การสกัดสมุนไพรมีกี่วิธีอะไรบ้าง

ปัจจุบันเทคนิคการกลั่นและการสกัดด้วยตัวทำละลายได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในการนำมาใช้กับการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพร โดยการสกัดแบบการกลั่นนั้นใช้หลักการการควบแน่นและการระเหยของสารสำคัญและน้ำ ซึ่งได้นำเสนอไว้สามเทคนิค ได้แก่ การกลั่นด้วยน้ำ การกลั่นด้วยน้ำและไอน้ำ และการกลั่นด้วยไอน้ำ โดยการกลั่นด้วยไอน้ำนี้ได้เพิ่มเทคนิคการกลั่นแบบ Instant Controlled Pressure Drop (DIC) ซึ่งนิยมใช้ในปัจจุบันไว้ด้วย สำหรับการสกัดด้วยตัวทำละลายนั้นจะใช้หลักการของการทำละลายกันระหว่างสารสำคัญและตัวทำละลาย โดยได้นำเสนอการสกัดด้วยตัวทำละลายไว้หลายเทคนิค ได้แก่ การสกัดแบบชง การสกัดแบบต่อเนื่อง การสกัดแบบการหมัก การสกัดโดยใช้ไขมัน การสกัดสารด้วยของไหลวิกฤติยิ่งยวด การสกัดด้วยคลื่นไมโครเวฟ และการสกัดโดยใช้คลื่นเสียงความถี่สูง นอกจากหลักการพอสังเขปในแต่ละเทคนิคแล้ว นอกจากนี้ยังได้นำเสนอข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับตัวทำละลาย เช่น หลักการเลือกตัวทำละลายรวมทั้งข้อดีและข้อจำกัดของแต่ละเทคนิคประกอบ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้อ่านสามารถเลือกเทคนิคการสกัดสารสำคัญจากสมุนไพรที่สนใจได้อย่างเหมาะสมต่อไป

Recently, distillation and solvent extraction are widely used in herbal extraction. Distillation process is based on of phase change of both active compounds and water, whereas the solvent extraction process is based on solubility principle as like dissolves like concept. Hence, three techniques of distillation, water distillation, water and steam distillation, and direct steam distillation are briefly provided in details, including an innovation process as instant controlled pressure drop (DIC). Various techniques of solvent extraction such as infusion, percolation, soxhlet extraction, maceration, enfleurage, supercritical fluid extraction, Microwave Assisted Extraction (MAE), and Ultrasound Assisted Extraction (UAE) are briefly described, including pros and cons. Moreover, factors of solvent selection and solvent polarity are also commented. Hopefully, these information from this article will be useful in your herb of interest.

การสกัดโดยวิธีนี้ เป็นการสกัดโดยปล่อยให้ตัวทำละลายไหลผ่านตัวสมุนไพรอย่างช้าๆต่อเนื่อง เพื่อละลายเอาสารออกฤทธิ์จากสมุนไพรให้ออกมา การสกัดแบบนี้ จะใช้เครื่องมือช่วยสกัดที่ชื่อว่าเครื่องเพอร์โคเลเตอร์ (Percolator) เหมาะกับการสักสมุนไพรหลากหลายรูปแบบ การสกัดวิธีนี้ต้องสกัดหลาย ครั้งเพื่อให้ได้สารสำคัญมากที่สุด วิธีคือ บดสมุนไพรให้ละเอียดทำการหมักให้พองตัวประมาณ 1ชั่วโมง หลังจากนั้นบรรจุผงสมุนไพรในเพอร์โคเลเตอร์ทีละน้อยให้เป็นชั้นๆใส่ตัวละลายลงไปให้ท่วมสมุนไพรทิ้งไว้ 1-2 วัน ต่อจากนั้นจึงไขท่อข้างล่างเพื่อให้สารสกัดออกมาแล้วเติมตัวทำละลายลงไปเรื่อยๆ จนการสกัดสารสกัดสมบูรณ์และบีบสารละลายออกจากกากจึงนำไปกรอง วิธีนี้เป็นวิธีการสกัดที่สมบูรณ์ เนื่องจากไม่ต้องใช้ความร้อนเพราะความร้อนอาจทำให้สารสกัดที่สกัดมีประสิทธิภาพด้อยลง แต่ข้อเสีย คือ สิ้นเปลืองน้ำยาสกัดและใช้เวลาที่สกัดนาน

           สำหรับสาว ๆ ที่อยากบำรุงเลือดลมให้ไหลเวียนดี หรือมีปัญหาประจำเดือนมาไม่ปกติ ตกขาวเยอะ ลองปรึกษาเภสัชกรแล้วเลือกยาสตรีมาบำรุงสุขภาพกันได้ แต่หากมีโรคประจำตัวก็ควรปรึกษาแพทย์ก่อนจะซื้อยาหรืออาหารเสริมมารับประทาน ทั้งนี้ เพื่อหลีกเลี่ยงผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์จากยา และเพื่อให้เราได้รับประโยชน์จากยาสตรีตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการด้วยค่ะ

บทสวดอิติปิโส เป็นคำแรกในบทสวดมนต์ ซึ่งเรียกว่า บทสวดสรรเสริญพระรัตนตรัย ประกอบด้วยความ 3 ท่อน คือ บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ บทสวดนี้เป็นการรวมเอาถ้อยคำสำคัญๆ มา รวมไว้ ซึ่งเชื่อว่าสวดแล้วนอกจากทำให้ใจสงบ เมื่อมีใจสงบก็ย่อมมีสติ มีปัญหาอะไรก็ย่อมแก้ไขได้ไม่ยาก เป็นเหตุให้มีพุทธคุณ พระธรรมคุณสังฆคุณ ประการต่างๆ ซึ่ง บทสวดมนต์ อิติปิโส มักจะมีสวดบทอื่นๆตามหลังได้แก่ อิติปิโส พาหุง หรือ หลายท่านอาจจะสวดอิติปิโส นพเคราะห์ บ้างก็สวดเท่าอายุ หรือ ใช้บทสวดอิติปิโส ถอยหลัง ก็ตามแต่

บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ

อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ.

บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูฮีติ.

บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ.

คำแปล บทสรรเสริญพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ

บทสรรเสริญ พระพุทธคุณ

อิติปิ โส ภะคะวา (เพราะเหตุอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น) อะระหัง (เป็นผู้ไกลจากกิเลส) สัมมาสัมพุทโธ (เป็นผู้ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง) วิชชาจะระณะสัมปันโน (เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ) สุคะโต (เป็นผู้ไปแล้วด้วยดี) โลกะวิทู (เป็นผู้รู้โลกอย่างแจ่มแจ้ง) อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ (เป็นผู้สามารถฝึกบุรุษที่สมควรฝึกได้ อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า) สัตถา เทวะมนุสสานัง (เป็นครูผู้สอนของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย) พุทโธ (เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบานด้วยธรรม) ภะคะวาติ. (เป็นผู้มีความจำเริญจำแนกธรรมสั่งสอนสัตว์ ดังนี้)

บทสรรเสริญ พระธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม (พระธรรม เป็นสิ่งที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ดีแล้ว) สันทิฏฐิโก (เป็นสิ่งที่ผู้ศึกษาและปฏิบัติ พึงเห็นได้ด้วยตนเอง) อะกาลิโก (เป็นสิ่งที่ปฏิบัติได้ และให้ผลได้ไม่จำกัดกาล) เอหิปัสสิโก (เป็นสิ่งที่ควรกล่าวกับผู้อื่นว่า ท่านจงมาดูเถิด) โอปะนะยิโก (เป็นสิ่งที่ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว) ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ. (เป็นสิ่งที่ผู้รู้ พึงรู้ได้เฉพาะตน ดังนี้ ฯ)

บทสรรเสริญ พระสังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติดีแล้ว) อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติตรงแล้ว) ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติเพื่อรู้ธรรมเป็นเครื่องออกจากทุกข์แล้ว) สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าหมู่ใด ปฏิบัติสมควรแล้ว) ยะทิทัง (ได้แก่บุคคลเหล่านี้คือ) จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา (คู่แห่งบุรุษสี่คู่ นับเรียงตัวได้แปดบุรุษ) เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ (นั่นแหละ สงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า) อาหุเนยโย (เป็นผู้ควรแก่สักการะที่เขานำมาบูชา) ปาหุเนยโย (เป็นผู้ควรแก่สักการะที่จัดไว้ต้อนรับ) ทักขิเณยโย (เป็นผู้ควรรับทักษิณาทาน) อัญชะลีกะระณีโย (เป็นผู้ที่บุคคลทั่วไปควรทำอัญชลี) อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ. (เป็นเนื้อนาบุญของโลก ไม่มีนาบุญอื่นยิ่งกว่า ดังนี้)

ดาวน์โหลด หนังสือ

จะต้องสวดอิติปิโส อย่างไรจึงจะถูกต้อง

  • บทสวดอิติปิโส 9 จบ
  • บทสวดอิติปิโสเท่าอายุ
  • บทสวดอิติปิโสแบบเต็ม
  • บทสวดอิติปิโสแบบย่อ
  • บทสวดอิติปิโส พาหุง
  • บทสวดอิติปิโส แปล
  • บทสวด อิ ติ ปิ โส 3 จบ
  • บทสวดอิติปิโส นพเคราะห์

การสวดมนต์บท อิติปิโส ที่ถูกต้อง…สวดกี่จบก็ได้ (โดย ธรรมะจากพระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี)

สาระสำคัญของการสวดมนต์แต่เดิมนั้นก็คือ การทบทวนหลักธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้า เพราะในสมัยโบราณนั้นยังไม่เน้นการเล่าเรียนโดยการอ่าน การเขียน การบันทึก วิธีการศึกษาเล่าเรียนพระธรรมก็คือ การที่ครูบาอาจารย์ไปฟังมาจากพระพุทธเจ้าโดยตรง เมื่อฟังแล้วก็เพียรกำหนดจดจำเอาไว้ เมื่อกลับมายังที่พักหรือสำนักของตนก็นำมาถ่ายทอดต่อให้ลูกศิษย์ ศิษยานุศิษย์ก็คอยฟังจากคำของครู แล้วกำหนดจดจำไว้ด้วยการท่องบ่นจนจำขึ้นใจ พอจำขึ้นใจแล้ว วันต่อไปก็เรียนมนต์ (คำสอน) บทใหม่ต่อไป แต่ก่อนจะเรียนบทใหม่ก็ต้องทบทวนบทเก่าให้แม่นยำเสียก่อน

การเรียนพระธรรมคำสอนจากปากของครูบาอาจารย์โดยตรงนี้ เรียกว่า การศึกษาระบบ “มุขปาฐะ” (จากปากสู่ปาก) การทบทวนคำสอนเก่าก่อนเรียนคำสอนใหม่เรียกว่า “การต่อหนังสือ” เมื่อทำอยู่อย่างนี้จนเป็นกิจวัตร ต่อมาจึงพัฒนากลายเป็นการสวดมนต์ และพอทำเป็นประจำจึงเรียกการสวดมนต์ว่า “การทำวัตรสวดมนต์”

มนต์ที่เรานำมาสวดก็คือพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้านั่นเอง แต่ต่อมามีการประพันธ์พระธรรมคำสอนของพระองค์ให้อยู่ในรูปของฉันทลักษณ์ (กวีนิพนธ์) เพื่อให้สวดง่าย จำง่าย ภายหลังก็มีการประพันธ์มนต์ใหม่ๆ ขึ้นมาเพื่อใช้สวดในงานต่างๆ หรือเพื่อหวังผลเป็นความสวัสดีมีชัย มนต์ที่แต่งเพิ่มเติมขึ้นมาภายหลังนี้ บางทีก็เรียกกันว่า “ปริตร” หรือ “พระปริตร” (แปลว่า เครื่องคุ้มครองป้องกัน)

การสวดมนต์ซึ่งแต่เดิมคือการเรียนพระธรรมคำสอน ค่อยๆ เลือนมาเป็นการสวดเพื่อทำเป็นศาสนกิจอย่างหนึ่ง ที่เรียกว่าการทำวัตรสวดมนต์ และจากนั้นก็คลี่คลายมาเป็นการสวดมนต์เพื่อความสวัสดีมีชัย

มาถึงยุคของเรา การสวดมนต์มีความหมายแคบลงมาอีก กลายเป็นการสวดเพื่อเอาบุญบ้าง สวดเพื่อสะเดาะเคราะห์บ้าง สวดเพื่อหวังลาภลอย หรือสวดในฐานะเป็นคาถาสำหรับคุ้มครองป้องกันหรือทำให้ทำมาค้าคล่องบ้าง นี่ก็นับเป็นวิวัฒนาการของการสวดมนต์ที่ควรทราบไว้เป็นความรู้พื้นฐานสำหรับการเป็นชาวพุทธ อย่างน้อยก็จะได้ใช้เป็นเครื่องมือตรวจสอบว่า ทุกวันนี้เราสวดมนต์ด้วยท่าทีอย่างไร ห่างออกไปจากเป้าหมายเดิมแท้มากน้อยแค่ไหน

การสวดมนต์ไม่ว่าจะเป็นบทอิติปิโส (สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย) ก็ดี บทชินบัญชรก็ดี ถ้าตั้งใจสวดจริงๆ แล้ว ไม่ว่าจะสวดสั้น สวดยาว สวดย่อ หรือสวดเต็ม ก็ได้บุญด้วยกันทั้งนั้น สาระสำคัญอยู่ที่ความตั้งใจเป็นหลัก ถ้าสวดอย่างมีสมาธิ บทเดียวก็ได้บุญมาก แต่ถ้าสวดแต่ปาก ทว่าใจฟุ้งซ่าน สวดยาวนานแค่ไหนก็คงได้บุญนิดๆ หน่อยๆ เท่านั้นเอง

ดังนั้น ทุกๆ ครั้งที่สวดมนต์ไม่ควรไปยึดติดว่าเท่านั้นจบ เท่านี้จบ เอาเป็นว่าสวดให้จบแต่ละบทด้วยความตั้งใจที่เต็มร้อย แม้เพียงบทเดียวก็นับว่าได้บุญอย่างยิ่งแล้ว และเหนืออื่นใด สิ่งที่ไม่ควรลืมทุกครั้งเวลาสวดมนต์ก็คือ ควรพยายามทำความเข้าใจด้วยเสมอไป วิธีง่ายๆ ก็คือ ควรหาบทสวดมนต์แปลมาฝึกสวดด้วย สวดไปทำความเข้าใจไป ถ้าทำอย่างนี้อยู่เสมอๆ วันหนึ่งการสวดมนต์ก็จะเป็นช่องทางให้บรรลุธรรมได้เหมือนกัน

เพราะพระพุทธองค์ตรัสว่า การสวดมนต์นับเป็นช่องทางหนึ่งของการบรรลุธรรม กล่าวอย่างสั้นๆ ก็คือ “สวดเป็นก็เห็นธรรม”

itti-piso บทสวดอิติปิโส ภาษาอังกฤษ

(Buddhābhivādanā)

  • Namo Tassa Bhagavato Arahato Sammā Sambuddhassa (repeat three times)

Itipiso bhagavā Araham Sammā-sambuddho

Vijjā-carana-sampanno Sugato Lokavidū

Anuttaro purisa-damma-sārathi

Satthā deva-manussānam Buddho Bhagavāti

(prostrate once)

(Doctrine)

Svākkhāto bhagavatā dhammo

Sanditthiko Akāliko Ehipassiko Opanayiko

Paccattam veditabbo vinnuhiti

(prostrate once)

(Sangha)

Supatipanno bhagavato sāvaka-sangho

Uju-patipanno bhagavato sāvaka-sangho

Nāya-patipanno bhagavato sāvaka-sangho

Sāmīci-patipanno bhagavato sāvaka-sangho

Yadidam cattāri purisa-yugāni attha purisa-puggalā

Esa bhagavato sāvaka-sangho

Āhuneyyo Pāhuneyyo Dakkhineyyo Anjali-karanīyo Anuttaram punnakkhettam lokassāti.

ดาวน์โหลด หนังสือ

อานิสงส์ของการสวดอิติปิโส

บทสวดนี้เป็นการรวมเอาถ้อยคำสำคัญ ๆ มาของพระพุทธองค์ ซึ่งเชื่อว่าทำให้ใจสงบ เมื่อมีใจสงบก็ย่อมมีสติ มีปัญหาอะไรก็ย่อมแก้ไขได้ไม่ยาก ยิ่งสวดเป็นประจำสม่ำเสมอ จึงมักมีสติปัญญาดี นิ่งสงบ ไม่ฟุ้งซ่าน จิตใจเข้มแข็ง ปัญญาดี หลับสบาย มีสมาธิ และแน่นอนเมื่อสติปัญญาดี การตัดสินใจถูกต้องแม่นยำ ผลที่ได้จึงมักจะประสบพบเจอแต่สิ่งดี ๆ ในชีวิต

ที่มา : เรื่องย่อมงคลสูตรคำฉันท์

  • เสริมสร้างอนุสติ ช่วยทำลายความขลาดกลัวต่ออารมณ์ที่สร้างขึ้นมาหลอนใจ โดยน้อมเอาคุณของพระรัตนตรัยมาสร้างเสริมกำลังใจให้เกิด ความอาจหาญแกล้วกล้าในการต่อสู่อันตรายและอุปสรรคนานาประการ
  • เมื่อสวดหลายจบ คือความรู้สึกสว่าง อบอุ่นใจ และเหมือนมีความศักดิ์สิทธิ์บังเกิดขึ้นรอบตัว
  • ช่วยคุมครองป้องกันอันตรายจากที่สูง หรืออันตรายทางอากาศ เช่น อันตรายจากการขึ้นต้นไม้สูง อันตรายจากการเดินทางที่ต้องผ่านหุบเขาเหวผาสูงชัน อันตรายจากสิ่งที่ตกหล่นมาจากอากาศ และในปัจจุบันยังนิยมใช้สวดเพื่อป้องกันอันตรายอันจะเกิดจากการเดินทางโดย เครื่องบิน
  • บทสวดนี้ มีพุทธานุภาพ ธรรมานุภาพ สังฆานุภาพครบถ้วน จึงช่วยให้จิตใจมีกำลังเข้มแข็งต่ออุปสรรคใด ๆ ที่เผชิญ
  • เป็นคนมีเสน่ห์และเป็นที่รัก มีผลในการช่วยต่อชะตา ให้อายุยืนยาว เทวดารักษา ป้องกันภูติผีปีศาจ นิมิตร้ายใด ๆ และแคล้วคลาดจากโรคภัยไข้เจ็บใด ๆ และจากอุบัติเหตุ
  • บางคนเชื่อกันว่า เป็นเหมือนเกราะเพชร คุ้มครองป้องกันภัยให้ผู้สวดอีกด้วย พระหลาย ๆ รูปนิยมนำมาสวด เพื่อเป็นยันต์เกราะเพชร และแนะนำให้ลูกศิษย์สวดเพื่อคุ้มครองป้องกันภัย

ร่วมสนับสนุนการสั่งสมบุญโดย

สังฆทานเป็นรูปแบบหนึ่งของการทำบุญให้ทาน เป็นการทำบุญในรูปแบบที่ได้รับความนิยมอย่างมากตามความเชื่อ ความศรัทาของชาวพุทธ ประโยชน์ของการถวายสังฆทาน จึงมีผลด้านจิตใจ เป็นการลดความเห็นแก่ตัว การไม่ยึดติดในวัตถุสิ่งของและความคับแคบในจิตใจให้น้อยลง และสิ่งที่เราบริจาค ให้ทานแก่ผู้อื่นนั้น ก็ยังสามารถทำให้เกิดประโยชน์ต่อผู้รับได้ ตามความเชื่อนั้น การถวายสังฆทาน เป็นวิธีทำบุญที่ได้บุญ-อานิสงส์มาก เพราะเป็นการถวายทานที่ไม่ระบุเฉพาะว่าเป็นพระสงฆ์รูปใด (ให้แก่ผู้ที่มีศีลบริสุทธิ์ ย่อมเกิดประโยชน์ และได้รับบุญมาก)

สบู่สมุนไพร และแชมพูสมุนไพร ตราโสฬส

“เวลาญาติโยม ตั้งใจนำสิ่งดีๆมาถวาย เมื่อพระสงฆ์ท่านได้รับแล้วก็ชื่นใจ สามารถนำมาใช้ได้จริง เกิดประโยชน์ ศรัทธาของท่านผู้นำมาถวาย ก็เกิดสัมฤทธิ์ผล”

โปรโมชั่นสำหรับ ถวายสังฆทาน ชุดละ 299 บาท

สั่งซื้อ

สบู่สมุนไพร ตรา โสฬส

สบู่สมุนไพรที่ช่วยรักษาความชุ่มชื่น ลดอาการระคายเคืองแก่ผิวหนัง ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีสกัดเย็น และผลิตเป็นก้อนแบบ Cold Process เพื่อคงคุณค่าของสมุนไพร ได้แก่ น้ำมันมะพร้าว, น้ำมันสกัดจากผลปาล์ม, สารสกัดจากรากชะเอม, เสลดพังพอนตัวผู้, สารสกัดจากฟ้าทะลายโจร และวิตามินอี จึงเหมาะแก่การนำมาถวายเป็นสังฆทาน เพราะช่วยทำความสะอาดผิวอย่างอ่อนโยน รักษาสมดุลความชุ่มชื้น ไม่ทำให้ผิวแห้ง ลดผื่นแพ้ และอาการคัน

เลขที่ใบรับแจ้ง : 74-1-6200034560

ราคา 129 บาท (ปกติราคา 150 บาท)

แชมพูสมุนไพร ตรา โสฬส

แชมพูสมุนไพรที่ช่วยรักษาความชุ่มชื่น ลดอาการระคายเคือง อาการคัน ให้กับหนังศีรษะ ที่ใช้สมุนไพรจากกรรมวิธีสกัดเย็น เพื่อคงคุณค่าของสมุนไพร ได้แก่ น้ำมันมะพร้าว, ว่านหางจระเข้, เมล็ดมะรุม, ใบบัวบก และวิตามินบี 5 จึงเหมาะแก่การนำมาถวายเป็นสังฆทาน เพราะนอกจากจะสามารถใช้ทำความสะอาด และคงความชุ่มชื้นให้กับหนังศีรษะ

วิธีการสกัดสารมีกี่แบบ

3. วิธีการสกัด :การสกัดสารสำคัญนั้นมีหลายวิธี เช่น วิธีการหมัก (marceration) วิธีการหมักแบบต่อเนื่อง (percolation) การสกัดแบบต่อเนื่องโดยใช้ความร้อน (soxhlet extraction) การสกัดของเหลวด้วยของเหลว (liquid-liquid extraction) การสกัดน้ำมันหอมระเหย (extraction of volatile oil) เป็นต้น ในการเลือกว่าจะ ใช้วิธีการใดนั้น ...

การสกัดสาระสำคัญออกจากสมุนไพรนิยมใช้วิธีใดมากที่สุด

การสกัดแบบแช่หมัก (maceration) วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุดโดยทาการเลือกตัวทา ละลายที่เหมาะสมกับสารในพืชสมุนไพรแล้วนาพืชสมุนไพรไปใส่ไว้ในภาชนะที่ปิดเช่น ขวดปากกว้าง ขวดรูปชมพู่หรือโถ ทาการเขย่าเป็นบางเวลา และแช่ไว้อย่างน้อย 7 วันจากนั้นนามากรองแล้วบีบ เอาสารสกัดออกมาจากกากสมุนไพรให้ได้มากที่สุดนาสารละลาย ...

สารสกัดสมุนไพรคืออะไร

สารสกัดสมุนไพร คือ การสกัดสารสำคัญในเนื้อ สมุนไพรด้วยตัวทําละลายชนิดต่างๆ การทำให้สมุนไพร อยู่ในรูปของสารสกัด ทำให้ได้ตัวยาที่บริสุทธิ์ สามารถ ควบคุมความแรงของยาได้ง่ายขึ้น ยังเป็นการลดการเสื่อม สภาพของตัวยา อันเนื่องมาจากการกระทำของเอนไซม์ที่ปน อยู่ในสมุนไพร อีกทั้งทำให้ตั้งตำรับยาเตรียมที่คงตัวง่ายขึ้น ได้ผลิตภัณฑ์ ...

สกัดสารทำยังไง

วิธีการสกัด (ดูคลิป) 1. ท าความสะอาดกรวยแยกที่ใช้ให้สะอาด ส าหรับที่ก๊อกปิดเปิด ให้ท าเช่นเดียวกับบิวเรตต์ 2. เทสารละลายที่จะสกัดลงในกรวยแยก ไม่ควรใส่สารละลาย มากเกินไป 3. เติมตัวท าละลายที่ใช้ในการสกัด แล้วปิดจุกให้แน่น 4. เขย่ากรวยแยกเบาๆ แล้วเปิดก๊อกเป็นครั้งคราวหลังจากหยุด เขย่าเพื่อลดแรงดันภายในกรวยแยก