ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม

1.3 ประโยชน์ของการสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ        มีประโยชน์อย่างกว้างขวางมากมาย ซึ่งพอสรุปดังนี้        1) การใช้ทำแผนที่ภูมิประเทศ    เป็นงานเริ่มแรกและงานหลักในการถ่ายภาพทางอากาศ และนิยมใช้ทำแผนที่มากที่สุด โดยใช้ภาพถ่ายทางอากาศร่วมกับงานสำรวจภาคสนาม ทั้งการรังวัดค่าพิกัดทางราบและหรือทางดิ่งของจุดควบคุมภาพถ่าย เพื่อใช้ในการขยายจุดควบคุม ในงานสามเหลี่ยมทางอากาศ (Aerial triangulation)  กรมแผนที่ทหาร ใช้เป็นข้อมูลหลักในผลิตแผนที่ฐาน กรมชลประทาน ใช้ทำแผนที่ภูมิประเทศเพื่อก่อสร้างระบบชลประทาน การนำภาพถ่ายทางอากาศมาใช้ช่วยทำให้ลดภาระค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในงานสำรวจภาคสนามได้มาก เมื่อเปรียบเทียบกับงานสำรวจภาคพื้นดินด้วยกล้องธีโอโดไลด์ (Theodolite)  แต่เพียงอย่างเดียว
       2) ด้านวิศวกรรม เช่น การสร้างเขื่อน อ่างเก็บน้ำ เส้นทางคมนาคมต่าง ๆ การคำนวณปริมาณงานขุดและการถมดิน การประมาณราคาค่าก่อสร้าง และช่วยสร้างแบบจำลองเชิงพื้นที่เพื่อหารูปแบบการระบายน้ำ
       3) ด้านการรังวัดกรรมสิทธิ์ที่ดิน (Cadastral Survey) ภาพถ่ายทางอากาศช่วยสร้างแผนที่ถือครองได้ โดย พ.ศ. 2516-2521 กรมที่ดิน ใช้ภาพถ่ายปรับแก้ (Rectified photo) เพื่อการออกโฉนดที่ดิน นส.3 ก. ด้วยมาตราส่วน1:15,000 หรือเอกสารสิทธิ์ต่าง ๆ ทั่วประเทศ และ พ.ศ. 2538 ได้ผลิตภาพถ่ายมาตราส่วน 1:4,000 ในพื้นที่นอกเขตเทศบาล และมาตราส่วน 1:1,000 ในเขตเทศบาลและเขตเมือง เป็นต้น
       4) ด้านการวางผังเมือง กรมโยธาธิการและการผังเมือง นำไปใช้กำหนดขอบเขตการใช้ทประโยชน์ที่ดิน เช่น ย่านการค้า ย่านที่อยู่อาศัย ย่านอุตสาหกรรม การกำหนดโครงข่ายการคมนาคม ซึ่งเป็นประโยชน์ในการวางผังเมืองทั้งในปัจจุบันและอนาคต
       5) ด้านกิจการทหาร ในส่วนนี้หมายถึงการใช้ภาพถ่ายทางอากาศสืบราชการลับและงานด้านความมั่นคงของประเทศร่วมกับภาพถ่ายดาวเทียมและระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ในการวางแผนยุทธการและกำหนดยุทธศาสตร์ต่าง ๆ
       6) ด้านสิ่งแวดล้อม และการวางแผนจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทั้งนี้เพื่อการ ติดตามการเปลี่ยนแปลง และวางแผนอนุรักษ์เพื่อความเหมาะสม การสำรวจทรัพยากรธรรมชาติ การสำรวจการใช้ทรัพยากรที่ดิน
       7) ด้านการป่าไม้ กรมป่าไม้ นำภาพถ่ายทางอากาศเพื่อประโยชน์ในการป่าไม้ การหาปริมาตรไม้โดยอาศัยการเปรียบเทียบจากแปลงตัวอย่าง การเก็บสถิติต่าง ๆ เช่น ความสูงเฉลี่ยของแปลงตัวอย่าง หาเส้นผ่าศูนย์กลางของเรือนยอด การปกคลุมของเรือนยอด การหาพื้นที่ป่าไม้ ซึ่งสามารถวัดได้ง่าและรวดเร็วโดยใช้ภาพถ่ายดิ่งที่มีส่วนซ้อน เพื่อมองเห็นภาพทรวดทรงหรือภาพ 3 มิติ

�ѧ����ʵ�� �Ѱ��ʵ�� ������ͧ ���ɰ��ʵ�� >>

 �ѧ���֡��
(�Ѹ���֡�ҵ͹����)

ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
��Ҿ������ʵ�����Ҿ
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
�ѡɳл�ҡ���ó�ҧ�����ҵԷ���Ӥѭ��С�û�ͧ�ѹ�ѹ����
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
�Ը�������ͧ��ͷҧ������ʵ��
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
�ѭ�ҡ�÷���·�Ѿ�ҡø����ҵ��������Ǵ����
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
�Ƿҧ��û�ͧ�ѹ��䢻ѭ�ҡ�÷���·�Ѿ�ҡø����ҵ��������Ǵ���� �»�ЪҪ������ ͧ����Ҥ�Ѱ �Ҥ�͡��

�Ը�������ͧ��ͷҧ������ʵ��

�ٻ���·ҧ�ҡ������Ҿ�ҡ�������

�ٻ���·ҧ�ҡ������Ҿ�ҡ����������ٻ���͢����ŵ���Ţ�����ҡ���红����� �Ҥ��鹴Թ�ҡ���ͧ���Դ����Ѻ��˹� �� ����ͧ�Թ ���ʹ������ ���ա�úѹ�֡���������ҧ�����´������Һ�����ᵡ��ҧ�ѹ �֧���������Ҿ����ͧ������鹷����С������¹�ŧ��ҧ � �������ҡ�����鹼���š �� ����Դ�ط���� 俻�� �������¹�ŧ �������Թ ��á�����ҧʶҹ��� �繵�

����ª��ͧ�ٻ���·ҧ�ҡ������Ҿ�ҡ������� ��������ѹ�ҡ�����ٻ�����Ҿ���·����ҡ����з�͹�����ʧ�ͧ�ǧ�ҷԵ������������ͧ�ѹ�֡���Դ���躹����ͧ�Թ���ʹ������ ��úѹ�֡�������Ҩ�з��������� �� �ٻ���·ҧ�ҡ���բ�� � �� �����ٻ���·ҧ�ҡ���ո����ҵ� ��úѹ�֡�����Ũҡ������������ѭ�ҳ�繵���Ţ���Ǩ֧�ŧ��ҵ���Ţ���Ҿ�ҡ������������ѧ

ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม
ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม

การใช้ภาพถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม

ภาพถ่ายทางอากาศ คือ

รูปที่ได้จากการถ่ายทางอากาศ โดยผ่านเลนส์กล้องและฟิล์ม หรือข้อมูลเชิงเลข ซึ่งถ่ายด้วยกล้องที่นำไปติดใต้อากาศยาน อันได้แก่ บอลลูน เครื่องบิน เป็นต้น

        ภาพถ่ายทางอากาศแบ่งได้เป็น 2 ชนิด

        1. ภาพถ่ายแนวดิ่ง หมายถึง ภาพถ่ายที่แกนของกล้องถ่ายภาพถ่ายทางอากาศตั้งฉากพื้นผิวโลก มักมีสัดส่วนคงที่ ใช้ในการรังวัดทำแผนที่ภูมิประเทศ และแปลความหมายข้อมูลภูมิศาสตร์ที่ปรากฏอยู่ในภาพ

ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม

        2. ภาพถ่ายเฉียง หมายถึง ภาพถ่ายทางอากาศที่แกนกล้องเฉียงไปจากพื้นผิวโลก มีจุดประสงค์เพื่อเก็บรายละเอียดภูมิประเทศทั่วไป ครอบคลุมพื้นที่ได้กว้างกว่าภาพถ่ายแนวดิ่ง และไม่ได้นำไปใช้ทำแผนที่ภูมิประเทศ

ปัจจุบัน มนุษย์ ใช้ ประโยชน์ อย่างไร จาก ภาพถ่าย ทางอากาศ และ ภาพ จากดาวเทียม

        ภาพถ่ายทางอากาศจะได้ข้อมูลที่มีความละเอียดสูงนำไปใช้แสดงข้อมูลที่มีมาตราส่วนใหญ่ได้ดี และสามารถแสดงข้อมูลลักษณะภูมิประเทศเป็น 3 มิติได้ ถ้ามีการถ่ายภาพที่ซ้อนทับกัน 60 % ในแนวบินเดียวกัน โดยดูผ่านกล้องมองภาพสามมิติ (Stereoscope)

ภาพถ่ายดาวเทียม

        ดาวเทียมดวงแรกของโลกที่สามารถส่งขึ้นไปเพื่อทดลองระบบ คือ ดาวเทียมสปุตนิก (Sputnik) เป็นดาวเทียมภายใต้การดำเนินงานของรัสเซียที่ถูกส่งขึ้นไปในอวกาศครั้งแรกในปี ค.ศ. 1957 โดยเริ่มจากดาวเทียมสปุตนิก 1 ที่สามารถโคจรรอบโลกได้นานถึง 92 วัน


ภาพ ดาวเทียมสปุตนิก


         แบ่งตามชนิดได้เป็น

        1. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านสภาพอากาศ เช่น ดาวเทียม GMS และ NOAA

        2. ดาวเทียมสมุทรศาสตร์ เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านลักษณะคลื่นผิวน้ำและใต้ผิวน้ำ ความสูงของคลื่น ศึกษาน้ำแข็งในทะเล อุณหภูมิผิวหน้าทะเล เป็นต้น

        3. ดาวเทียมสำรวจแผ่นดิน เป็นดาวเทียมสำรวจข้อมูลด้านทรัพยากรบนแผ่นดิน เช่น ดาวเทียม THEOS เป็นดาวเทียมสำรวจทรัพยากรดวงแรกของไทย ส่วนดาวเทียม LANDSAT เป็นของสหรัฐอเมริกา และดาวเทียม SPOT เป็นของประเทศฝรั่งเศส

        4. ดาวเทียมสื่อสาร เพื่อการรับส่งสัญญาณโทรศัพท์ โทรสาร โทรทัศน์ วิทยุ เช่น ดาวเทียมไทยคม


ข้อมูลจากดาวเทียม

        สิ่งที่ส่งกลับมารูปของสัญญาณตัวเลขมาที่สถานีรับสัญญาณดาวเทียมภาคพื้นดิน เมื่อสถานีรับสัญญาณภาคพื้นดินได้รับข้อมูลตัวเลขที่ส่งมาแล้ว จึงแปลงตัวเลขออกเป็นภาพอีกครั้งหนึ่ง ซึ่งเรียกว่าภาพจากดาวเทียม แล้วจึงนำไปแปลความหมายต่อไปได้ในระบบคอมพิวเตอร์ สามารถนำข้อมูลตัวเลขนี้มาวิเคราะห์เชิงสถิติเพื่อจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ ซึ่งเป็นการแปลความหมายอีกรูปแบบหนึ่งได้

        ข้อมูลเชิงเลข คือ

            เวลาที่เก็บข้อมูลมาจากดาวเทียมดาวเทียมก็จะแปลค่าให้เป็นตัวเลข เช่น ดี = 1, แย่ = 2 และ แย่ที่สุด = 3 หรือชนิดของตัวเลขที่ใช้ในระบบราสเตอร์ จะเป็นตัวบอกว่าชั้นข้อมูลนั้น ๆ จะถูกแสดง หรือสามารถนำไปประมวลผลได้อย่างไร ตัวอย่างเช่น ชั้นข้อมูลความสูง ที่มีค่าในช่วง 550 ถึง 560 จะถูกใช้ต่างกับชั้นข้อมูลที่มีค่าแค่ 1, 2 หรือ 3 ซึ่งเป็นตัวแทน น้ำ ดิน พืช จะเห็นได้ว่าข้อมูลที่ส่งกลับมาทุกอย่างจะถูกแปลผลไปเป็นตัวเลข แล้วเวลาใช้งานก็จะแปลตัวเลขมาเป็นข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ ในประเทศไทยมีสถานีรับสัญญาณดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ตั้งอยู่ที่อำเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และมีสถานีรับสัญญาณของกรมอุตุนิยมวิทยากระจายตามภูมิภาคของประเทศ


การใช้ประโยชน์จากภาพถ่ายดาวเทียม เช่น

  • การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ใช้สำรวจ ตรวจสอบสภาพผืนป่า ความอุดมสมบูรณ์ของป่าไม้
  • ด้านการทำแผนที่ ใช้สำรวจวัตถุบนพื้นโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพชายฝั่ง การจัดทำแผนที่ธรณีวิทยา การจัดทำแผนที่ชุดดิน
  • ด้านอุตุนิยมวิทยา ใช้ติดตามการเปลี่ยนแปลงลักษณะอากาศในช่วงเวลาในแต่ละวัน
  • ด้านคมนาคม เช่น การติดตามสภาพการจราจรขณะปัจจุบัน

รูปถ่ายทางอากาศและภาพถ่ายจากดาวเทียมมีประโยชน์อย่างไร

ภาพถ่ายดาวเทียมมี ประโยชน์อย่างไรนะ ประโยชน์ของภาพถ่ายดาวเทียม ใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่เช่นเดียวกับภาพถ่ายทาง อากาศ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรที่อยู่ใต้ดิน และการ พยากรณ์อากาศ วางแผนการใช้ที่ดิน

ประโยชน์ของการใช้รูปถ่ายทางอากาศ มีอะไรบ้าง

3) ประโยชน์ของรูปถ่ายทางอากาศ มีดังนี้ 1. การสำรวจและทำแผนที่ภูมิประเทศ 2. การใช้ในกิจการทหารและความมั่นคงของประเทศ 3. การสำรวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. การสำรวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่การใช้ที่ดิน

ข้อมูลจากดาวเทียมมีประโยชน์อย่างไรบ้าง

ข้อมูลจากดาวเทียมสำรวจทรัพยากร ได้เอื้ออำนวยประโยชน์อย่างยิ่งต่อหน่วยงานราชการต่างๆ ในการนำเอาข้อมูลไปศึกษาวิจัย เพื่อประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ ซึ่งพอยกตัวอย่างได้ เช่น กรมวิชาการเกษตร กรมป่าไม้ กรมพัฒนาที่ดิน กรมทรัพยากรธรณี สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมชลประทาน กรมแผนที่ทหาร สำนัก งานสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ เป็นอาทิ รวมไป ...

มนุษย์ใช้ประโยชน์จากดาวเทียมในด้านใดบ้าง

1) การสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารช่วยให้การติดต่อสื่อสารต่างๆ ทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศการให้ความบันเทิงต่างๆ ด้านวิทยุสื่อสาร วิทยุโทรทัศน์การส่งข่าวสารถึงกันและกันเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็ว 2) การค้า การติดต่อสื่อสารทำธุรกิจค้าขายการส่งข่าวถึงกัน โดยตรง เพื่อประโยชน์ในการค้าต่างอาศัยการทำงานจากดาวเทียมสื่อสารทั้งสิ้น