การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง

����ѵ���ʵ��  ������ʵ�� �ؤ���Ӥѭ �������з�ջ >>

��õ�駻������

การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
�ҳҨѡ���ҳ㹻������
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
�ҳҨѡ���⢷��
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
�ҳҨѡá�ا�����ظ��
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
������ظ�Ҷ֧�ѵ���Թ���͹��
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
��û���ͧ����»Ѩ�غѹ (�ѵ���Թ���͹����-�Ѩ�غѹ)
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
��þѲ�����ɰ�Ԩ�µ���� �.�. 2475 �֧�Ѩ�غѹ
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
�ç���ҧ��û���ͧ�кͺ��ЪҸԻ�¢ͧ��

��û���ͧ����»Ѩ�غѹ (�ѵ���Թ���͹����-�Ѩ�غѹ)

������ͧ��û���ͧ�ͧ�������ҧ �.�. 2475 �֧ʧ�����š���駷�� 2 ����� �⹻�ó�ԵԸҴҹ�¡�Ѱ����� �����û���ȵ���Ѱ�����٭��Ѻ���� �.�. 2475 �����§ 2-3 ��͹ �����Դ�����Ѵ��� ����褳��Ѱ����� ��Ф����ɮô�������ͧ��á�˹���º�·ҧ���ɰ�Ԩ�ͧ����� ����դ����Դ���ᵡ��ҧ�ѹ �����Ѵ��駶֧����ع�ç�й������û�С�Ⱦ�о���Ҫ��ɮաһԴ��Ҽ��᷹��ɮ�

��û�ء�����Դ�ҵԹ��� �ѹ�͡��ǧ�Ժ��ʧ���� ����繼�����դ����Դ�ҵԹ����������� �֧���Թ��º�����ҧ�ҵ����������秡�͹�Դʧ�����š���駷�� 2 �Ѱ��Ţͧ�ѹ�͡��ǧ�Ժ��ʧ���� ���С�ȹ�º�´ѧ��� ���

- ���������÷��ǹ���� ����§�ѵ�� ��Ե����ͧ����µ��ͧ
- �ѡ�٧�ɳ���餹�� ���Թ��ҷ���Ե㹻���� �Ѱ��Ż�С�ȤӢ�ѭ��� �·� �� �� ����ԭ
- ���������餹�»�Сͺ�Ҫվ��Ң�� ���ʧǹ�Ҫվ�ҧ���ҧ��������ҧ���Ƿ�
- ��駡���ɳҡ�� ���ͷ�˹�ҷ���ء㨻�ЪҪ� �ɳҶ֧�����ѡ�ҵ� ������Ϳѧ���� ����Ӣ�ѭ "���ͼ��ӪҵԾ����"

������ͧ��û���ͧ�ͧ�ª�ǧ�����ҧʧ�����š���駷�� 2

  1. ��û�С��ʶҹ��ó�����繡�ҧ�ͧ��㹪�ǧ�á�ͧʧ�����š���駷�� 2 �Ѱ����»�С���׹�ѹ��º���繡�ҧ���ҧ��觤�Ѵ
  2. ��û�С��ʧ�����Ѻ���¾ѹ��Ե� ��»�մ� ���§�� ������ǧ��д�ɰ���ٸ��� ��ç���˹觼��������Ҫ���᷹���ͧ�� �����繴��¡Ѻ��û�С��ʧ�����Ѻ���¾ѹ��Ե� �֧����ŧ���㹤ӻ�С��ʧ����
  3. ���ҷ�ͧ��ǹ��������� ��»�մ� ���§�� �ѵ�駢�ǹ��������� ������������ x.o Group �Ǻ������� ������ش���ó�ç�ѹ��� �����������㹡�âѺ�����������͡仨ҡ�׹�蹴Թ��

������ͧ��û���ͧ�ͧ����ѧʧ�����š���駷�� 2 � �.�. 2500

  1. �����ѭ�����ͧ�ҡ������㹰ҹм����ʧ���� ���������Ҫ����蹴Թ�ͧ�� ��С���ѹ���Ҿ �¶����ҡ�û�С��ʧ�����ͧ�µ�;ѹ��Ե� ������ҧʧ������������� �.�.�. �ʹ�������� �èҡѺ���Ѱ����ԡ� ����ѧ��� ���ͤ������͡�Ҫ�ͧ�ҵ�⪤�շ�����Ѱ����ԡ� ����ѧ������Դ��� �Ѱ����¡����С�Ȥ׹�Թᴹ������ѧ��� ��н������
  2. ����ʴ����ä��ͧ��кҷ���稾�������������Ѫ��ŷ�� 8 �Ѱ����������ö ͸Ժ�����˵ط�����ԧ�� ��»�մ� ���§�� �֧�ʴ������Ѻ�Դ�ͺ�¡�á�Һ���ºѧ�����͡�ҡ���˹觹�¡�Ѱ�����
  3. �����觪ԧ�ӹҨ�����ҧ�ѡ������ͧ ��������ҧ���ú��Ѻ�������� �����Ѵ��� �ҧ������ͧ �ա����觪ԧ�ӹҨ�����ҧ���¨�����š�Ժ��ʧ���� �Ѻ���¢ͧ ��»�մ� ���§�� �Դ���������¤������͵�͵�ҹ�Ѱ��Ũ�����š
  4. ��á��Ǣ������ӹҨ�ͧ�������ɴ�� ����Ѫ�� ����Ѻ�����è������ɴ�� ������蹤ӢҴ��� ������š��¡�Ѱ����� ������ʶҹ��ó�ҧ������ͧ�´�ǹ ����������Ž��·��è֧�͹����͡�ҡ���ʹѺʹع�Ѱ��� ������ �������ɴ�� ����Ѫ�� �����繼��ӡ���Ѱ������

������ͧ��û���ͧ�ͧ�ª�ǧ �.�. 2501 �֧�Ѩ�غѹ

1. ��û���ͧẺ༴稡�� ����觾Ѳ�һ���Ȣͧ�������ɴ�� ����Ѫ��
2. ��õ�蹵����кͺ��ЪҸԻ�� ��к��ҷ�ͧ��ǹ��ЪҸԻ��
3. �����Ѵ��������ҧ��ǹ���༴稡�� ��Т�ǹ��û�ЪҸԻ��
4. ��ÿ�鹿ٻ�ЪҸԻ�� ��С����䢻ѭ�Ҥ����ǹ�ʵ�
5. ����Ѱ�����âͧ����ѡ�Ҥ���ʧ����º������觪ҵ� (�ʪ.)

การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง
การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง

วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองของไทย : สมัยรัตนโกสินทร์

             ประเทศไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศเก่าแก่  มีประวัติความเป็นมายาวนานชาติหนึ่ง  แม้ว่าหลักฐานเกี่ยวกับปฐมกำเนิดของชาติไทยจะไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดว่า  ชนชาติไทยเป็นผู้ที่อพยพมาจากทางตอนใต้ของประเทศจีนแถบมณฑลยูนาน  หรือมีรกรากอยู่ในสุวรรณภูมิแห่งนี้มาแต่เก่าก่อนก็ตาม   การศึกษาวิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองสมควรจะเริ่มต้นตั้งแต่ประเทศไทยตั้งอาณาจักรมั่นคงขึ้นในแหลมทอง  เมื่อ พ.ศ. 1781 อาณาจักรแรกของชาติไทย  คือ อาณาจักรสุโขทัย ซึ่งสถาปนาโดยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์  ต้นราชวงศ์พระร่วง  ประกาศตนเป็นอิสระจากขอมซึ่งยึดครองดินแดนแถบนั้นอยู่ในสมัยนั้น

             การเมืองการปกครองไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนกระทั่งถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ก่อนหน้ามีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน  พ.ศ. 2475 อยู่ในรูปแบบระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับระบอบเผด็จการ  เพราะว่าอำนาจสูงสุดในการปกครองเป็นของพระมหากษัตริย์เพียงพระองค์เดียวเท่านั้น พระมหากษัตริย์ได้อำนาจมาด้วยการสืบสันตติวงศ์  หรือการปราบดาภิเษก ประชาชนไม่มีส่วนร่วมในการสถาปนาหรือคัดเลือกพระมหากษัตริย์เลย

             ระบอบประชาธิปไตยซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง  เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มีลักษณะที่ไม่ราบรื่นและพัฒนามากนัก แม้ว่าจะดำเนินมาเป็นเวลากว่า 60 ปี แต่ก็พอจะอนุมานได้ว่าระบอบประชาธิปไตยได้หยั่งลึกพอสมควร การศึกษาการเมืองการปกครองไทยหากจะแบ่งยุคสมัยให้เหมาะสมแก่การศึกษาแล้วจะแบ่งออกได้เป็น 3 ยุคสมัยด้วยกัน คือ สมัยสุโขทัย ระหว่าง พ.ศ. 1781 – 1921 สมัยอยุธยา พ.ศ. 1893 – 2310 และสมัยรัตนโกสินทร์ พ.ศ. 2325 – 2475 ส่วนหลักจาก พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน  จะกล่าวโดยละเอียดในบทต่อไปที่ว่าด้วยการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยในปัจจุบัน  แม้ว่าในประวัติศาสตร์จะปรากฏว่ามีสมัยธนบุรีระหว่าง  พ.ศ. 2311 – 2325 แต่เนื่องจากสมัยนั้นชาติไทยอยู่ในระยะสร้างชาติให้เป็นปึกแผ่นขึ้นมาใหม่หลักจากเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2310 และลักษณะการปกครองยังยึดแบบของกรุงศรีอยุธยาอยู่ ไม่ได้เสริมสร้างลักษณะใหม่ๆ ขึ้นมา  จึงไม่ขอกล่าวเป็นการเฉพาะ และคงแบ่งยุคสมัยออกเป็น 3 สมัย ดังที่กล่าวตอนต้นเท่านั้น

สมัยรัตนโกสินทร์

             ลักษณะการปกครองในสมัยธนบุรี      ไม่ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากรูปแบบเดิมที่ใช้อยู่ในสมัยอยุธยาเนื่องจากขณะนั้นเป็นระยะที่ไทยกำลังรวบรวมอาณาจักรขึ้นใหม่  พระเจ้ากรุงธนบุรี (ตากสิน) ทรงมีพระราชภาระในการปราบปรามบรรดาชุมนุมอิสระต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลังกรุงศรีอยุธยาแตก  รูปแบบการปกครองแบบกรุงศรีอยุธยาคงใช้อยู่เรื่อยมา  แม้แต่ในสมัย รัตนโกสินทร์ตอนต้น  เพิ่มมีการปฏิรูปในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 อย่างไรก็ตามอาจกล่าวได้ว่าการปรับปรุงระเบียบแบบแผนการปกครองในสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีการวางแนวรากฐานเตรียมพร้อมไว้สำหรับการปฏิรูปมาตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว  พระองค์ได้ทรงสนับสนุนให้มีการศึกษาอารยธรรมตะวันตก  เป็นเหตุให้ได้รับทราบถึงความเจริญก้าวหน้าในหลักการปกครองของตะวันตกและนำมาปรับปรุงในการปกครองของไทย

             การที่รัชกาลที่ 5 ทรงปฏิรูปการปกครองไปจากเดิมเป็นอย่างมาก เพราะทรงเห็นว่าเป็นหนทางหนึ่งที่จะรักษาเอกราชของบ้านเมืองไว้ได้  ในช่วงการขยายลัทธิจักรวรรดินิยมของชาติตะวันตกเพราะในขณะนั้นประเทศเพื่อนบ้านข้างเคียงล้วนแต่ตกเป็นเมืองขึ้นของชาติตะวันตกทั้งสิ้น การปรับปรุงการปกครองให้ทันสมัยทำให้ชาวต่างชาติเห็นว่า ประเทศไทยเป็นประเทศที่เจริญแล้ว  สามารถปกครองดูแลพัฒนาบ้านเมืองเองได้ นอกจากนี้ ยังทำให้เศรษฐกิจดีขึ้น ประชาชนมีความเป็นอยู่ดีขึ้น  ประเทศชาติมีรายได้ในการทำนุบำรุงบ้านเมืองมากขึ้น  ทำให้สายตาของชาวต่างชาติมองประเทศไทยต่างจากประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆ และด้วยการวางวิเทโศบายทางการทูตกับชาติตะวันตกต่างๆ อย่างเหมาะสม  ยอมรับว่าชาวยุโรปเป็นชาติที่เจริญ ให้เกียรติและยกย่องพร้อมกับเปลี่ยนแปลงวิธีการปฏิบัติต่างๆ อย่าง  เพื่อให้เห็นว่าไทยไม่ใช่ชนชาติป่าเถื่อน เช่น ให้ข้าราชการสวมเสื้อเวลาเข้าเฝ้า นอกจากนั้น ยังยอมผ่อนปรนอย่างชาญฉลาด แม้จะเสียผลประโยชน์หรือดินแดนไปบ้างแต่ก็เป็นส่วนน้อย ยังสามารถรักษาส่วนใหญ่ไว้ได้ ทำให้ประเทศไทยคงความเป็นชาติที่มีเอกราชมาได้ตลอด

การปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

             การปรับปรุงการบริหารราชการในส่วนกลาง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงยกเลิก ตำแหน่ง อัครเสนาบดี 2 ตำแหน่ง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก  รวมทั้งจตุสดมถ์  โดยการแบ่งการบริหารราชการออกเป็นกระทรวงตามแบบอารยะประเทศ และให้มีเสนาบดีเป็นผู้ว่าการแต่ละกระทรวง  กระทรวงที่ตั้งขึ้นทั้งหมดเมื่อ พ.ศ. 2435 มี 12 กระทรวง คือ
             1. มหาดไทย             บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาว
             2. กลาโหม                บังคับบัญชาหัวเมืองฝ่ายใต้ หัวเมืองฝ่ายตะวันออก
ตะวันตก และเมืองมลายู
             3. ต่างประเทศ           จัดการเรื่องเกี่ยวกับการต่างประเทศ
             4. วัง                      กิจการในพระราชวัง
             5. เมืองหรือนครบาล     จัดการเกี่ยวกับเรื่องตำรวจและราชฑัณฑ์
             6. เกษตราธิการ                   ว่าการเกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร่ ป่าไม้
             7. คลัง                     ว่าการภาษีอากรและงบประมาณแผ่นดิน
             8. ยุติธรรม                จัดการเรื่องชำระคดีและการศาล
             9. ยุทธนาธิการ           จัดการเกี่ยวกับเรื่องการทหาร
             10. ธรรมการ             ว่าการเรื่องการศึกษา  การสาธารณสุขและสงฆ์
             11. โยธาธิการ            ว่าการเรื่องการก่อสร้าง  ถนน คลอง การช่าง
ไปรษณีย์โทรเลข และรถไฟ
             12. มุรธาธิการ           เกี่ยวกับการรักษาตราแผ่นดิน 
และงานระเบียบสารบรรณ

             ภายหลังได้ยุบกระทรวงยุทธนาธิการไปรวมกับกระทรวงกลาโหม  และยุบกระทรวงมุรธาธิการ ไปรวมกับกระทรวงวัง คงเหลือเพียง 10 กระทรวง เสนาบดีทุกกระทรวงมีฐานะเท่าเทียมกัน และประชุมร่วมกันเป็น เสนาบดีสภา ทำหน้าที่ปรึกษาและช่วยบริหารราชการแผ่นดินตามที่พระมหากษัตริย์ทรงมอบหมาย เพราะอำนาจสูงสุดเด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์ตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวยังทรงแต่งตั้ง สภาที่ปรึกษา ในพระองค์ ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนเป็น รัฐมนตรีสภา ประกอบด้วยเสนาบดี หรือผู้แทนกับผู้ที่โปรดเกล้าฯ แต่งตั้งรวมกันไม่น้อยกว่า 12 คน จุดประสงค์เพื่อเป็นที่ปรึกษาและคอยทัดทานอำนาจพระมหากษัตริย์ แต่การปฏิบัติหน้าที่ของสภาดังกล่าวหาได้บรรลุจุดประสงค์ที่ทรงหวังไว้เพราะสมาชิกส่วนใหญ่ไม่กล้าที่จะโต้แย้ง พระราชดำริส่วนใหญ่มักพอใจที่จะปฏิบัติตามมากกว่าที่จะแสดงความคิดเห็น

             นอกจากนี้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ยังทรงแต่งตั้งองคมนตรีสภาขึ้นอีก ประกอบขึ้นด้วยสมาชิกเมื่อแรกตั้งถึง 49 คน มีทั้งสามัญชน ตั้งแต่ชนชั้นหลวงถึงเจ้าพระยาและพระราชวงศ์  องคมนตรีสภานี้อยู่ในฐานะรองจากรัฐมนตรีสภา เพราะข้อความที่ปรึกษา และตกลงกันในองคมนตรีสภาแล้ว จะต้องนำเข้าที่ประชุมรัฐมนตรีสภาแล้วจึงจะเสนาเสนาบดีกระทรวงต่างๆ
ในด้านการปกครองท้องถิ่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงจัดให้มีการบริหาราชการส่วนท้องถิ่นในรูปสุขาภิบาล  ซึ่งมีหน้าที่คล้ายเทศบาลในปัจจุบันเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2440 โดยโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชบัญญัติสุขาภิบาล กรุงเทพฯ ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ขึ้นบังคับใช้ในกรุงเทพฯ ต่อมาได้ขยายไปที่ท่าฉลอม  ปรากฏว่าดำเนินการได้ผลดีเป็นอย่างมากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้า ฯ ให้ตราพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2448  ขึ้น โดยแบ่งสุขาภิบาลออกเป็น 2 ประเภท คือ สุขาภิบาลเมือง และสุขาภิบาลตำบล ท้องถิ่นใดเหมาะสมที่จะจัดตั้งสุขาภิบาลใดก็ให้ประกาศตั้งสุขาภิบาล ในท้องถิ่นนั้น
สำหรับการปกครองส่วนภูมิภาค พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติลักษณะการปกครองท้องที่ พ.ศ. 2475 ขึ้น เป็นผลให้ในการปกครองแบ่งประเทศออกเป็นมณฑล  ถัดจากมณฑลก็คือ เมือง ซึ่งต่อมาเรียกเป็นจังหวัด  จากจังหวัดแบ่งเป็นอำเภอ  โดยกระทรวงมหาดไทยตั้งข้าราชการจากส่วนกลางไปปกครองทั้ง 3 ระดับ อำเภอแบ่งเป็นหมู่บ้าน มีกำนันเป็นผู้ปกครอง

             แม้ว่าการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์จะเป็นแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์  แต่พระราชกรณียกิจบางประการของพระมหากษัตริย์ก็ถือได้ว่าเป็นการปูพื้นฐานการปกครองแบบประชาธิปไตย  โดยเฉพาะในสมัยพระบาสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงดำเนินการดังต่อไปนี้
1. การเลิกทาส พระบาสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงประกาศเลิกทาสเมื่อ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2417 นโยบายการเลิกทาสของพระองค์นั้นเพื่อให้ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคทัดเทียมกันอันเป็นหลักการสำคัญของระบอบประชาธิปไตย
2. สนับสนุนการศึกษา ทรงจัดตั้งโรงเรียนเพื่อสนับสนุนให้คนไทยได้มีโอกาสเล่าเรียนศึกษา  หาความรู้ ตั้งทุนพระราชทาน ส่งผู้มีความสามารถไปศึกษาต่อต่างประเทศ  จากการสนับสนุนการศึกษาอย่างกว้างขวางนี้ นับได้ว่าเป็นรากฐานของการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดในการปกครองประเทศสู่ระบอบประชาธิปไตย
             3.การปฏิรูปการปกครอง  การปฏิรูประบอบบริหารราชการ ทรงเปิดโอกาสให้ข้าราชการมีส่วนรับผิดชอบในการบริหารมากขึ้น ทรงสนับสนุนการปกครองท้องถิ่นด้วยการจัดตั้งสุขาภิบาล  ทำให้ประชาชนธรรมดามีส่วนและมีโอกาสเรียนรู้ประสบการณ์การบริหารการปกครอง ตามหลักการประชาธิปไตยที่ต้องการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองบ้านเมือง

             นอกจากนี้ในสมัย พระบาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ได้มีการส่งเสริมการศึกษาให้แพร่หลาย มีการจัดตั้งโรงเรียนขึ้นหลายแห่ง  และสนับสนุนให้ทุนหลวงโดยส่งนักเรียนไปเรียนในต่างประเทศมีการศึกษาภาคบังคับ  โดยกำหนดว่าใครอายุครบเกณฑ์ 7 ปี ต้องเข้ารับการศึกษาขั้นประถมศึกษา ทำให้ประชาชนมีการศึกษาเพิ่มขึ้น พระบาสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงแสดงให้เห็นว่าพระองค์ทรงนิยมระบอบประชาธิปไตย โดยได้ทรงจัดตั้ง เมืองสมมุติดุสิตธานี  ขึ้นในบริเวณวังพญาไท  จำลองรูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตยขึ้นใช้ในเมืองสมมุตินั้น   โดยโปรดเกล้าฯ ให้มีรัฐธรรมนูญการปกครองลักษณะนคราภิบาลซึ่งเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญของเมือง และให้ข้าราชบริพารสมมุติตนเองเป็นราษฎรของดุสิตธานี มีการจัดตั้งสภาการเมืองและเปิดโอกาสให้ราษฎรสมมุติใช้สิทธิ์ใช้เสียงแบบประชาธิปไตย เป็นเสมือนการฝึกหัดการปกครองแบบประชาธิปไตย

             ต่อมาพระบาสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 ได้พระราชทานสัมภาษณ์แก่นักหนังสือพิมพ์ระหว่างเสด็จเยี่ยมเยียนสหรัฐอเมริกาเมื่อ พ.ศ. 2474 ว่าพระองค์ทรงเตรียมการที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญแก่ประชาชน เพราะทรงเห็นว่าคนไทยมีการศึกษาดีขึ้นมีความคิดอ่านและสนใจทางการเมืองมากขึ้น เมื่อเสด็จกลับมา พระองค์ทรงมอบให้พระศรีวิสารวาจา ที่ปรึกษากฎหมายกระทรวงการต่างประเทศ และนายเรมอน สตีเวนส์ที่ปรึกษากระทรวงการต่างประเทศพิจารณาร่างรัฐธรรมนูญขึ้นแต่ดำเนินการไม่ทันแล้วเสร็จ ได้มีการปฏิวัติขึ้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2475  โดยคณะราษฎร เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นการปกครองโดยมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักนับตั้งแต่นั้นมา

             สาระสำคัญของการปกครองตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งคณะราษฎรได้ขอพระบาสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระราชทานเพื่อประโยชน์แก่ปวงชนชาวไทย เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และถือเป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรก คือ
             1. อำนาจอธิปไตย เป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นของประชาชนชาวไทย
             2. รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ จะกำหนดหน้าที่ความสัมพันธ์ของสถาบันการปกครองต่างๆ ไว้อย่างละเอียดและชัดเจน
             3. พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุขของประเทศ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ คือ ทรงใช้อำนาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา  หรือสภาผู้แทนราษฎร  ทรงใช้อำนาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี  และทรงใช้อำนาจตุลาการทางศาล

คณะราษฎรได้จัดตั้งการปกครองประเทศตามนโยบายของคณะราษฎร  ได้แก่ หลัก 6 ประการ มีดังนี้
             1. จะต้องรักษา ความเป็นเอกราช ทั้งหลาย เช่น เอกราชในทางการเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ ฯลฯ ของประเทศให้มั่นคง
             2.จะต้องรักษา   ความปลอดภัย   ภายในประเทศ   ในการประทุษร้ายต่อกันให้ลดน้อยลงให้มาก
             3. จะต้องบำรุง ความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ  โดยรัฐบาลใหม่จะหางานให้ราษฎรทุกๆ คนทำจะวางเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
             4. จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน (หมายถึง สิทธิเสมอภาคกันทางกฎหมาย)
             5. จะต้องให้ราษฎรได้มี เสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการข้างต้น
             6. จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร

             ส่วนการจัดการปกครองตามพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม พ.ศ. 2475 ซึ่งใช้ระหว่าง วันที่ 27 มิถุนายน ถึง 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475  มีการดำเนินการให้องค์กรการปกครอง คือ
             1. สภาผู้แทนราษฎร เป็นฝ่ายนิติบัญญัติ มีอำนาจออกพระราชบัญญัติทั้งหลาย และดูแลควบคุมกิจการของประเทศ ในระยะเริ่มแรกสมัยที่ 1 สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้มาจากการแต่งตั้งของคณะราษฎรมีจำนวน 70 คน
             2. คณะกรรมการราษฎร เป็นฝ่ายบริหาร เช่นเดียวกับคณะรัฐมนตรีในรัฐธรรมนูญฉบับต่อๆ มามีอำนาจและหน้าที่ดำเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภา  มีเสนาบดีซึ่งเป็นเสมือนรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ เป็นผู้รับผิดชอบต่อคณะกรรมการราษฎรในกิจการทั้งปวง โดยมีประชาชน กรรมการราษฎรหรืออาจเรียกได้ว่าเป็นนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร
             3. ศาล เป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ  การระงับข้อพิพาทให้เป็นไปตามกฎหมาย (ที่ใช้อยู่ในขณะนั้น) ผู้พิพากษามีอิสระในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีให้เป็นไปตามกฎหมาย

             ต่อมาก็ได้มีพระบรมราชโองการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยเป็นการถาวรฉบับแรก เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ดำเนินการปกครองในรูปประชาธิปไตยแบบรัฐสภา  โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุข องค์กรหลักในการปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ในฐานะองค์พระประมุข รัฐสภาเป็นฝ่ายนิติบัญญัติ คณะรัฐมนตรีซึ่งมีนายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร  และศาลเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการ แม้ภายหลังจากนั้นจะมีการยกเลิกและประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่อีกหลายครั้ง  แต่ก็อาจกล่าวได้ว่าประเทศไทยพยายามที่จะยึดรูปการปกครองประชาธิปไตยแบบรัฐสภามาโดยตลอด


Ref : http://www.mwit.ac.th/~keng/teach/5.doc 20/02/2008

ในสมัยรัตนโกสินทร์มีการปกครองแบบใด

การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จนถึง รัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูปการปกครองการบริหารที่สำคัญของชาติไทยโดยมีมูลเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด การปกครอง คือ มูลเหตุที่ทำให้มีการปรับปรุงการปกครอง

ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนปลายมีการปกครองแบบใด

ในการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบประชาธิปไตย คณะราษฎรกำหนดให้การปรับปรุงเศรษฐกิจเป็น 1 ในหลัก 6 ประการ ที่จะบริหารบ้านเมืองต่อไป และได้มอบให้หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้รางเค้าโครงการเศรษฐกิจของประเทศเสนอต่อรัฐบาล

การปกครองส่วนกลางสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นแบบใด

การปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ยังคงยึดถือตามแบบอย่างการปกครองสมัยอยุธยา คือเป็นการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ทรงมีอำนาจสูงสุดและได้รับการเคารพจากราษฎรประดุจสมมุติเทพ การปรับปรุงฟื้นฟูประเทศด้านการปกครอง การศาล และกฎหมายสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ที่สำคัญมีดังต่อไปนี้

กรุงรัตนโกสินทร์สมัยรัชกาลที่ 1 ปกครองแบบใด

อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์).