นักเรียนมีวิธีการเตรียมความพร้อมเพื่อลดผลกระทบจากสึนามนามิได้อย่างไร

�Ըա���Ѻ��͡Ѻ�ֹ����͹Ҥ�

��ا෾��áԨ �շ�� 18 ��Ѻ 5950 �ѹ����ʺ�շ�� 6 ���Ҥ� 2548 ˹�� 12

��.���� ��⪤���<1> ()
��иҹ������� ��ŹԸԻ����Թ��ҷ�Ѿ���Թ��觻������ <2>

        ������ͧ���� (Hilo) ������������� �դӡ������� ��ֹ�������ǹ˹�觢ͧ���Ե�ͧ��� 㹡���ҧἹ���ͧ���� ��Ҩ��繵�ͧ���˹ѡ����ѹ�ѧ�����ա����Ҩ�˭���ҷ�������ҡ�͹ <3> ���������繺���dz����Դ�ֹ��Ժ��·���ش��š��ͻ���˹ ��ͧ����������ط��Թ��� �Ҩ�Դ������»�˹ (��ѧ����信�ҡе�� � Kratatau ���Դ����ͻ� 2426) <4>

        ����Ѱ����ԡ���ͧ��èѴ����˵ةء�Թ����Ѱ (Federal Emergency Management Agency) ��Ӥ�������͹��«ֹ��� �������ҹ��ʹ��ҡ�֧��͹حҵ��ػ�������ҹ���ͨ��������� ��âҴ�����������������Ҥ���֧����餹���件֧ 140,000 �� (��� 5,200 ��) ��觹Ѻ�繵鹷ع����٧�ҡ

��͹�Դ�ֹ��Է����ҧ��
        ��ҵ�ͧ�����Һ�ҹ�ͧ����٧�����дѺ��ӷ���������� ���ʹ�鹨ҡ�ֹ���������� (����ҹ����Ҥ������ʹ�����ͧ���ѹ���) ����ѧ��ͧ�Ӥ�������¡Ѻ�ѭ�ҳ��͹��«ֹ�������Ͷ֧���Ҩ���������Ѻ��ͷѹ��������������Ҫԡ㹤�ͺ�������ѡ�����������ҧ����§�� ����ѧ��ͧἹ;¾�������Ҷ���Դ�����Ҥ��˹�价��� ��鹷ҧ�˹�� ��������Դ��� �Դ俿�����������ػ�ó��ҧ � ����� �� ����� 俩�� �ͧ��� �Թʴ ���) ��������Ἱ�ء�Թ㹡�õԴ�������֧������¡�õԴ��� (���ѧࡵ����Ңͧ����ѭ�ҳ��Ͷ�����᷺���)

�����ҧ�Դ�ֹ���
        �Ѻ�ѧ������èҡ�Է�� �÷�ȹ� ���������� �����Է�ط�����ҹ (俿�������Ͷ���Ҩ���������) ������� � ���͡���ҧἹ;¾ ������������ҧ�ҡ����Ҵ����ҡ����ش��С�Ѻ��ҷ��ѡ�����������Ѻ����駨ҡ���˹�ҷ����һ�ʹ��� (����ҹ�����˹�ҷ���¡��ѧ�������������) ��駹�����Ыֹ����繡���ʤ��蹷��������١���� �١��� � ���Ҩ�ع�ç�����١�á �����١������ҧ�ѹ 10-45 �ҷ�

��ѧ�Դ�ֹ���
        �ѧ���Դ�������������ҧ������ͧ���ͷ�Һ�Ƿҧ��ԺѵԷ��������� ��������ͼ����ʺ��� ��о�����������ҧ�ҡ�Ҥ�÷��١��з������Ҩ�ѧŧ�����ա ��觡��ҹ�鹷ҧͧ���� �ѧ��͹���ҧ�����´�ա����� ���ҡ�Ѻ��Һ�ҹ��ͧ���Ѵ���ѧ (���;ѧŧ��) �����Դ����ͧ��俿�Ҩ����ҷҧ��è��� �Դ˹�ҵ�ҧ ��е�������������� �ѡ�Ź����ѧ��¡�͡��͹��� ��е�Ǩ�����������ѧ�������ҡ������§���й�ӻ�л��ѧ����ö�����������

��觷������������������ǡѺ�ֹ���
        ��觡�����ҧ����٧����Թ15 ���èҡ�дѺ��ӷ�����е�����躹����Һ����Шҡ����Ҵ 1.5 �����������͡�ʨж١���蹫ֹ��ԫѴ�� �Ҥ�÷����Ҿ���ҹ��ŧ���ǼԴ���� (����ҳ 500 ���èҡ��觷�辺�������) ����ҡ�âͧ���蹫ֹ��� ����¨ҡ���蹫ֹ����ѡ�Դ�ҡ��è���� 㹡�ú�ԨҤ��觢ͧ �е�ͧ�ա�������Ἱ���ᨡ���� (��������Դ����Թ��ǹ����͹���վ�) ���������Ѥá����¤���Ҩҡ˹��§ҹ��������Ͷ��������Ѻ��ý֡���Ҵ� (������� ��ٴ��Ѿ�� �ҡȾ������蹷���繢���)

�Ӥѭ����ش��ͪ����
        �����������Ѻ����֡�����ҧ������ͧ�֧�ֹ��� ����¡Ѻ㹭���蹷���ա�����������ҹѺ�Ժ�ա�͹�Դ�蹴Թ��Ǥ����˭���ົ� 2538 ��Ǻ�ҹ������Ѻ�����������ա�ý֡�������������� � ����������ᵡ�������ѧ������ö��������ͼ����� �� �ѡ��ͧ���������� ����͡������ü�ҹ������Ū�ᢹ���ҧ � ���ҧ������ͧ����������֡�ҹ���������ú�ǹ����ҡ�ȡ��ŧ�ع�ҧ��áԨ��С�Ѻ�繡�����ҧ�����������Ѻ��áԨ��йѡ��ͧ������ҡ���� ����������¢ͧ����Ť�� 40,000 ��ҹ�ҷ������ҡѺ�մվ� 0.3% <5> �������§����Ţ���ͧ�� ���������·ҧ�����ѧ��ͧ�����Թ��������´���ҹ���ա

      ���������ҫֹ�������§������ҧ˹�� �ѧ����·��������������Ф�������������ա������¡�� �� ���͹�ѧ �蹴Թ��� ����� (��ӫҡ� ���ªԹ) ��͹�Ѵ (�����) 俻�� ��ӷ��� ���� �蹴Թ���� (��ӡ��/��зٹ � ��ҹ�����������ԡ�����͡�����ѧ) ��������� ��ʹ����á�͡������ ��͹حҵ �list� ������ͨ����պ��ͧ�ѹ᷹��������͡

�����˵�

 
<1> �ѧ�� ��������͡�ä���Ң���ѧ�������Ѿ�� ����֡����Ҥ��Թ���ͷ����������������Ҥ������÷�Ѿ���Թ��觻��������з���֡�ҹ�¡��Ҥ���áԨ��ҹ�Ѵ��� �͡�ҡ����ѧ�繼��᷹��Шӻ�����¢ͧ International Association of Assessing Officers (IAAO), Association of Real Estate Licensing Law Officials (AREALLO) ��� International Federation of Real Estate (FIABCI)
<2> ��ŹԸԻ����Թ��ҷ�Ѿ���Թ��觻������ �Ѵ��駢���������������������֡���Ԩ�������������������ЪҪ���ҹ��û����Թ��ҷ�Ѿ���Թ ��ѧ�������Ѿ�� ��þѲ�����ͧ��з��Թ ����ͧ�����Ҫԡ�ͧ FIABCI ���ʶҺѹ�����ҧ�������� �
<3> �Tsunamis are a way of life. Any planning for Hilo needs to consider that there will be another and it may be bigger" (Shepherd Bliss, the Future of Down Town Hilo. www.hawaiiislandjournal.com/stories2/11b04b.html).
<4> ����������´������Դ�ͧ����� ��ҡе�� ���� www.rit.ac.th/homepage-sc/charud/scibook/nature%20myth/index38.htm


ความรู้เกี่ยวกับคลื่นยักษ์ "สึนามิ"

สึนามิ (TSUNAMI)

สุวิทย์ โคสุวรรณ

ในภาษาญี่ปุ่นเรียก Tsunami ในภาษาจีนเรียก Haixiao
ในภาษาเกาหลีเรียก Haeil ในภาษาเยอรมันเรียก Flutwellen
ในภาษาฝรั่งเศสเรียก Raz de mare ในภาษาสเปนเรียก Maremoto

สึนามิ (Tsunami) เป็นคำที่ยอมรับกันทั่วโลกแล้วว่า เป็นคลื่นยักษ์ที่มีความยาวคลื่นเป็นหลัก 100 กิโลเมตรขึ้นไป ที่ก่อให้เกิดภัยพิบัติอย่างใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของมนุษย์ เป็นคำศัพท์ภาษาญี่ปุ่นหากแปลตรงตัวคำว่า TUS หมายถึง ท่าเรือ NAMI หมายถึง คลื่น สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการเคลื่อนตัวของพื้นทะเลในแนวดิ่งตรงรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก ซึ่งก่อให้มีแนวของรอยเลื่อนมีพลังอันเป็นแหล่งกำหนิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ คลื่นที่เกิดขึ้นมักมีลักษณะขนาดเล็ก ๆ ไม่สามารถตรวจวัดได้ขณะอยู่ในทะเลเปิด ต่อเมื่อเคลื่อนที่เข้าใกล้ชายฝั่งความสูงของคลื่นจะเพิ่มขึ้นหลายเท่าตามสภาพภูมิลักษณ์ของชายฝั่งนั้นๆ จนมีผลกระทบร้ายแรงโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะมีผลต่ออ่าวที่เว้าเป็นรูปตัววี (V) และเปิดไปสู่มหาสมุทรโดยตรง

สาเหตุการเกิดคลื่นสึนามิ

คลื่นสึนามิ มีสาเหตุการเกิดหลายประการ เช่น
1. การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลกตามแนวรอยเลื่อนที่ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวที่พื้นท้องทะเล
2. การระบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล
3. ดินถล่มที่พื้นท้องทะเล

4. การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล

 

คลื่นสึนามิในมหาสมุทรหรือทะเลตรงที่เกิดแผ่นดินไหวเป็นความพยายามที่จะกลับคืนสู่สมดุลย์ภายหลังจากการยกตัวอย่างฉับพลันของพื้นท้องหมาสมุทรนำมาซึ่งการยกตัวของมวลน้ำทะเลอย่างทันทีทันใด อนุภาคของน้ำจะกระเพื่อมขึ้นและลง เริ่มต้นเป็นศูนย์กลางของการแผ่กระจายคลื่นน้ำออกไปในทุกทิศทาง โดนอนุภาคของน้ำเคลื่อนที่เป็นวงรี และมีลักษณะยาวตามแนวนอน โดยมีความสูงของคลื่นไม่มากนักในทะเลลึกแต่มีค่าความเร็วสูง เมื่อคลื่นเข้าใกล้ฝั่งความเร็วของคลื่นจะถูกหน่วงให้ช้าลงอย่างฉับพลัน โดยที่แรงปะทะยังทรงพลังอยู่ จึงทำให้ยอดคลื่นถูกยกขึ้นสูงอย่างรวดเร็ว และสูงสุดที่ชายฝั่ง ดังนั้นผลกระทบจากคลื่นสึนามิบริเวณแหล่งกำเนิดในทะเลจึงแทบไม่ปรากฏ ส่วนบริเวณชายฝั่งตื้นย่อมก่อให้เกิดความเสียหายได้มากกับชีวิตและทรัพย์สินบริเวณชายฝั่งนั้น

ความเร็วในการเคลื่อนที่ของคลื่นสึนามิ แสดงด้วยสมการของ Langranges Law ที่ว่า ความเร็วคลื่นเป็นรากที่สองของผลคูณความลึกกับอัตราเร่งของความโน้มถ่วงของโลก เช่น ถ้าในทะเลอันดามัน มีความลึก 4,000 เมตร คำนวณความเร็วของคลื่นสึนามิได้ประมาณ 700 กม./ชม. (รูปที่ 1)

บริเวณแหล่งเกิดสึนามิ

ส่วนใหญ่สึนามิเกิดบริเวณเดียวกับย่านที่เกิดแผ่นดินไหวในทะเลหรือชายฝั่ง โดย 80 % ของ สึนามิที่เกิดทั้งหมดมักอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก
- เมื่อประมาณ 1,600 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดภูเขาไฟระเบิดที่เกาะอีเจียน เมืองทีรา ประเทศกรีซ ทำให้เกิดสึนามิในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน สันนิษฐานว่ามีคลื่นสึนามิที่กระทบชายฝั่งของอิสราเอลสูงประมาณ 6 เมตร
- พ.ศ. 2298 เกิดแผ่นดินไหวที่เมืองลิสบอน ประเทศโปรตุเกส เป็นผลให้เกิดสึนามิตามแนวชายฝั่งประเทศโปรตุเกส สเปน และโมร็อกโก มีผู้เสียชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวและสึนามิ 60,000 คน
- 15 มิถุนายน 2439 เกิดสึนามิที่เมืองเมจิ ซันริจู คลื่นสูง 30 เมตร มีผู้เสียชีวิต 27,000 คน บาดเจ็บ 9,316 ราย บ้านเรือนเสียหาย 10,600 หลัง
- 1 เมษายน 2489 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งของมลรัฐอาลาสกา ทำให้ประภาคารสกอตซ์เคป บนเกาะยูนิแมก สูง 13.5 เมตร พังทลาย ต่อมาประมาณ 5 ชั่วโมง คลื่นสึนามิแผ่ไปถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย ซึ่งมีลักษณะเป็นอ่าวขนาดใหญ่ และรับคลื่นสึนามิโดยตรง ทำให้มียอดคลื่นสูง 16 เมตร ก่อความเสียหายรุนแรง ไม่ว่าอาคารบ้านเรือน สะพาน รางรถไฟ ถนนเลียบชายหาด เสียหายยับเยิน คร่าชีวิตมนุษย์ประมาร 160 คน
- 23 พฤษภาคม 2503 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งประเทศชิลีขนาด 9.5 ริกเตอร์ (แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่บันทึกได้) ก่อให้เกิดสึนามิทั่วชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก คร่าชีวิตมนุษย์กว่า 1,000 คน คลื่นมีความเร็ว 710 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลาเดินทางจากประเทศชิลีถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย 14.9 ชั่วโมง ซึ่งอยู่ห่าง 10,600 กิโลเมตรได้รับผลกระทบรุนแรง ความร้ายกาจของสึนามิครั้งนี้ยังคร่าชีวิตชาวญี่ปุ่น 140 คน ทั้งที่ประเทศญี่ปุ่นอยู่ห่างถึง 17,000 กิโลเมตร ซึ่งมียอดคลื่นสูงถึง 7 เมตร ใช้เวลาเดินทาง 24 ชั่วโมง
- 27 มีนาคม 2507 เกิดสึนามิจากแผ่นดินไหวขนาด 9.2 ริกเตอร์ ในร่องลึกชันอะลูเชียน ใกล้ชายฝั่งมลรัฐอาลาสกา ทำให้บริเวณอ่าววาลดีสมียอดคลื่นสูง 30 เมตร และที่ชายฝั่งมลรัฐฮาวายมียอดคลื่นสูง 5 เมตร
- 2 กันยายน 2535 เกิดสึนามิที่ประเทศนิการากัว มียอดคลื่นสูง 10 เมตร คนเสียชีวิต 170 คน บาดเจ็บ 500 คน ประชากรไร้ที่อยู่อาศัย 13,000 ครอบครัว
- 13 กรกฎาคม 2536 เกิดคลื่นสึนามิเข้าทำลายชายฝั่งเมืองโอะกุชิริ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่นอย่างรุนแรง
- 17 กรกฎาคม 2541 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ใกล้ชายฝั่งด้านตะวันออกของเมืองซาวน์ดาวน์ เกาะปาปัวนิวกีนี ส่งผลให้มีดินถล่มใต้ทะเล และสึนามิตามมาเป็นชุดขนาดใหญ่อย่างน้อย 3 ชุด มีผู้เสียชีวิต 2,200 คน บาดเจ็บ 473 คน บริเวณชายฝั่งเสียหายมาก ตามรายงานของ Earthquake Engineering Research Institue (January, 1999) รายงานว่าแผ่นดินไหวเกิดเวลา 18.49 น. ตามเวลาท้องถิ่น มีผู้บาดเจ็บถูกทยอยส่งเข้าโรงพยาบาลเมืองไอทาเป เวลา 20.00 น. แต่ไม่สามารถช่วยอะไรได้เพราะโรงพยาบาลปิดตั้งแต่เวลา 16.00 น.

บริเวณแหล่งเกิดสึนามิ

สำหรับสึนามิที่เคยเกิดในย่านมหาสมุทรอินเดียพอที่จะรวบรวมได้ดังนี้
- เมื่อ 326 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดแผ่นดินไหวใกล้สามเหลี่ยมปากแม่น้ำสินธุ ประเทศอินเดีย ส่งผลให้เกิดสึนามิ เข้าโจมตีกองเรือรบของกษัตริย์อเลกซานเดอมหาราช ขณะเดินทางกลับประเทศกรีก (Lietzin, 1974)
- พ.ศ. 2067 เกิดสึนามิใกล้เมืองดาพอล รัฐมหาราชต์ ประเทศอินเดีย
- พ.ศ. 2305 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งอารากัน สหภาพพม่า ส่งผลให้เกิดสึนามิ ทำความเสียหายกับบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวเบงกอล
- พ.ศ. 2340 เกิดแผ่นดินไหวในทะเลทางทิศตะวันตกของตอนกลางเกาะสุมาตรา ด้วยขนาด 8.4 ริกเตอร์ ทำให้เกิดสึนามิ เข้าชายฝั่งเมืองปาดัง ประเทศอินโดนีเซีย มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 300 คน
- พ.ศ. 2376 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.7 ริกเตอร์ นอกชายฝั่งตะวันตกด้านทิศใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่ทำความเสียหายให้แก่บริเวณดังกล่าว และมีผู้เสียชีวิตมากมาย
- พ.ศ. 2386 มีคลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนตัวเข้าสู่หมู่เกาะ Nias มีรายงานการสูญเสียชีวิตจำนวนมาก
- พ.ศ. 2424 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ริกเตอร์ ที่หมู่เกาะอันดามัน ส่งผลให้เกิดสึนามิมีคลื่นสูง 1 เมตร เข้ากระแทกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินเดีย
- 27 สิงหาคม 2426 เวลาเช้าตรูภูเขาไฟกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซียเกิดระเบิดต่อเนื่องกัน 3 ครั้ง เป็นผลให้ปากปล่องภูเขาไฟทะลายลงทะเลส่งผลให้เกิดสึนามิทั่วมหาสมุทรอินเดีย ที่เกาะชวา และเกาะสุมาตรามีความสูงของคลื่นสึนามิ 15 - 42 เมตร ทำให้มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 36,000 คน
- 26 มิถุนายน 2484 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ริกเตอร์ ที่ระหว่างหมู่เกาะนิโคบาร์-อันดามัน แรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้ถึงแนวชายฝั่งของประเทศอินเดีย และศรีลังกา ทำให้เกิดสึนามิตามมา มีการบันทึกว่ามีความสูงของคลื่น 1 เมตร และเชื่อว่ามีผู้เสียชีวิตในครั้งนี้ไม่น้อยกว่า 5,000 คน
- 27 พฤศจิกายน 2488 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางบริเวณชายฝั่งทะเลเมืองมิกราน ทางทิศใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร ของเมืองหลวง ประเทศปากีสถาน เป็นผลให้เกิดสึนามิทำความเสียหายให้แก่ชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย

ตารางที่ 1 ระดับความรุนแรงของสึนามิในประเทศญี่ปุ่น (Tida, 1963)

ระดับความรุนแรงสึนามิ

ความสูงของคลื่นที่ชายฝั่ง (เมตร)

พลังงานสึนามิ (x 1023 Ergs)

5.0

> 32

25.6

4.5

24 - 32

12.8

4.0

16 - 24

6.4

3.5

12 - 16

3.2

3.0

8 - 12

1.6

2.5

6 - 8

0.8

2.0

4 - 6

0.4

1.5

3 - 4

0.2

1.0

2 - 3

0.1

0.5

1.5 - 2

0.05

0.0

1 - 1.5

0.025

-0.5

0.75 - 1

0.0125

-1.0

0.50 - 0.75

0.006

-1.5

0.30 - 0.50

0.003

-2.0

< 0.30

0.0015

หมายเหตุ ลูกระเบิด TNT หนัก 1 ออนซ์ เมื่อระเบิดใต้ดินมีพลังงานประมาณ 640 x 106 Ergs

เหตุการณ์แผ่นดินไหวและสึนามิ 26 ธันวาคม 2547

เหตุการณ์แผ่นดินไหวเมื่อเวลา 07:58:53 น. เวลาท้องถิ่นของวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ตามรายงานของกรมธรณีวิทยาของสหรัฐอเมริกา (USGS) มีขนาด 9.0 ริกเตอร์ (Moment Magnitude) ที่ระดับความลึกจากพื้นท้องทะเล 28.6 กิโลเมตร มีศูนย์กลางในทะเลนอกชายฝั่งด้านทิศตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งส่งพลังงานมหาศาลเทียบเท่าระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมา 23,000 ลูก ก่อให้เกิดการสั่นไหวที่รุนแรงของแผ่นดิน และเกิดสึนามิตามมาในมหาสมุทรอินเดีย โดยเข้าถล่มชายฝั่งประเทศต่างๆ ที่อยู่โดยรอบ ได้แก่ประเทศอินโดนีเซีย ศรีลังกา อินเดีย ไทย โซมาเลีย มัลดีฟส์ พม่า แทนซาเนีย บังคลาเทศ และเคนยา มีผู้เสียชีวิตมากกว่า 230,000 คน และสูญหายอีกหลายหมื่นคน เฉพาะในเมืองบันดาอาเจะห์ ของประเทศอินโดนีเซียมีผู้เสียชีวิตมากกว่า 150,000 คน สำหรับประเทศไทยมี 6 จังหวัดในฝั่งทะเลอันดามันที่ได้รับผลกระทบ คือ จังหวัดระนอง พังงา กระบี่ ภูเก็ต ตรัง และสตูล มีผู้เสียชีวิตทั้งคนไทย และต่างชาติมากกว่า 5,395 คน และสูญหายมากกว่า 2,000 คน บาดเจ็บประมาณ 8,000 คน ส่วนอาคารบ้านเรือน โรงแรมที่พักเสียหายอย่างยับเยิน และพื้นที่ชายฝั่งทะเลไทยได้รับผลกระทบมากกว่า 475,000 ไร่
ลำดับเหตุการณ์ของสึนามิที่มีผลกระทบกับประเทศไทยในวันที่ 26 ธันวาคม 2547 โดยมียอดคลื่นสูงสุด10 เมตร พัดเข้าสู่ชายฝั่งทะเลอันดามัน ซึ่งสามารถลำดับเหตุการณ์ได้ดังนี้
เวลา 09.35 น. น้ำทะเลแห้งจากบริเวณชายหาดโดยถดถอยลงเป็นระยะทาง 100 เมตร เป็น เวลา 5 นาที
เวลา 09.38 น. คลื่นสูงประมาณ 2-3 เมตร เข้ากระทบฝั่ง
เวลา 09.43 น. คลื่นสูง 6-7 เมตร เข้ากระทบฝั่ง
เวลา 10.03 น. คลื่นสูงเกินกว่า 10 เมตร เข้ากระทบฝั่งเป็นเวลา 20 นาที
เวลา 10.20 น. คลื่นสูง 5 เมตร เข้ากระทบฝั่ง ทำให้เกิดน้ำท่วมอยู่ประมาณ 1 ชั่วโมง และ
น้ำทะเลกลับสู่ระดับปกติเวลาประมาณ 12.00 น.
แผ่นดินไหวครั้งนี้เกิดจากการเคลื่อนที่ของมวลหินเป็นแนวยาวประมาณ 1,200 กิโลเมตร ขนานกับแนวร่องลึกซุนดา อันเป็นแนวมุดตัวของแผ่นเปลือกโลกอินเดียเข้าใต้แผ่นเปลือกโลกย่อยพม่า (เป็นส่วนหนึ่งของแผ่นเปลือกโลกยูเรเซีย) ด้วยมุมเอียงจากแนวราบ 10 องศาในอัตราปีละ 6 เซนติเมตร จากรายงานของ USGS พบว่าแผ่นดินไหวครั้งนี้มวลหินที่เคลื่อนที่ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 100 x 400 ตารางกิโลเมตร และมีการยกตัวในแนวดิ่งเฉลี่ย 10 เมตร ส่งผลให้มวลน้ำทะเลถูกยกขึ้นเป็นบริเวณกว้าง และกระจายออกเป็นคลื่นสึนามิ ต่อมานักธรณีวิทยาของมหาวิทยาลัย Northwestern สหรัฐอเมริกา ได้วิเคราะห์ขนาดแผ่นดินไหวของเหตุการณ์ครั้งนี้ใหม่พบว่ามีขนาด 9.3 ริกเตอร์ (Moment Magnitude) เนื่องจากพลังงานที่ถูกปลดปล่อยออกมาทำลายพื้นที่มากมายขนาดนี้ เกิดมาจากการเคลื่อนที่ของมวลหินครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 400 x1,200 ตารางกิโลเมตร ซึ่งตรวจสอบได้จากตำแหน่งของแผ่นดินไหวระลอกหลังที่เกิดขึ้นตามมาตั้งแต่หัวเกาะสุมาตรา ผ่านหมู่เกาะนิโคบาร์ จนถึงหมู่เกาะอันดามัน (รูปที่ 2) และจากข้อมูลพื้นที่เสียหายอย่างรุนแรงในประเทศศรีลังกา และอินเดียบ่งชี้ว่าเป็นบริเวณที่เปิดรับคลื่นสึนามิเข้ามาโดยตรง ซึ่งมักเป็นแนวตั้งฉากกับแนวการเคลื่อนตัวของมวลหิน หรือด้านยาวของรอยเลื่อนในบริเวณหมู่เกาะอันดามัน

สำนักข่าว BBC ของประเทศอังกฤษ รายงานข่าวผลการสำรวจเบื้องต้นของพื้นท้องทะเลนอกชายฝั่งทิศตะวันตกของเกาะสุมาตราด้วยคลื่นโซนาร์ ของสถาบัน SouthThumtum Oceanic Center ด้วยความร่วมมือของกองทัพเรือ ประเทศอังกฤษ พบว่าบริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหวของเหตุการณ์วันที่ 26 ธันวาคม 2547 นั้นเกิดมีดินถล่มของภูเขาใต้ทะเลหลายตำแหน่ง บางตำแหน่งดินถล่มมีขนาดความยาว 2 กิโลเมตร และความสูง 100 เมตร (รูปที่ 3) ซึ่งสรุปได้ว่าเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยสึนามิครั้งรุนแรงนี้ นอกจากเกิดมาจากแผ่นดินไหวขนาด 9.3 ริกเตอร์แล้วยังมีสาเหตุของดินถล่มใต้ทะเลเกิดร่วมด้วย

 

นักเรียนมีแนวทางป้องกันและระวังภัยจากคลื่นสึนามิอย่างไรบ้าง

ติดตามข้อมูลทางวิทยุ โทรทัศน์ ถ้ามีประกาศเกิดสึนามิให้อพยพทันที ให้หนีห่างจากชายฝั่งให้ไกลที่สุด ไปยังพื้นที่สูงที่คาดว่าปลอดภัย ให้ช่วยเหลือ เด็ก คนชรา คนพิการ ผู้ที่อ่อนแอกว่า พาหนีภัยด้วย ควรหนีภัยด้วยการเดินเท้าเพื่อหลีกเลี่ยงกาตจราจรติดขัด จะกลับสู่ที่พักอาศัยก็ต่อเมื่อมีประกาศจากทางราชการเท่านั้นว่าปลอดภัย

นักเรียนมีวิธีการสังเกตและป้องกันตนเองให้ปลอดภัยจากภัยพิบัติธรรมชาติสึนามิได้อย่างไร

1. ติดตามข่าวสารอย่างใกล้ชิด และปฏิบัติตามคำแนะนำ 2. สับคัตเอาท์ไฟก่อนออกจากบ้าน แล้วรีบอพยพขึ้นที่สูง โดยหลีกเลี่ยงแนวธารน้ำ ช่องระบายน้ำ 3. สวมเชื้อชูชีพเสมอ ห้าม เดินฝ่ากระแสน้ำ และใช้ไม้ปักดินคลำทางเพื่อสังเกตุว่าดินตื้นลึกแค่ไหน 4. ห้าม ขับรถฝ่ากระแสน้ำท่วมและถ้าหากน้ำขึ้นสูงรอบๆรถ ให้รีบออกจากรถ

นักเรียนมีวิธีการเอาตัวรอดจากเหตุการณ์สึนามิอย่างไร

หลังเกิด สึนามิ ควรปฏิบัติอย่างไร ติดตามฟังประกาศจากภาครัฐ อยู่ห่างจากอาคารที่ได้รับความเสียหาย หาที่พักพิงที่แข็งแรงชั่วคราว.
หากรู้สึกแผ่นดินสะเทือนให้รีบออกจากชายฝั่งเร็วที่สุด.
หากหนีไม่ทันให้ปีนขึ้นต้นไม้ที่สูงที่สุด.
หากกำลังจะจมน้ำให้หาสิ่งที่ลอยน้ำได้และเกาะไว้ให้แน่น.

ประชาชนควรมีวิธีการป้องกันและระวังภัยจากสึนามิอย่างไร

3) ควรมีการจัดวางผังเมืองให้เหมาะสม ชุมชนที่พักอาศัยบริเวณชายฝั่งควรก่อสร้างบ้านเรือนให้อยู่ห่างชายฝั่งในระยะที่ปลอดภัย กำหนดโครงสร้างอาคารที่เหมาะสมในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยจากคลื่นสึนามิ หรือกำหนดเขตพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เหมาะสมถูกต้อง