เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญต่อการศึกษาอย่างไร

ประวัติศาสตร์สากลในความหมายทั่วไป หมายถึง ประวัติศาสตร์ของผู้คนและชาติต่าง ๆ ในโลกตะวันตก (Western World) ซึ่งได้แก่ ผู้คนและชาติในทวีปยุโรป และอเมริกา ประวัติศาสตร์สากลมีช่วงเวลาที่ยาวนาน ย้อนไปเป็นเวลาหลายพันปี เพื่อความสะดวกในการศึกษา นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งเป็นช่วงเลาที่มีลักษณะร่วมกัน เรียกเป็นสมัย คือสมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ สมัยปัจจุบัน หรือร่วมสมัย นักประวัติศาสตร์สากล ได้พัฒนาวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์มาเป็นเวลาประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว เพื่อให้การศึกษาประวัติศาสตร์มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ ทำให้เรารู้และเข้าใจ เรื่องราวทั้งหลายของผู้คนในอดีตได้ ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับการเข้าใจปัจจุบันและคาดการณ์แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างมีเหตุผล การนับและเทียบศักราชสากลและไทย

เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญต่อการศึกษาอย่างไร

1.การนับศักราชสากลที่นิยมใช้กันมากที่สุดในปัจจุบันคือ คริสต์ศักราช ซึ่งเป็นศักราชของคริสต์ศาสนา เริ่มนับเมื่อพระเยซู(ประสูติ) ซึ่งเป็นศาสนาของคริสต์ศาสนาประสูติ นับเป็นคริสต์ศักราช 1 (ค.ศ.1) หรือ A.D.1 ย่อมาจากคำว่า “Anno Domini” 2.การนับศักราชไทย ที่ใช้กันปัจจุบัน คือพุทธศักราช ซึ่งเป็นศักราชของพระพุทธศาสนา คือ พ.ศ.1 หลังจากที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานแล้ว 1 ปี คือ ปีแรกนับเป็นพ.ศ.๐ เมื่อครบ 1 ปี จึงเริ่มนับ พ.ศ.1 นอกจากนับศักราชเป็นแบบ พ.ศ. แล้ว ในเมืองไทยยังมีการนับศักราชแบบอื่น ๆ ด้วย คือ รัตนโกสินทร์ศก (ร.ศ.) จุลศักราช (จ.ศ.) มหาศักราช (ม.ศ.) มีเกณฑ์การเทียบดังนี้
ร.ศ. + ๒๓๒๔ = พ.ศ. พ.ศ. – ๒๓๒๔ = ร.ศ.
จ.ศ. + ๑๑๘๑ = พ.ศ. พ.ศ. – ๑๑๘๑ = จ.ศ.
ม.ศ. + ๖๒๑ = พ.ศ. พ.ศ. – ๖๒๑ = ม.ศ.

หลักเกณฑ์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์1. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล- แบ่งต่ามความเจริญทางอารยธรรมของมนุษย์- แบ่งตามการเริ่มต้นของเหตุการณ์สำคัญ- แบ่งตามชื่อจักรวรรดิ หรืออาณาจักรที่สำคัญที่เคยรุ่งเรือง- แบ่งตามราชวงศ์ที่ปกครองประเทศ- แบ่งตามการตั้งเมืองหลวง ตารางการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์
สมัยโบราณ สมัยกลาง สมัยใหม่ สมัยปัจจุบันหรือร่วมสมัย
ยุคหินเก่า มนุษย์ใช้เครื่องมือทำด้วยหินหยาบ ๆ อาศัยอยู่ในถ้ำ ล่าสัตว์ เริ่มประมาณ ๓,๕๐๐ ปีก่อน ค.ศ.เมื่อมนุษย์ประดิษฐ์อักษรถึง ค.ศ. ๔๗๖ เมื่อจักรวรรดิโรมันสิ้นสุด เพราะการรุกรานของพวกอนารยชนเยอรมัน เริ่ม ค.ศ. ๔๗๖ หลังสิ้นสุดจัรวรรดิโรมัน จนถึง ค.ศ.๑๔๙๒ เมื่อคริสโตเฟอร์ดโคลัมมบัส ค้นพบทวีปอเมริกา เริ่มจาก ค.ศ. ๑๔๙๒ เมื่อยุโรปขยายอำนาจและอิทธิพลไปยังส่วนต่าง ๆ ของโลก ทำให้มีผลต่อความเจริญของโลกมัยใหม่ จนถึง ค.ศ.๑๙๔๕ เมื่อสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ ๒ เริ่มจาก ค.ศ.๑๙๔๕ จนถึงเหตุการณ์และความเจริญปัจจุบัน มีผลต่อการดำเนินชีวิตของผู้คนในปัจจุบัน
ยุคหินใหม่ มนุษย์ใช้เครื่องมือหินที่มีการขูดแต่ง ตั้งถิ่นฐานเพราะปลูก เลี้ยงสัตว์
ยุคโลหะ มนุษย์ใช้เครื่องมือที่ทำด้วยโลหะ เช่น สำริด เหล็ก อยู่เป็นชุมชน

เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญต่อการศึกษาอย่างไร

2. การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยส่วนใหญ่ยึดถือหลักเกณฑ์ของประวัติศาสตร์สากล แบ่งเป็น สมัยก่อนประวัติศาสตร์ไทย และสมัยประวัติศาสตร์ไทย สมัยประวัติศาสตร์ไทยแบ่งตาม – สมัยโบราณหรือสมัยก่อนสุโขทัย ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๑๘๐ ถึง พ.ศ. ๑๗๙๒- สมัยสุโขทัย ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๗๙๒ ถึง ๒๐๐๖- สมัยอยุธยา ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๘๙๓ ถึง ๒๓๑๐- สมัยธนบุรี ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ ถึง ๒๓๒๕- สมัยรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕ ถึง ปัจจุบัน การเทียบยุคสมัยสำคัญระหว่างประวัติศาสตร์สากลกับไทย
ประวัติศาสตร์สากล ประวัติศาสตร์ไทย
สมัยโบราณ- อารยธรรมเมโสโปเตเมีย- อารยธรรมอียิปต์- อารยธรรมกรีก- อารยธรรมโรมันสิ้นสุดสมัยโบราณ เมื่อ ค.ศ. ๔๗๖(พ.ศ.๑๐๑๙) สมัยโบราณหรือสมัยก่อนสุโขทัย- อาณาจักรลังกาสุกะ- อาณาจักรทวารวดี- อาณาจักรโยนกเชียงแสน- อาณาจักรตามพรลิงค์
สมัยกลาง- จักรวรรดิโรมันตะวันออกสิ้นสุด ค.ศ.๑๔๕๓- การสร้างอาณาจักรคริสเตียน- การปกครองในระบบฟิวดัล- การฟื้นฟูเมืองและการค้า- การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ- การค้นพบทวีปอเมริกา สมัยสุโขทัยสมัยอยุธยา
สมัยใหม่- การสำรวจทางทะเล- การปฏิวัติวิทยาศาสตร์- การปฏิวัติอุตสาหกรรม- การปฏิวัติฝรั่งเศส- สงครามโลกครั้งที่ 1-2- สิ้นสุดสมัยใหม่ ค.ศ.1945 สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยปัจจุบัน- ร่วมสมัย – ปัจจุบัน – ยุคสงครามเย็น- ยุคเทคโนโลยีการสื่อสาร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (๒๔๘๙ – ปัจจุบัน)

เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญต่อการศึกษาอย่างไร

https://www.google.co.th/search?q=ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สากล&source=lnms&tbm=isch&sa=X&ei=rQI5U-fYDsSHrgfen4DwDA&ved=0CAYQ_AUoAQ&biw=1600&bih=754#img

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

Like this:

Like Loading...

กิจกรรมเริ่มต้นโดยผู้สอนนำเข้าสู่บทเรียน ด้วยการเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเกี่ยวกับระบบศักราชที่สำคัญ นำเสนอภาพตัวอย่างการใช้ศักราชในหลักฐานต่าง ๆ และร่วมกันอภิปรายในชั้นเรียน ซึ่งส่วนใหญ่นักเรียนจะมีความรู้พื้นฐานจากการเรียนเกี่ยวกับระบบศักราชมาจากชะเน ม.ต้น และตอนเรียนประวัติศาสตร์ไทย ชั้น ม.4 มาบ้างแล้ว ทำให้ครูสามารถสรุปประเด็นและไปต่อได้เร็วขึ้น

จากนั้นครูจึงอธิบายเพิ่มเติมเเพื่อสรุปประเด็นให้นักเรียนมีความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับระบบศักราช การคำนวณเวลา และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการทำกิจกรรมในขั้นต่อไป

จากนั้นจึงเริ่มทำกิจกรรม “เวลานั้น... สำคัญอย่างไร” โดยผู้สอนแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 6 กลุ่ม จากนั้นผู้สอนอธิบายกติกาในการทำกิจกรรม ดังนี้

  • ผู้สอนนำการ์ดข้อมูล 4 อย่างไปวางบนโต๊ะกองกลาง ได้แก่ 1) ปีคริสต์ศักราชที่ตรงกับเหตุการณ์ 2) ปีศักราชอื่น ๆ ที่ตรงกับเหตุการณ์ 3) เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ และ 4) ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • จากนั้นให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนกลุ่มออกมาหยิบเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่อยู่บนโต๊ะกองกลาง และให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์จากข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ โดยให้นักเรียนนำการ์ดที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ที่ตนได้รับไปเรียงไว้ที่โต๊ะของกลุ่มตนเอง กลุ่มใดที่สามารถสืบค้นและเรียงลำดับเหตุการณ์ได้จำนวนมากที่สุด จะเป็นผู้ชนะของกิจกรรมนี้

หลังจากนั้น ผู้สอนนำเสนอเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ในกิจกรรมที่เรียงปีที่เกิดเหตุการณ์ และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อย่างถูกต้อง และร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องของเหตุการณ์ที่แต่ละกลุ่มเรียง 

จากนั้นผู้สอนและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปกิจกรรมและบทเรียนโดยเน้นไปที่การอภิปรายเกี่ยวกับความสำคัญของเวลาและการใช้ศักราชในการศึกษาประวัติศาสตร์ ซึ่งในขั้นนี้ครูจะให้นักเรียนร่วมกันถอดบทเรียนจากกิจกรรม โดยพูดถึงปัญหาและอุปสรรคที่พบในกิจกรรม อะไรบ้างที่ทำให้การเรียงลำดับเหตุการณ์ใช้เวลานาน หรือมีความยุ่งยาก สิ่งนี้ส่งผลต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร และด้วยเหตุนี้ทำไมเราจึงต้องรู้และเข้าใจระบบศักราช การเทียบศักราชเพื่อการศึกษาประวัติศาสตร์

จุดเด่น

- กิจกรรมนี้ นักเรียนเริ่มอภิปรายแลกเปลี่ยนกับมากขึ้น โดยครูเน้นการใช้กระบวนการกลุ่มในการร่วมกันอภิปรายแบบกลุ่มย่อยและนำข้อสรุปมาเป็นของกลุ่ม ทำให้ได้ข้อคิดเก็น ประเด็นที่กว้าง และหลากหลายมากขึ้น

- นักเรียนได้มีโอกาสรู้จักกับเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ซึ่งจะเป็นเนื้อหาที่ต้องเจอในการเรียนบทต่อ ๆ ไป ซึ่งจะให้นักเรียนเห็นความเชื่อมโยงในภาพรวมของเหตุการณ์ต่าง ๆ เบื้องต้น

จุดควรพัฒนา

- ในขั้นของการดำเนินกิจกรรม เนื่องจากข้อมูลในการ์ดที่มีความหลากหลายมาก จึงทำให้บางห้องการเรียงข้อมูลมีความผิดพลาด ใช้เวลานานซึ่งทำให้เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ปีศักราช และยุคสมัยอาจเรียงผิดถูกไปบ้าง แต่ผู้สอนสามารถนำไปประเด็นสู่การอภิปรายเกี่ยวกับสภาพปัญหาแลความจำเป็นในการเทียบศักราชต่อไปได้

- ทักษะการคำนวณพื้นฐานของนักเรียนเป็นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินกิจกรรม และส่งผลต่อการควบคุมเวลาในชั้นเรียน ซึ่งผู้สอนควรกำหนดเวลาการทำกิจกรรมและแสดงว่าที่ชัดเจน จะทำให้นัเกรียนบริหารจัดการเวลาและวางแผนได้ดีขึ้น

เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญต่อการศึกษาในประวัติศาสตร์อย่างไร

ความส าคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึ้นมานานเท่าใด บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง เมื่อ เปรียบเทียบกับเหตุการณ์อื่นๆ บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องของเหตุการณ์ใน ประวัติศาสตร์ ท าให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ ในประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น

เวลาและช่วงเวลามีความสําคัญอย่างไร

ดังนั้น เวลาและช่วงเวลาจึงมีความสาคัญดังนี้ 1. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นหรือสิ้นสุดในเวลาใด ช่วงเวลาใด 2. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เกิดขึ้นมานานเท่าใดแล้วเมื่อนับถึงปัจจุบัน 3. บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่าง ๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อน หรือหลัง เมื่อเปรียบเทียบกับ เหตุการณ์อื่น ๆ

ความสําคัญของกาลเวลาคืออะไร

ความสำคัญของเวลาและช่วงเวลา เวลาเป็นสิ่งที่บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อน หรือหลังเมื่อเปรียบเทียบกับเหตุการณ์อื่นๆ เวลาเป็นสิ่งที่บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึ้นหรือสิ้นสุดในเวลาใด และช่วงเวลาใด เวลายังเป็นสิ่งที่มีค่าเพราะบอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์

พ.ศ.มีความสำคัญกับการนับช่วงเวลาอย่างไร

เป็นการนับเวลาทางศักราชในกลุ่มผู้นับถือพระพุทธศาสนา โดยเริ่มนับตั้งแต่ พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไปแล้ว 1 ปี ให้นับเป็นพุทธศักราชที่1 ทั้งนี้ประเทศ ไทยจะนิยมใช้การนับเวลาแบบนี้โดยเริ่มใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนมาเป็นที่แพร่หลายและระบุใช้กันอย่างเป็นทางการในสมัยพระบาท สมเด็จพระมงกฎ เกล้าเจ้าอยู่ ...