เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค

ขอบข่ายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์

ขอบข่ายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถจำแนกได้ 2 ลักษณะ
1. จำแนกตามเนื้อหาของวิชาเศรษฐศาสตร์ สามารถจำแนกได้ ดังนี้
     1.1 เศรษฐศาสตร์จุลภาค (microeconomics) เป็นการศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจย่อย
     1.2 เศรษฐศาสตร์มหภาค (macroeconomics) เป็นการศึกาาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจรวม
2. จำแนกตามการวิเคราะห์ปัญหา สามารถจำแนกได้ ดังนี้
     2.1 เศรษฐศาสตร์ตามความเป็นจริงหรือเศรษฐศาสตร์พรรณนา (positive or descriptive economics) เป็นการมุ่งอธิบายเรื่องที่เกิดขึ้น เรื่องที่เป็นอยู่ และเรื่องที่จะเกอดขึ้นว่าเป็นอย่างไร
เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค
       2.2 เศรษฐศาสตร์ที่ควรจะเป็นหรือเศรษฐศาสตร์นโยบาย(normative of policy economics) เป็นการมุ่งกล่าวถึงสิ่งที่ควรจะมีหรือควรจะเป็น โดยอาจจะเกิดขึ้นหรือไม่เป็นไปตามที่คาดหมาย
ไว้ก็ได้

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์

 1. ผู้บริโภค ช่วยทำให้ผู้บริโภครู้จักการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการบริโภคและใช้ในทางที่ดีที่สุด
 2. ผู้ประกอบการผลิต ช่วยทำให้ผู้ประกอบการมีความรู้ความสามารถในการวางแผนการผลิต
 3. ผู้บริหารในองค์กรของรัฐ ช่วยให้ผู้บริหารในองค์กรของรัฐมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม

ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์

             วิชาเศรษฐศาสตร์มีความสำคัญต่อทั้งบุคคลและประเทศชาติในการตัดสินใจเลือกใช้ทรัพยากรที่มีจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความสำคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2ระดับดังนี้

1. ระดับบุคคล แบ่งออกเป็น

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค

       ผู้บริโภค  ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์จช่วยให้ผู้บริโภคสามารถตัดสินใจได้ว่าจะดำเนินการอย่างไรในการหารายได้วางแผนการใช้จ่ายและการออมว่าจะทำอย่างไรจึงจะทำให้สมาชิกในครอบครัวมีความเป็นอยู่ที่ดีหรือควรเลือกบริโภคสินค้าบริการอย่างไรจึงจะได้รับประโยชน์สูงสุดคุ้มกับเงินที่ต้องจ่ายไปสำหรับการซื้อสินค้าและบริการ

       ผู้ผลิต   การผลิตสินค้าและบริการผู้ผลิตจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างจำกัดความรู้ทางด้านเศรษฐศาสตร์จัดช่วยให้ผู้ผลิตตัดสินใจว่าจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดนั้นปริสินค้าและบริการอะไรดี จึงจะตรงกับความต้องการของผู้บริโภคและใช้กรรมวิธีการผลิตอย่างไร ที่จะทำให้เสียต้นทุนการผลิตต่ำที่สุด แต่ได้กำไรสูงสุดซึ่งเป็นเป้าหมายสำคัญของผู้ผลิต

2. ระดับประเทศ  ประเทศต่างๆไม่ว่าจะร่ำรวยหรือยากจนต่างก็ต้องประสบปัญหาทางเศรษฐกิจด้วยกันทั้งนั้น ซึ่งปัญหาเรานี้ต่างก็มีพื้นฐานมาจากการที่ทรัพยากรมีร้านจำกัดและไม่เพียงพอที่จะนำมาผลิตเป็นสินค้าและบริการเพื่อสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างครบถ้วน ดังนั้น ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ จะช่วยรัฐบาลในการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดและช่วยประเทศชาติเมื่อต้องประสบกับปัญหาเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น ปัญหาความยากจนของประชากร ปัญหาการว่างงาน ปัญหาค่าครองชีพที่สูงขึ้น เป็นต้น

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค

                    เศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายที่สําคัญในการมุ่งทําความเข้าใจในพฤติกรรมทางด้านเศรษฐกิจของมนุษย์เพื่อใช้ความรู้นั้นให้เกิดประโยชน์ในการนําเอาทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจํากัดมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทําให้สังคมมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ประชาชนมีการกินดีอยู่ดีโดยรัฐบาลจะมีบทบาทสำคัญในการศึกษา กำหนดนโยบายและเป้าหมายในการจัดสรรทรัพยากรของแต่ละสังคม หรือแต่ละระบบเศรษฐกิจ ดังนี้

    1. เพื่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ คือ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ การผลิตสินค้าและบริการ เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคที่เพิ่มสูงขึ้นตามเป้าหมายที่กําหนดไว้ตลอดจนทําให้ประชาชนมีระดับความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น
    • สร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ คือ รักษาระดับราคาสินค้าและบริการให้มีความมั่นคง ไม่ผันผวนขึ้นลงอย่างรวดเร็ว อันจะก่อให้เกิดปัญหาภาวะเงินเฟ้อ และเงินฝืดขึ้น จนกระทั่งผู้ผลิตไม่กล้าลงทุน และผู้บริโภคไม่มั่นใจที่จะซื้อสินค้าและบริการมาบริโภคในระยะเวลานั้น
    • การกระจายรายได้ที่เท่าเทียมกัน คือ ให้รายได้ส่วนใหญ่ของประเทศตกอยู่กับกลุ่มบุคคลที่เป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ หรืออีกนัยหนึ่งประชากรส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยใกล้เคียงกัน ทําให้ช่องว่างระหว่างคนรวยและคนจนมีน้อยมาก ประชาชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ไม่มีปัญหาการกู้หนี้ยืมสิน
    • ประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ คือ ความสามารถในการใช้ทรัพยากรการผลิตต่างๆเช่น ที่ดิน แรงงาน เครื่องจักรอุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมีอยู่อย่างจํากัดให้คุ้มค่ามากที่สุด
    • เสรีภาพทางเศรษฐกิจ คือ สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคลของประชาชนในการตัดสินใจกระทําสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการประกอบอาชีพ การจับจ่ายใช้สอย ตลอดจนการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการทั้งนี้เพื่อให้บรรลุสิ่งที่ตนต้องการ
    • คุณภาพชีวิต คือ สถานะความเป็นอยู่ที่แสดงถึงการกินดีอยู่ดีของประชาชน ประกอบด้วย รายได้ที่สมดุลกับรายจ่าย สุขภาพอนามัยแข็งแรง มีระดับการศึกษาที่ดี มีความสมบูรณ์ทางด้านการอุปโภค และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
      เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ผู้บริโภค

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์มีอะไรบ้าง

8. เป้าหมายส าคัญของ วิชาเศรษฐศาสตร์ มุ่งเน้น ให้ความรู้แก่ ผู้ประกอบการผลิตเพื่อให้ เกิดผลอย่างไร สามารถวางแผนการผลิต การพยากรณ์การผลิต เพื่อสนอง ความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างถูกต้อง สามารถ ประยุกต์ใช้ปัจจัยการผลิตให้ต้นทุนการผลิตต่าที่สุดแข่งขัน กับธุรกิจอื่น

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 3 ข้อมีอะไรบ้าง

10. เป้าหมายในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์คืออะไร 1) มุ่งท าความเข้าใจในพฤติกรรมทางด้านเศรษฐกิจของมนุษย์ เช่น ศึกษาถึงพฤติกรรมผู้บริโภคในการเลือก ซื้อสินค้า 2) เพื่อท าความเข้าใจถึงสภาพปัญหาและผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน 3) เพื่อให้เกิดความเข้าใจการออกนโยบายต่างๆ ของรัฐบาลเพื่อแก้ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ

เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้บริโภคเกิดผลใด

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 1. มุ่งทำความเข้าใจในพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์เพื่อใช้ความรู้นั้นให้เกิดประโยชน์ต่อการดำรงชีวิต และการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจของตน ช่วยทำให้ผู้บริโภครู้จักการตัดสินใจ เลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการบริโภคและใช้ในทางที่ดีที่สุด

วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำคัญในการให้ความรู้ต่อประชาชนอย่างไรบ้าง

วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำคัญในการให้ความรู้ต่อประชาชนใน ข้อใด เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าราคาถูกที่สุด เพื่อเป็นการลดภาระค่าใช้จ่าย เพื่อให้รู้จักเลือกใช้สินค้าให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและครอบครัวมากที่สุด เพื่อให้รู้จักการวางแผนการใช้จ่ายเงิน และการเลือกใช้สินค้าที่มีอยู่อย่างพอเพียง

เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์มีอะไรบ้าง เป้าหมายของการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ 3 ข้อมีอะไรบ้าง เป้าหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์มุ่งเน้นให้ผู้บริโภคเกิดผลใด วิชาเศรษฐศาสตร์มีเป้าหมายสำคัญในการให้ความรู้ต่อประชาชนอย่างไรบ้าง ประโยชน์ของวิชาเศรษฐศาสตร์ ใบงาน1.1 ความสําคัญและเป้าหมายของเศรษฐศาสตร์ ความหมายของวิชาเศรษฐศาสตร์ ขอบข่ายของวิชาเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์มีความสําคัญอย่างไรต่อ นักเรียน ความสําคัญของวิชาเศรษฐศาสตร์ ระดับบุคคลและครัวเรือน วิธีการศึกษาทางเศรษฐศาสตร์มีกี่วิธี อะไรบ้าง ความสําคัญของเศรษฐศาสตร์ ต่อผู้บริโภค