นักเรียนควรเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง

ภาษามากมายที่เราอาจไม่ค่อยคุ้น เช่นภาษาเขมร ภาษายาวี ภาษีอินโดนีเซีย ภาษาตากาล็อก ภาษาพม่า ภาษาเวียดนาม เป็นภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซ่ยนของเราที่เราสามารถหาเวลามาพัฒนาเรียนรู้ ฝึกพูดฝึกฟังให้เป็นเข้าไว้ เตรียมตัวเพื่อเป็นหนึ่งเดียวกันในอาเซี่ยน ภาษาที่สำคัญที่สุดก็คือภาษาอินโดนีเซีย เพราะถูกยกให้เป็นภาษาแห่งอาเซ่ยน เนื่องจากเป็นภาที่มีประชากดรใช้มากที่สุดนั่นเอง ตามมหาวิทยาลัยมีการเปิดสอนคอร์สพิเศษภาษาเพื่อนบ้านมากขึ้นเรื่อย ๆ ด้วยการสนับสนุนจากทางภาครัฐ เพราะเห็นความสำคัญในการเตรียมพร้อมด้านภาษาเพื่อเข้าสู่สมาพันธ์อาเซี่ยน

2 เสาะหาโอกาสในการพัฒนาอาชีพและธุรกิจจากการรวมตัวครั้งนี้

อาชีพที่ทำอยู๋ทุกวันหรือธุรกิจที่ทำอยู่ ถ้าอยากก้าวหน้าจะต้องพัฒนาตัวเองให้เชี่ยวชาญและเก่งมากขึ้น มีความรู้มากชึ้นในสาขาอาชีพ เผื่อมีโอกาสเข้ามาก็อาจจะได้รับประโยชน์จากตรงนี้ได้ไม่วันใดก็วันหนึ่ง

3 เปิดใจให้กว้างเพื่อเรียนรู้และรับการเข้ามาของประเทศเพื่อนบ้าน

เมื่อประเทศเปิดเสรีในภูมิภาค จะมีชาวต่างชาติซึ่งเป็นเพื่อนบ้านหลั่งไหลเข้ามาในประเทศของเรามากมาย เปิดใจที่จะยอมรับเป็นมิตรและเรียนรู้จักเพื่อนบ้านต่างชาติต่างวัฒนธรรม จะทำให้เรามีความสุขอย่าปิดกั้นและรู้สึกตั้งป้อมเพียงเพราะภาษาและไลฟ์สไตล์ที่แตกต่างกัน ไม่แน่ว่าเราอาจจะมีหนทางทำมาหากิน มีสิ่งดี ๆ เข้ามาเมื่อเปิดใจก็ได้

4 วางแผนเดินทางไปเที่ยวยังประเทศในกลถุ่มอาเซี่ยนเพื่อเปิดหูเปิดตาบ้าง

เมื่อมีการรวมกลุ่มอาเซี่ยนแล้ว การเดินทางท่องเที่ยวในประเทศกลุ่มสมาชิกก็ง่ายดายขึ้น เป็นโอกาสที่จะได้ทิ่องเที่ยวเปืดหูเปิดตาไปในประเทศเพื่อนบ้านอย่างอิสระ ค่าเดินทางและค่าใช้จ่ายก็ถูกลง อาจจะได้เก็บเกี่ยวความคิดสร้างสรรค์กลับมา มีช่องทางทำธุรกิจแงะพบเจอประสบการณ์น่าประทับใจก็ได้ ประเทศเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซี่ยนมีสถานที่และวัฒนธรรมที่น่าไปสัมผัสและเรียนรู้มากมาย

การเตรียมความพร้อมในการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร

  1. พยาบาลควรมีความรู้/เชี่ยวชาญในศาสตร์ทางการพยาบาล 
  2. เน้นการดูแลผู้ป่วยด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ ( Humanistic care )
  3. ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง (Patient center ) มีจรรยาบรรณวิชาชีพในการพยาบาล และ เข้าใจในหลักศาสนา วัฒนธรรมความเป็นอยู่ของชนชาติต่างๆ เช่น ผู้ป่วยที่เป็นชาวมุสลิม ช่วงเดือนรอมฎอน ต้องพิจารณาปรับวิธีการจ่ายยาให้สอดคล้องกับวิถีชีวิต ควรงดนัดผู้ป่วยนอกชาวมุสลิม ในเดือนรอมฎอน เป็นต้น
เราควรปรับตัวและพัฒนาตนเองอย่างไรบ้าง เพื่อเตรียมตัวสู่ประชาคมอาเซียน
  1. ปรับแนวคิดเชิงบวกของตนเองเกี่ยวกับ ASEAN
  2. การฝึกให้วัฒนธรรมคุณภาพเป็นวินัยในการทำงาน
  3. ฝึกทักษะภาษาอังกฤษและภาษาเพื่อนบ้าน
  4. ฝึกทักษะต่าง ๆ ด้านการพยาบาลให้มีฝีมือ
  5. ศึกษาปัญหาสุขภาพของประเทศเพื่อนบ้าน
  6. เรียนรู้วัฒนธรรมต่าง ๆ ของประเทศอาเซียนและชาติที่มาใช้บริการ
  7. ใช้ IT ในการทำงาน
  8. ติดตามข่าวสารของประชาคมอยู่เสมอ
  9. รู้จักสิทธิขั้นพื้นฐานในฐานะพลเมืองของชาติ
  10. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
การก้าวเข้าสู่อาเซียนนับว่าเป็นเรื่องที่ดี เเต่เราต้องเตรียมตัว พัฒนาฝีมือของตนเอง ไว้อย่างเสมอ ทั้งด้าน การพยาบาล จริยธรรม เเละที่สำคัญคือ ภาษากลางที่ใช้ในการสื่อสาร ยิ่งงานพยาบาลโรงงาน ด้วยเเล้วก็ต้องมีความต้องการมากขึ้นด้วย

การเตรียมความพร้อมประเทศไทย สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

Article Sidebar

นักเรียนควรเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไรบ้าง

DOWNLOAD PDF (ภาษาไทย)

Published: Sep 11, 2020

Main Article Content

Kriengsak Chareonwongsak

Abstract

     การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) ปี พ.ศ. 2558 ที่กาลังจะมาถึงในอีก 3 ปีข้างหน้านี้ นับเป็นโอกาสสาคัญสาหรับไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งโอกาสในการเข้าถึงตลาดเดียวที่มีขนาดใหญ่ครอบคลุมผู้บริโภคราว 580 ล้านคน การเข้าถึงปัจจัยการผลิต แรงงานราคาถูก แรงงานที่มีทักษะ และทรัพยากรที่อุดมสมบูรณ์ ตลอดจนการได้รับเงินลงทุนและการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น การรวมตัวกันเป็นประชาคมจะเป็นเครื่องมือเพิ่มพลังอานาจต่อรองและเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้เกิดขึ้นในภูมิภาค เป็นประโยชน์ต่อการเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถทางการแข่งขันของประเทศในอนาคต


     อย่างไรก็ตาม การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (Asean Economic Community: AEC) ยังเป็นความท้าทายครั้งสาคัญสาหรับไทยเราด้วยเช่นเดียวกัน ซึ่งหากไม่มีการเตรียมความพร้อมที่ดีอาจส่งผลกระทบต่อศักยภาพและขีดความสามารถทางการแข่งขันของไทยในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่งการขาดความพร้อมทางด้านภาษา การขาดความเข้าใจ/ความตระหนักถึงผลกระทบและความจาเป็นของการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ตลอดจนการไม่รู้จักเพื่อนบ้านและการเข้ามาทางานของแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้านที่คาดว่าจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต


     ไทยเราจึงจาเป็นต้องมีการเตรียมพร้อม ปรับตัว ด้วยการตั้งเป้าหมายพัฒนาตนเองอย่างมีวิสัยทัศน์ สร้างสรรค์นวัตกรรม และปฏิวัติการพัฒนาเพื่อก้าวสู่ความเป็นเลิศ ด้วยการมุ่งมั่นเตรียมความพร้อมทางด้านภาษา การพัฒนาทักษะการคิด การขับเคลื่อนด้วยทักษะที่สามารถวัดได้ การขับเคลื่อนด้วยผลิตภาพ การพัฒนาบนฐานจุดแกร่ง รวมถึงการเตรียมพร้อมทางด้านความรู้และภูมิปัญญา แข่งขันในบางเรื่องที่เด่นและแกร่ง เพื่อให้ไทยสามารถอยู่รอดและแข่งขันได้ในเวทีที่จะเปิดกว้างสู่ระดับภูมิภาคกลุ่มอาเซียนและในระดับโลกมากขึ้น


 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite

chareonwongsak , kriengsak . (2020). การเตรียมความพร้อมประเทศไทย สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. King Prajadhipok’s Institute Journal, 10(3). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244399

More Citation Formats

  • ACM
  • ACS
  • APA
  • ABNT
  • Chicago
  • Harvard
  • IEEE
  • MLA
  • Turabian
  • Vancouver

Download Citation

  • Endnote/Zotero/Mendeley (RIS)
  • BibTeX

Issue

Vol. 10 No. 3 (2012): King Prajadhipok's Institute Journal (September 2012 - December 2012)

Section

Original Articles

@ 2020 King Prajadhipok's Institute The Government Complex Commemorating All Right Reserved.

References

Agency for Science, Technology and Research Singapore, National survey of research and development in Singapore 2010 [Online] Available : http://www.a-star.edu.sg/Portals/0/media/RnD_Survey/RnD_2010.pdf

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2551) คลื่นลูกที่ 5-ปราชญสังคม : สังคมไทยที่พึงประสงค์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2542) สังคมพหุเอกานิยม : เอกภาพในความหลากหลาย. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) ภาพอนาคตและคุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์. กรุงเทพฯ : โครงการ วิถีการเรียนรู้ของคนไทย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545-2546) คุณลักษณะของคนไทยที่พึงประสงค์แบ่งตามช่วงวัย. กรุงเทพฯ : สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553) The Next 100 Years จะเกิดอะไรขึ้นในรอบ 100 ปี พยากรณ์โลกวันนี้ถึงปี 2100. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2543) การจัดการเครือข่าย : กลยุทธ์สำคัญสู่ความสาเร็จของการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545) ลายแทงนักคิด. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงสังเคราะห์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงมโนทัศน์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544) การคิดเชิงวิพากษ์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2545) การคิดเชิงประยุกต์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงเปรียบเทียบ. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงบูรณาการ. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2546) การคิดเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2549) การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2547) การคิดเชิงอนาคต. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซสมีเดีย.

วิวรรณ ธาราหิรัญโชติ, การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, กรุงเทพธุรกิจออนไลน์, 23 เมษายน 2555.

วิจัยชี้ เด็กไทย 8 ใน 10 คน ไม่กล้าไปทำงานในกลุ่มประเทศอาเซียนเพราะกลัวเรื่องภาษา, มติชนออนไลน์, 29 พฤษภาคม 2012.

วลัยพร แสงนภาบวร. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนกับทิศทางด้านการศึกษาของกรุงเทพมหานคร. สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร. วันพุธที่ 20 มิถุนายน 2555.

ค่าแรง, ประสิทธิภาพ. ประสิทธิผลการทางานของประชาคมอาเซียน [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก, http://www.thai-aec.com/129

แบ็กซ์เตอร์ฯ สานต่อโครงการ “ชีวิตสดใส สังคมไทยยั่งยืน” ปี 2 สนับสนุนการศึกษา ร่วมพัฒนาห้องสมุด [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก, http://www.baxter.co.th/th/CSR/Library_Support/index.html

IMD ประเมินการศึกษาไทยเกือบรั้งท้าย 47 จาก 58 ประเทศ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก, http://www.manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9530000168439

ประเทศ ดัชนีการพัฒนามนุษย์ (HDI) สูงที่สุดในโลก ห้องสมุด [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก, http://www.oknation.net/blog/monchai83/2011/07/02/entry-2

/2555 เรื่อง “ประชาคมอาเซียนกับความคาดหวังของคนไทย” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก, http://nidapoll.nida.ac.th/main/index.php/en/poll-new/nidapoll-2555/237-poll-24-2555

องค์ความรู้ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community: AEC) [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.thai-aec.com/160

มีการเตรียมตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร

3. การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน.
สร้างประชากรที่มีคุณภาพโดยการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีมาตรฐานที่ดีและทั่วถึง.
ส่งเสริมให้ประชากรได้รับการศึกษาเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะชนกลุ่มน้อย คนไร้สัญชาติ และคนยากจนที่มีโอกาสทางการศึกษาน้อย.
ส่งเสริมการศึกษาทั้งในสาขาวิชาชีพหรืออาชีวศึกษา และในระดับอุดมศึกษา.

นักเรียนจะมีวิธีการปรับตัวเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนอย่างไร

การปรับตัวเตรียมพร้อมในการก้าวสู่สมาคมอาเซียน.
เรียนรู้และฝึกฝนภาษาใหม่ ๆ ในภูมิภาค ... .
เสาะหาโอกาสในการพัฒนาอาชีพและธุรกิจจากการรวมตัวครั้งนี้ ... .
เปิดใจให้กว้างเพื่อเรียนรู้และรับการเข้ามาของประเทศเพื่อนบ้าน ... .
วางแผนเดินทางไปเที่ยวยังประเทศในกลถุ่มอาเซี่ยนเพื่อเปิดหูเปิดตาบ้าง.

เพราะเหตุใดประเทศสมาชิกอาเซียนต้องเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558

ทําไมจึงต้องตั้งอาเซียน ? ประเทศผู้ร่วมก่อตั้งเห็นว่าการตั้งองค์กรความร่วมมือ ระดับภูมิภาค จะช่วยให้ 1. ป้องกันการเกิดความขัดแย้ง 2. ส่งเสริมการระงับข้อพิพาทโดยวิธีสันติ 3. ส่งเสริมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน

ประชาคมอาเซียนมีการดำเนินงานที่สำคัญในด้านใดบ้าง

กรอบความร่วมมือภายใต้เสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย 15 สาขา ดังนี้ การศึกษา กีฬา วัฒนธรรมและศิลปะ สารสนเทศ แรงงาน เยาวชน สตรี เด็ก ราชการพลเรือน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากชน สาธารณสุข การจัดการภัยพิบัติ มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน และสิ่งแวดล้อม