เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

ตลาดหุ้นมีกลไกการหยุดพักชั่วคราว หากตลาดมีความผันผวนสูงเกินกว่าเกณฑ์ที่กำหนด ซึ่งตลาดจะหยุดพักเป็นการชั่วคราว เพื่อให้อารมณ์ของตลาดและนักลงทุนผ่อนคลาย และลดความร้อนแรงลง รวมไปถึงเป็นการเอื้อให้นักลงทุนไปทบทวนข้อมูลต่าง ๆ ในการลงทุน ซึ่งกระบวนการนี้ คือ Circuit Breaker แล้ว Circuit Breaker คืออะไร ทำงานยังไง ไปดูกัน

Circuit Breaker คืออะไร ?

“Circuit Breaker” (เซอร์กิต เบรกเกอร์) หรือ การหยุดการซื้อขายเป็นการชั่วคราว เป็น การหยุดพักการซื้อขายของตลาดหุ้นเป็นเวลา 30 นาที และ 1 ชั่วโมง จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อตลาดหุ้นมีการปรับตัวลงมากผิดปกติ เพื่อให้นักลงทุนสามารถไปตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการวางแผนการลงทุนได้ทัน เพื่อลดความตื่นกลัวของ Panic Sell

ตลาดหุ้นไทย (SET) แบ่ง “Circuit Breaker” เป็น 2 ครั้ง

ครั้งที่ 1 จะเกิดขึ้นเมื่อ SET Index ปรับตัวลง 10% ภายใน 1 วัน ตลาดจะปิดทำการซื้อขายเป็นเวลา 30 นาที

ครั้งที่ 2 จะเกิดขึ้นเมื่อ SET Index ปรับตัวลง 20% ภายใน 1 วัน ตลาดจะปิดทำการซื้อขายเป็นเวลา 1 ชั่วโมง

และเมื่อเปิดการซื้อขายหลังจาก เซอร์กิต เบรกเกอร์ ครั้งที่ 2 จะไม่มีหยุดการซื้อขายอีกจนกว่าจะหมดวันหรือ 16.30 น. ของวันนั้น

ในอดีตตลาดหุ้นไทยเคยเกิด “Circuit Breaker” ทั้งหมด 5 ครั้ง

1. วันที่ 19 ธันวาคม 2549 เนื่องจากเกิดนโยบายกันเงินสำรองจากต่างชาติ 30% เพื่อป้องกันค่าเงินบาทที่แข็ง

2. วันที่ 10 ตุลาคม 2551 เป็นช่วงที่เกิดวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ (Subprime)

3. วันที่ 27 ตุลาคม 2551 ความกังวลต่อเนื่องจากวิกฤตแฮมเบอร์เกอร์ (Subprime)

และ 2 ครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อวันที่ 12 และ 13 มีนาคม 2563 ที่ผ่านมาเป็นผลกระทบจากความกังวลเรื่องการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทำให้เกิดผลกระทบกับเศรษฐกิจโลกอย่างมาก ทำให้ Supply Chain ทั่วโลกหยุดชะงัก

ซึ่งในอดีตตลาดหุ้นไทยเรายังไม่เคยถูกใช้ เซอร์กิต เบรกเกอร์ ครั้งที่ 2 คือ -20% ใน 1 วัน แต่รู้หรือไม่ว่าตลาดหุ้นไทยเรานั้นเพิ่งจะเคยเกิด เซอร์กิต เบรกเกอร์  ติดกัน 2 วันเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์เมื่อวันที่ 12 และ 13 มีนาคม 2563 นี้เอง

ทุกครั้งที่เกิด เซอร์กิต เบรคเกอร์ นอกจากจะเป็นสัญญาณเตือนให้ระวังการลงทุนมากขึ้น ในอีกแง่มุมหนึ่งก็เป็นสิ่งที่น่าสนใจสำหรับการลงทุนเช่นกัน เพราะแสดงให้เห็นว่าตลาดมีการปรับตัวลง เราก็จะมีโอกาสเก็บหุ้นที่ดีในราคาที่ถูกเช่นกัน

ดังนั้นช่วงนี้ควรทำการบ้าน ศึกษาหุ้นและหาหุ้นเข้า List ไว้ เมื่อถึงจุดราคาปรับตัวลงมาต่ำกว่ามูลค่าและมี Margin of Safety ก็ทยอยเข้าซื้อได้ตามแผนการลงทุนที่เราเตรียมไว้

เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) เป็นอุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าแบบไม่อัตโนมัติ ใช้สำหรับป้องกันความเสียหายของเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องจักร หรือป้องกันไฟรั่วไฟดูดจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจรหรือกระแสไฟฟ้าเกินพิกัด ลักษณะโครงสร้างของเบรกเกอร์จะเป็นรูปทรงสีเหลี่ยมต่างๆ มีสวิตซ์ปัดขึ้น-ลง และมีช่องไว้สำหรับพ่วงต่อสายไฟ ผลิตด้วยพลาสติกที่มีคุณสมบัติทนความร้อนได้สูง และมีอายุการใช้งานที่ยาวนาน ปัจจุบันเบรกเกอร์จะมีให้เลือกใช้งานหลากหลายประเภททั้งเบรกเกอร์ขนาดเล็กที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า ไปจนถึงเบรกเกอร์ขนาดใหญที่ใช้สำหรับกระแสไฟฟ้าแรงสูงที่จ่ายไฟให้กับเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ ซึงแต่ละประเภทก็จะมีพิกัดแรงดันไฟฟ้าและคุณสมบัติการทำงานที่แตกต่างกัน ดังนั้นผู้ซื้อจึงควรเลือกใช้รุ่นที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ทั้งนี้ก็เพื่อประสิทธิภาพในการทำงานและความปลอดภัยของผู้ใช้งาน

เลือกอ่านหัวข้อเบรกเกอร์ที่สนใจ

เบรกเกอร์จากแบรนด์แนะนำ

เบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าต่ำ (Circuit Breakers - Low Capacity)

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง4 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง5 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง1 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

เบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง (Circuit Breakers - High Capacity)

เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

เบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง (Circuit Breaker - High Capacity) เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับควบคุมวงจรไฟฟ้าที่มีขนาดใหญ่ ที่มีแรงดันไฟฟ้า
สูงหลายกิโลโวลต์ ใช้สำหรับป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อทรัพย์และชีวิต จากสาเหตุกระแสไฟฟ้ารั่วหรือกระแสไฟฟ้าลัดวงจร
มีลักษณะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ มีสวิตซ์ปัดขึ้น-ลง และช่องต่อสายไฟ มีหลายขนาดหลายรูปทรงให้เลือกใช้ตามพิกัดแรงดัน
ไฟฟ้าที่ต้องการ หลักการทำงานของเบรกเกอร์แรงดันไฟฟ้าสูง เมื่อเกิดความผิดปกติจะมีความร้อนจากพลังงานไฟฟ้าไหลผ่านวงจร
แม่เหล็ก หรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่อยู่ภายในเบรกเกอร์ทำงาน ส่งผลให้ตัดการจ่ายกระแสไฟฟ้าทันที หลังจากติดตั้งเสร็จเรียบร้อย
ผู้ใช้สามารถเปิดใช้งานได้ตามปกติ โดยส่วนใหญ่นำไปติดตั้งเข้ากับตู้ควบคุมโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ หรืออาคารขนาดใหญ่ เป็นต้น

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง4 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง8 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง9 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง9 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

อุปกรณ์เบรกเกอร์ (Circuit Breakers Other)

เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

อุปกรณ์เบรกเกอร์ มีลักษณะเป็นฐานรองรูปทรงสีเหลี่ยมขนาดต่างๆ ด้านบนมีส่วนที่ยื่นออกมาใช้สำหรับยึดขั้วต่อสายไฟ โดยใช้สกรูและ
น็อตยึดเข้าด้วยกัน ผลิตจากวัสดุพลาสติกที่มีคุณสมบัติทนความร้อนได้สูง แข็งแรงทนทาน สามารถนำมาใช้ติดตั้งกับตู้คอนซูเมอร์ยูนิท
หรือติดตั้งแบบลูกย่อยในจุดที่เสี่ยงต่ออันตราย เพื่อป้องกันไฟช็อต ไฟเกิน ไฟดูดหรือไฟรั่วได้

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง7 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง10 วัน หรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่งภายในวันเดียวหรือมากกว่า

  • เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

    ระยะเวลาจัดส่ง2 วัน หรือมากกว่า

รายละเอียดเบรกเกอร์

อุปกรณ์เคสแบบปั๊มขึ้นรูปที่ใช้สำหรับตัดวงจร ซึ่งทำหน้าที่ป้องกันสายไฟจากกระแสไฟฟ้าไหลเกิน หรือการลัดวงจรที่เกิดขึ้นภายในวงจรไฟฟ้า

เซอร์กิตเบรกเกอร์ดีอย่างไร

กระแสไฟฟ้าไหลเกินคืออะไร?

กระแสไฟฟ้าไหลเกิน หมายถึง สถานการณ์ที่มีกระแสไฟฟ้าที่มีกำลังสูงกว่าค่าที่สายไฟและอุปกรณ์จะรับได้ ซึ่งมักเกิดขึ้นเมื่อใช้ปลั๊กพ่วง

การลัดวงจรคืออะไร?

การลัดวงจร หมายถึง สถานการณ์ที่มีกระแสไฟฟ้าไหลโดยตรงจากสายไฟหนึ่งไปยังสายไฟอีกเส้นหนึ่งโดยไม่ผ่านโหลด เนื่องจากการเสื่อมสภาพของฉนวนหุ้มสายไฟ จึงทำให้มีกระแสไฟปริมาณมากไหลออกมาทันที

ความแตกต่างระหว่างอุปกรณ์ตัดไฟและสวิตช์ไฟ

อุปกรณ์ตัดไฟจะตัดวงจรไฟฟ้า เพื่อป้องกันสายไฟ (วงจรโหลด) ซึ่งสวิตช์ไฟจะทำหน้าที่เปลี่ยนวงจรไฟฟ้า (เปิด/ปิด)

อุปกรณ์ตัดไฟเมื่อเกิดกระแสไฟรั่ว : ตรวจจับกระแสไฟรั่วที่สายไฟ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในอาคารอย่างรวดเร็ว และทำการตัดไฟโดยอัตโนมัติ

อุปกรณ์ตัดไฟอัตโนมัติ : ใช้ติดตั้งกับวงจรย่อยแต่ละวงจรที่ทำหน้าที่จ่ายกระแสไฟฟ้าจากตู้ไฟฟ้าไปยังห้องต่างๆ

เซอร์กิตเบรกเกอร์ใช้งานที่ใด

เซอร์กิตเบรกเกอร์หรือเบรกเกอร์ คือ สวิตช์ไฟฟ้าอัตโนมัติที่ออกแบบมาเพื่อป้องกันวงจรไฟฟ้าจากความเสียหายที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าส่วนเกิน โดยทั่วไปเกิดจากโหลดเกินหรือไฟฟ้าลัดวงจร การทำงานของมันคือตัดกระแสไฟฟ้าหลังจากตรวจพบความผิดปกติในวงจรไฟฟ้า

Circuit Breaker มีประโยชน์และความสำคัญอย่างไร

เบรกเกอร์ (Circuit Breaker) เป็นอุปกรณ์ตัดวงจรไฟฟ้าแบบไม่อัตโนมัติ ใช้สำหรับป้องกันความเสียหายของเครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องจักร หรือป้องกันไฟรั่วไฟดูดจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจรหรือกระแสไฟฟ้าเกินพิกัด ลักษณะโครงสร้างของเบรกเกอร์จะเป็นรูปทรงสีเหลี่ยมต่างๆ มีสวิตซ์ปัดขึ้น-ลง และมีช่องไว้สำหรับพ่วงต่อสายไฟ ผลิตด้วยพลาสติกที่มี ...

เซอร์กิตเบรกเกอร์ชนิดใด เหมาะสำหรับการป้องกันกระแสไฟฟ้าเกิน

ดังนั้น MCCB หรือ Molded Case Circuit Breaker ก็คือเซอร์กิตเบรกเกอร์แบบหนึ่งที่่นิยมใช้ในงานที่มีแรงดันไม่เกิน 1,000 โวลต์ ใช้เปิดปิดวงจรเมื่อกระแสเกินจากโหลดเกินหรือลัดวงจร นิยมใช้ในตู้ไฟฟ้า Local panel ในโรงงาน

เซอร์กิตเบรกเกอร์แบ่งออกได้กี่ชนิดอะไรบ้าง

เบอรกเกอร์จะถูกแบ่งออกเป็นแต่ละประเภทตามพิกัดแรงดันไฟฟ้า จะแบ่งได้ 3 ประเภท ได้แก่ Low Voltage, Medium Voltage และ High Voltage เบรกเกอร์ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้ กันในบ้านพักอาศัยคือ Low Voltage ได้แก่พวก MCB, MCCB และ ACB เบรกเกอร์เหล่านี้ จะมีลักษณะที่แตกต่างกันตามการออกแบบ ทั้งขนาด รูปร่างที่ถูกออกแบบมา