ประวัติศาสตร์ ป.4 หลักฐานทางประวัติศาสตร์

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึง ร่องรอยการกระทำ การพูด การเขียน การประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าที่ปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลกทัศน์ ความรู้สึก ประเพณีปฏิบัติของมนุษย์ในอดีต

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

1 บอกความหมายและความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

2 เกิดทักษะการเปรียบเทียบของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

3 เห็นความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์

การวัดผลและประเมินผล

ชิ้นงานหรือภาระงาน

1 ใบงาน เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์

2 ความถูกต้องของการทำใบงาน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 เรือ่ ง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ครูผสู้ อน : นายสรรเสรญิ พูลสุขโข

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชวี้ ดั ส 4.1 ป.4/3 แยกแยะประเภทหลักฐานทีใ่ ชใ้ นการศึกษาความเป็นมาของทอ้ งถน่ิ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1.อธิบายหลกั ฐานที่เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรและหลกั ฐานทีไ่ มเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษร (K) 2.จาแนกหลกั ฐานทีเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เปน็ ลายลักษณอ์ ักษร (P) 3.เหน็ ความสาคัญของการศกึ ษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ (A)

ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี นกนั เถอะ https://www.plickers.com/seteditor/5f2fb1d7620a800012a428c2

หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ หมายถึงร่องรอยการกระทา การพูด การเขียน การ ประดิษฐ์ การอยู่อาศัยของมนุษย์ หรือลึกไปกว่าปรากฏอยู่ภายนอก คือ ความคิดอ่าน โลก ทัศน์ ประเพณีปฏบิ ัติของมนุษยใ์ นอดีต หรือสิ่งทีม่ นุษยจ์ บั ตอ้ งและท้งิ ร่องรอยไว้ กลา่ วได้ว่าอะไร ก็ตามที่มาเกี่ยวพันกับมนุษย์หรือมนุษย์เข้าไปเกี่ยวพันสามารถนามาใช้เป็นหลักฐานทาง ประวัตศิ าสตร์ไดท้ ั้งส้ิน

ประเภทของหลักฐาน จาแนกตามความสาคญั ทางประวัติศาสตร์ ของหลกั ฐาน หลักฐานชนั้ ตน้ หลักฐานชนั้ รอง จาแนกตามลกั ษณะ ของหลกั ฐาน หลักฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หลักฐานทเี่ ปน็ ไมล่ ายลักษณอ์ กั ษร

หลักฐานชนั้ ตน้ Primary source หมายถงึ หลักฐานในชว่ งที่เกดิ เหตุการณน์ ัน้ หรือหลักฐานทีไ่ ดจ้ ากการบันทกึ หรือจากคาบอกเลา่ ของผู้ทีม่ ีส่วนเหตกุ ารณ์ดว้ ยตนเอง หลักฐานชั้นต้นมีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น หนังสือพิมพ์ บันทึก จดหมาย รวมทั้งรูปภาพ วีดีโอที่ผู้พบเห็นเหตุการณ์ถ่ายไว้ ส่วนหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ ลูกปัดโบราณ เครื่องปนั้ ดนิ เผาลายเขยี นสแี ดง ศิลาจารกึ หลักที่ 1 พบทีบ่ า้ นเชยี ง จังหวัดอดุ รธานี พบที่บา้ นเชยี ง จังหวัดอดุ รธานี พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช

หลักฐานชนั้ รอง Secondary source หมายถึงหลักฐานที่สร้างข้ึนโดยผู้ที่ไม่ได้พบเห็นเหตุการณ์นั้นโดยตรง เช่น บทความทาง วิชาการ ตานาน ภาพยนตร์ สิ่งก่อสร้าง หนังสือต่าง ๆ ส่ิงที่ก่อสร้างเลียนแบบโบราณสถานที่สาคัญ ของไทย รวมไปทั้งการจาลองเครือ่ งใช้ เครอ่ื งประดับที่เลียนแบบวัตถุโบราณ หนังสอื เรยี นประวตั ศิ าสตรไ์ ทย ป.4 เมืองโบราณสมทุ รปาการ จาลองปราสาทหนิ พมิ าย อนุเสาวรยี พ์ อ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช สานักพมิ พอ์ กั ษรเจรญิ ทัศน์ (อจท.) จังหวัดนครราชสมี า

หลักฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร หลักฐานทไี่ มเ่ ปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร คือ หลักฐานที่เป็นตัวหนังสือ เช่น จารึก ตานาน คือหลักฐานที่เป็นวัตถุ ซง่ึ เป็นหลักทางวรรณคดี เชน่ บันทึกความทรงจา เอกสารทางราช ชีวประวัติ รปู เคารพ มหาวิหาร โครงกระดูกมนุษย์ กระดูกสัตว์ หม้อสามขา ตะเกียงโรมันสาริด ศิลาจารกึ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช หม้อสามขา จ.กาญจนบุรี

หลักฐานทไี่ มเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร วัดไชยวฒั นาราม จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา

หลักฐานชนั้ ตน้ ราชทูตวสิ ามญั เชอวาลเิ อร์ เดอ โชมงต์ เขา้ เฝา้ เพื่ออญั เชญิ พระราชสาสน์ ของพระเจา้ หลยุ สท์ ี่ 14 แห่งฝรัง่ เศสถวาย

หลักฐานชนั้ ตน้ /ไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

หนังสอื จนิ ดามณี แบบเรยี นเลม่ แรกของไทย หลักฐานทเี่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร

เอกสารอา้ งองิ พลับพลงึ คงชนะ. (2563). หนังสอื เรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานประวตั ิศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 4. กรงุ เทพมหานคร: สถาบนั พฒั นาคุณภาพวชิ าการ(พว.).

กจิ กรรม วงล้อหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ https://1th.me/ywBYS

❑ หากเบยี้ เรยี งกนั ในแนวตงั้ แนวนอน แนวทะแยง ถือวา่ ชนะ

คาศัพท์ : หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ศิลาจารกึ หนังสอื จนิ ดามณี หนังสอื เรยี น หลวงพอ่ ทบั ทมิ พระพุทธรัตนบารมี อนสุ าวรยี ช์ ยั ภมู ิ ประวัตศิ าสตร์ ป.4 พระอจั นะ วัดศรชี ุม โครงกระดกู มนษุ ย์ จิตรกรรมฝาผนงั ภาพเขยี นสผี นงั ถ้า เงนิ ตราโบราณ จดหมายเหตุ พงศาวดาร ขวานหนิ ขดั จดหมาย หนังสอื พมิ พ์ กฎหมาย พระแกว้ มรกต บันทกึ ใบลาน นทิ านพนื้ บา้ น

หลักฐานชัน้ ตน้ ▪ หลกั ฐานที่บันทกึ ไวโ้ ดย ผูเ้ กีย่ วขอ้ งหรือรูเ้ ห็นใน เหตุการณ์ สรุปประเภทของหลักฐาน จาแนกตาม หลักฐานชั้นรอง ▪ ผูบ้ นั ทึกรับมาจากคาบอกเลา่ ทางประวัติศาสตร์ ความสาคญั หรือข้อเขียนของผู้อืน่ จาแนกตาม ▪ หลกั ฐานชั้นรองความสาคัญ ลักษณะ จะลดลง หลักฐานที่เป็น ▪ คาจารึกในแผ่นศลิ า แผน่ โลหะ ใบลาน ลายลักษณ์อักษร ตานาน หนังสือพมิ พ์ หลักฐานทีไ่ ม่เปน็ ▪ โบราณสถาน คาบอกเล่า ลายลักษณอ์ ักษร

ทาแบบทดสอบหลังเรยี นกนั เถอะ