหลดข้อมูล...

แสดงความคิดเห็น

คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ

เข้าสู่ระบบ

กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

Animation โดยทั่วไปแล้วใช้ frame rate อยู่ที่เท่าไหร่มั้งครับ

คืออยากลองทำดูแต่อยากทราบว่าโดยส่วนใหญ่แล้วเขาใช้ rate ไหนกัน

สมาชิกหมายเลข 813807

อนิเมะ

การ์ตูน

นักเขียนการ์ตูน

ต้องวาดภาพการ์ตูนกี่แผ่น จึงจะได้ภาพยนตร์การ์ตูนยาว 30 นาทีครับ

นักเขียนการ์ตูนต้องวาดภาพการ์ตูนกี่แผ่น จึงจะได้ภาพยนตร์การ์ตูนยาว 30 นาทีครับ ที่ผมเข้าใจคือ ภาพยนตร์การ์ตูนเกิดจากการเอาภาพวาดการ์ตูนหลายๆ ภาพเอามาเลื่อนเปลี่ยนภาพไปเรื่อยๆ จนสายตาคนเรามองว่าเป็นภา

สมาชิกหมายเลข 3607614

อนิเมะ

วาดการ์ตูน

อนิเมชั่น2D เวลา15นาที ราคาประมาณกี่บาทคะ

กระทู้แรกพลาดตรงไหนขออภัยค่ะ ต้องการสอบถามเกี่ยวกับร้านและราคาการทำอนิเมชั่น 2D ค่ะ คือตอนนี้ถามเพื่อนแล้วเค้าจะทำให้แต่ราคาก็สูงพอตัว เลยอยากลองถามหลายๆที่ พอจะมีที่แนะนำบ้างไหมคะ

สมาชิกหมายเลข 2723262

อนิเมะ

สื่อประสม (Multimedia)

แอนิเมชั่น 3d กับ อนิเมะ 2d อันไหนทำยากกว่ากันครับ

อยากทราบครับสำหรับตัวผมที๋เคยเรียนเกี่ยวกับงาน3dมา ก้คิดว่ามันสร้างยากมากแต่สร้างอยู่นานไม่ต้องสร้างใหม่ แต่อนิเมะที่เคยได้ยินมามันเป็นแบบเฟรมบายเฟรม คือต้องมานั่งวาดใหม่ทุกรอบเลย

สมาชิกหมายเลข 2368765

การ์ตูนญี่ปุ่น

ภาพยนตร์แอนิเมชัน

อนิเมะ

วาดการ์ตูน

ตามหาอนิเมะ เดอะมูฟวี่เก่าที่พระเอกใส่ชุดเกราะนินจาที่เปลี่ยนร่างเป็นรถ หรือเครื่องบินได้

ตามหาอนิเมะ เดอะมูฟวี่เก่าที่พระเอกใส่ชุดเกราะนินจาที่เปลี่ยนร่างเป็นรถ หรือเครื่องบินได้ มีใครพอจะรู้จักชื่อเรื่องไหมครับ

สมาชิกหมายเลข 4708536

ตามหาการ์ตูนเมื่อประมาณสัก 10 กว่าปีก่อนครับ

เรื่องนี้ผมดูจากช่องทีวีของจังหวัดเมื่อตอนเด็กๆ เป็นการ์ตูนอนิเมะไม่แน่ใจว่าของญี่ปุ่นหรือจีนหรืออะไร เนื้อเรื่องมันจะประมาณว่าพระเอกออกไปตามหาอัญมณีหลายๆสีเพื่อเอาไปทำอะไรสักอย่างลืมแล้ว เพื่อนร่วมทา

สมาชิกหมายเลข 7306236

อยากทราบเกี่ยวกับการสร้างอนิเมชัน 2D แบบอนิเมะญี่ปุ่น เขาทำกันยังไง เริ่มจากอะไรคะ?

ขอท้าวความนิดนึงนะคะ คือ เรากำลังสนใจเรื่องการทำอนิเมชัน 2D แนวๆ TV Animation แบบการ์ตูนญี่ปุ่นที่เราดูๆกันเนี่ยแหละค่ะ เราเป็นคนชอบดูอนิเมะญี่ปุ่นมาก แต่ส่วนใหญ่ก็ไม่ได้เน้นว่าต้องเนื้อเรื่องระดับไ

สมาชิกหมายเลข 3372094

นักเตะแข้งสายฟ้า

จบหรือยังครับ

สมาชิกหมายเลข 7280149

Gate jsdf (ch.118 ) ผมสงสัยว่าญี่ปุ่นนั้นมีโดรนหรือเทคโนโลยีตรวจจับความร้อนหรือไม่ และรู้หรือไม่ว่าในป่ามีศัตรู

https://chapmanganelo.com/manga-qp90183/chapter-118 ในตอน ch.118 กองทัพญี่ปุ่นบุกเข้าป่าและถูกกองทัพฝ่ายจักรวรรดิของซอร์ซันลอบโจมตีในป่าด้วยพลธนูและยักษ์ที่ซุ่มตามจุดต่างๆ ซึ่งในจุดนี้ผมสง

สมาชิกหมายเลข 6669894

มีใครพอจะทราบบ้างไหมครับว่าตัวละครตามลิ้งค์ในรูปมาจากอนิเมะเรื่องอะไรครับ

https://pic-bstarstatic.akamaized.net/ugc/

สมาชิกหมายเลข 7303082

อ่านกระทู้อื่นที่พูดคุยเกี่ยวกับ  การ์ตูน อนิเมะ คอมพิวเตอร์

ความหมายของแอนิเมชัน (Animation)

                  แอนิเมชัน (Animation) หมายถึง กระบวนการที่เฟรมแต่ละเฟรมของภาพยนตร์ ถูกผลิตขึ้นต่างหากจาก กันทีละเฟรม แล้วน ามาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน โดยการฉายต่อเนื่องกัน ไม่ว่าจากวิธีการ ใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก ถ่ายภาพรูปวาด หรือ หรือรูปถ่ายแต่ละขณะของหุ่นจ าลองที่ค่อย ๆ ขยับเมื่อน าภาพดังกล่าวมาฉาย ด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาที ขึ้นไป เราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจาก การเห็น ภาพติดตาในทาง คอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต ได้แก่เก็บใน รูปแบบ GIF MNG SVG และ แฟลช (Flash) 

                 คำว่า แอนิเมชัน (animation) รวมทั้งคำว่า animate และ animator มากจากรากศัพท์ละติน “animare” ซึ่งมีความหมายว่าทำให้มีชีวิต ภาพยนตร์แอนิเมชันจึงหมายถึงการสร้างสรรค์ลายเส้นและรูปทรงที่ไม่ มีชีวิต ให้เคลื่อนไหวเกิดมีชีวิตขึ้นมาได้(Paul Wells , 1998 : 10 ) 

                 แอนิเมชัน (Animation) หมายถึง “การสร้างภาพเคลื่อนไหว” ด้วยการน าภาพนิ่งมาเรียงลำดับกัน และ แสดงผลอย่างต่อเนื่องท าให้ดวงตาเห็นภาพที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพติดตา (Persistence of Vision) เมื่อ ตามนุษย์มองเห็นภาพที่ฉาย อย่างต่อเนื่อง เรตินารักษาภาพนี้ไว้ในระยะสั้นๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอื่น แทรกเข้ามาในระยะเวลาดังกล่าวสมองของมนุษย์จะเชื่อมโยงภาพทั้งสองเข้าด้วยกันทำให้เห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวที่ มีความต่อเนื่องกัน แม้ว่าแอนิเมชันจะใช้หลักการเดียวกับวีดิโอ แต่แอนิเมชันสามารถน าไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆ ได้มากมาย เช่นงานภาพยนตร์ งานโทรทัศน์ งานพัฒนาเกม งานสถาปัตย์ งานก่อสร้าง งานด้านวิทยาศาสตร์ หรืองานพัฒนาเว็บไซต์ เป็นต้น (ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ : 2552 : 222 ) 

                แอนิเมชัน (อังกฤษ: animation) หมายถึง การสร้างภาพเคลื่อนไหวโดยการฉายภาพนิ่งหลายๆ ภาพ ต่อเนื่องกันด้วยความเร็วสูงการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกในการคำนวณสร้างภาพจะเรียกการสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วยคอมพิวเตอร์หรือ คอมพิวเตอร์แอนิเมชัน หากใช้เทคนิคการถ่ายภาพหรือวาดรูป หรือ หรือรูปถ่ายแต่ละขณะ ของหุ่นจ าลองที่ค่อย ๆ ขยับ จะเรียกว่า ภาพเคลื่อนไหวแบบการเคลื่อนที่หยุด หรือ สตอปโมชัน (stop motion) โดยหลักการแล้ว ไม่ว่าจะสร้างภาพ หรือเฟรมด้วยวิธีใดก็ตาม เมื่อน าภาพดังกล่าวมาฉายต่อกันด้วยความเร็ว ตั้งแต่ 16 เฟรมต่อวินาทีขึ้นไปเราจะเห็นเหมือนว่าภาพดังกล่าวเคลื่อนไหวได้ต่อเนื่องกัน ทั้งนี้เนื่องจากการเห็นภาพติดตา ในทางคอมพิวเตอร์ การจัดเก็บภาพแบบแอนิเมชันที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในอินเทอร์เน็ต มีหลายรูปแบบไฟล์เช่น GIF APNG MNG SVG แฟลช (Flash) และไฟล์สำหรับเก็บวีดิทัศน์ประเภทอื่นๆ

               สรุปความหมายของแอนิเมชันคือ การสร้างสรรค์ลายเส้นรูปทรงต่างๆให้เกิดการเคลื่อนไหวตามความคิด หรือจินตนาการ 

               ปิยกุล เลาวัณย์ศิริ (2532 : 931-932) ได้สรุปหลักการและคุณสมบัติของภาพยนตร์แอนิเมชันเอาไว้ดังนี้

               1. สามารถใช้จินตนาการได้อย่างไม่มีขอบเขต 

              2. สามารถอธิบายเรื่องที่ซับซ้อนและเข้าใจยากให้ง่ายขึ้น

              3. ใช้อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรมได้ 

              4. ใช้อธิบายหรือเน้นส่วนส าคัญให้ชัดเจนและกระจ่างขึ้นได้ 

รู้จักกับอนิเมชั่น
สำหรับหัวข้อนี้ เราจะเรียนรู้วิีธีการสร้างภาพเคลื่อนไหว หรือ อนิเมชั่น (Animation)

โดยปกติแล้ว การ์ตูนที่เราเคยดูกันสมัยยังเป็นเด็กนั้น ภาพที่เราได้เห็นว่าตัวละครต่างๆ กำลังขยับนั้น อันที่จริงแล้ว เกิดจากการเล่นภาพหลายๆภาพต่อกันอย่างรวดเร็วมาก จนเกิดเป็นภาพขยับขึ้นมา หรือ ลองนึกตัวอย่างฟิลม์หนังเป็นช่องๆ ยาวเป็นม้วน ที่ถูกวนฉายภาพอย่างรวดเร็ว หรือการวาดภาพลงบนหนังสือแต่ละหน้าแล้วดีดหนังสือแต่ละหน้าอย่างรวดเร็ว 

ลักษณะการเล่นภาพทีละเฟรมนั้น เราเรียกว่าอนิเมชั่นแบบ เฟรมต่อเฟรม (Frame By Frame) ซึ่งจะเห็นว่า flash นั้นก็มีการแบ่งไทม์ไลน์ออกเป็นช่องเฟรม เพื่อให้เราสามารถนำภาพมาเรียงต่อกันเพื่อสร้างอนิเมชั่นได้

ก่อนที่ flash จะถือกำหนด เว็บโดยทั่วไปจะนิยมใ้ช้ภาพขยับประเภท gif animate (นามสกุล .gif) ซึ่งเป็นภาพขยับทีละเฟรมขยับต่อๆกัน ซึ่ง flash ก็สามารถสร้างได้เช่นเดียวกัน หรือสามารถ export ภาพไปใช้ทีละเฟรมในโปรแกรมอื่นเป็น jpeg sequence หรือ png sequence ก็ย่อมได้

หน่วยความเร็วในการเล่นอนิเมชั่น
สำหรับหน่วยอัตราความเร็วในการเล่นอนิเมชั่นนั้น (Frame rate) เราจะวัดออกมาเป็นค่า เฟรม ต่อ วินาที (Frame per second) โดยเรียกย่อๆสั้นๆว่า ค่า fps  โดยในโปรแกรม flash นั้น เราสามารถปรับค่า fps ได้โดยการคลิกบน Stage แล้วปรับค่าที่พาเนล properties ตรงช่องที่เขียนว่า fps

ในงานแอนิเมชั่น 2 มิติ 1 เรื่อง การตั้งค่า fps : 24.00 เท่ากับต้องวาดภาพทั้งหมดกี่ภาพ

โดยตัวเลขตั้งต้นโดยปกติคือ 12 หมายความว่า ใน 1 วินาที อนิเมชั่นจะถูกเล่นเป็นจำนวนทั้งหมด 12 เฟรมนั่นเอง

Note - สำหรับค่า frame rate นั้น จะมีผลต่อการเขียน ActionScript ด้วยเช่นกัน ซึ่ง 12 fps นั้น จะทำให้โค้ดที่ทำงานซ้ำๆนั้น สามารถทำงานได้ 12 ครั้งภายใน 1 วินาที

p.s. - สำหรับค่า frame rate มาตรฐานที่ผมใช้อยู่นั้น ส่วนใหญ่จะตั้งไว้ที่ 24 fps แต่กรณีที่งานนั้นมีการคำนวณที่ต้องการความเร็วสูง ก็จะปรับให้สูงขึ้นไปอีก เพื่อให้โค้ดที่เขียนสามารถทำงานได้เร็ว และดูลื่นไหลมากขึ้น  ซึ่งการตั้งค่า frame rate นั้นควรกำหนดตั้งแต่แรกว่าจะใช้ประมาณเท่าไร เนื่องจากว่า ถ้าปรับค่า fps ทีหลัง อาจจะต้องตามปรับอนิเมชั่นทุกตัวที่ได้สร้างไว้แล้ว

วิธีการสร้างภาพเคลื่อนไหวใน flash
สำหรับวิธีการสร้างภาพเคลื่อนไหวใน flash นั้นเราสามารถใช้ได้ 2 วิธีหลักๆคือ
1. การเรียงภาพแบบแบ่งเฟรม (Frame By Frame) ซึ่งจะจัดวางแต่ละเฟรมเรียงต่อกัน หรือ ไม่ต่อกันก็ได้ แล้วแต่จังหวะการขยับของภาพ ซึ่งบางช่วงอาจจะเว้นระยะห่าง เช่น คนกำลังเดินอยู่ สักพัก หยุดนิ่ง แล้วก็เริ่มเดินใหม่ เป็นต้น

ส่วนใหญ่การทวีนประเภทนี้ มักใช้กับรูปภาพที่มีการเคลื่อนไหวแต่ละสเตปค่อนข้างมาก

ตัวอย่างอนิเมชั่นแบบเฟรมบายเฟรม โดยอิมพอรต์ภาพเข้ามาเรียงต่อกัน

2. การสร้างอนิเมชั่นด้วยคำสั่ง Tween
คำสั่ง Tween นั้นจะมีประโยชน์อย่างมากในการช่วยลดจำนวนภาพที่จะต้องวาดในระหว่างเฟรมเริ่มต้นจนถึงเฟรมสิ้นสุด ตัวอย่างเช่นคุณมีวัตถุวงกลมชิ้นนึง ซึ่งต้องการที่จะเคลื่อนที่ไปยังจุดๆ หนึ่ง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของวงกลมมีเพียงแต่พิกัดตำแหน่ง ที่ขยับจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งเท่านั้น ถ้าหากเราต้องวาดรูปวงกลมรูปเดียวกันนี้ ทุกๆจุด จากจุดเริ่มต้นไปถึงจุดสิ้นสุด ก็จะเป็นการเสียเวลาอย่างมาก ฉะนั้น คำสั่ง Tween จะช่วยลดขั้นตอนที่ยุ่งยากนี้ โดยจะช่วยสร้างการเคลื่อนไหวระหว่าง เฟรมเริ่มต้นจนถึงเฟรมสิ้นสุดที่เราได้ทำการสร้าง Tween ขึ้นมาให้โดยอัตโนมัติ

โดยคำสั่ง Tween นั้นจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
2.1 Shape Tween
2.2 Motion Tween