แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต 6 ด้าน

การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในคริสต์ศตวรรษที่21มีแนวโน้มที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มีความสามารถใกล้เคียงกับมนุษย์ เช่น การเข้าภาษาสื่อสารของมนุษย์ โครงข่ายประสาทเทียม ระบบจำลอง ระบบเสมือนจริง โดยพยายามนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้นลดข้อผิดพลาดและป้องกันไม่ให้นำไปใช้ในทางที่ไม่ถูกต้องหรือผิดกฎหมาย 

แนวโน้มใน ด้านบวก 

การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ช่องทางการดำเนินธุรกิจ เช่น การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การผ่อนคลายด้วยการดูหนัง ฟังเพลง และบันเทิงต่างๆ เกมออนไลน์

การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็นภาษา พูดได้ อ่านตัวอักษรหรือลายมือเขียนได้ การแสดงผลของคอมพิวเตอร์ได้เสมือนจริง เป็นแบบสามมิติ และการรับรู้ด้วยประสาทสัมผัส เสมือนว่าได้อยู่ในที่นั้นจริง

การพัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ เพื่อพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญและการจัดการความรู้ 

การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-learning) การเรียนการสอนด้วยระบบโทรศึกษา (tele-education)การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ชั่วโมงจากห้องสมุดเสมือน (virtual library) การพัฒนาเครือข่ายโทร คมนาคม ระบบการสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือข่ายดาวเทียม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ทำให้สามารถค้นหาตำแหน่งได้อย่างแม่นยำ  การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการสื่อสารเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ดำเนินการของภาครัฐที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (e-government) รวมทั้งระบบฐานข้อมูลประชาชน หรือ e-citizen

 แนวโน้มใน ด้านลบ 

ความผิดพลาดในการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทำให้เกิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหา การละเมิดลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา การทำสำเนาและลอกเลียนแบบ การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวนระบบคอมพิวเตอร์ 

ขอแสดงความคิดเห็นถึงแนวโน้มในอนาคตของเทคโนโลยีการศึกษาช่วงระยะปี 2539 - 2549 ไว้ดังนี้คือ

.....1. ศูนย์ทรัพยากรทางการเรียน (Learning resources center) สำหรับการศึกษาระดับประถมและมัธยมศึกษาจะมีแนวโน้มร่วมมือร่วงมือกันจัดตั้งเป็นศูนย์กลางใช้ร่วมกันในกลุ่มโรงเรียน และเป็นการบริการที่สะดวกสบาย เพื่อเป็นการประหยัดงบประมาณและมีสื่อการสอนที่มีคุณภาพและมากพอเพียงกับความต้องการ ส่วนสื่อพื้นฐาน เช่น กระเป๋าผนัง แผ่นป้ายต่าง ๆ ฯลฯ ก็จะมีประจำอยู่ในห้องเรียนแล้ว ส่วนในระดับอุดมศึกษาก็จะมีสำนักเทคโนโลยีการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยกลางในการผลิตสื่อและให้บริการกับทุกหน่วยงานในสถาบัน ตลอดจนทำการวิจัยและพัฒนาสื่อให้มีประสิทธิภาพสูง

.....2. ชุดสื่อการสอน (Media package) นักเทคโนโลยีการศึกษาจะผลิตสื่อออกมาเป็นชุดสำเร็จรูปเพื่อสนองตอบความต้องการของครู โดยเน้นเนื้อหาที่ครูส่วนมากสอนนักเรียนไม่ค่อยเข้าใจ ชุดสื่อสำเร็จรูปประกอบด้วย คำแนะนำในการใช้ประกอบการสอนตัวสื่อ แบบฝึกหัดและแบบทดสอบตัวสื่อก็จะเป็นลักษณะ สื่อประสม (Multimedia)

.....3. การปรับปรุงเครื่องมือประกอบการสอน (Improved media equiment) จะมีลักษณะพัฒนาเครื่องมือหลาย ๆ อย่างให้อยู่ในเครื่องมือเดียวกัน เป็นลักษณะเอนกประสงค์ที่มีเครื่องมือชิ้นเดียว แต่ใช้ได้หลายหน้าที่ เช่น เป็นทั้งเครื่องฉายสไลด์และเครื่องฉายภาพโปร่งใส เป็นต้น

.....4. ใช้คอมพิวเตอร์มากขึ้นจนเป็นเรื่องปกติ (Increase utilizing computer) โดยจะนำเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบการสอน มีการผลิตโปรแกรม CAI มากวิชาและมากเนื้อหา เพื่อให้สถาบันการศึกษาได้นำไปใช้ โดยเฉพาะจะทำเป็นลักษณะ Multimedia นอกจากนี้ในสถาบันการศึกษายังนำคอมพิวเตอร์ไปใช้ในการบริหารจัดการมากขึ้นที่เรียกว่า CMI (Computermanagement instruction ) เพื่อความรวดเร็วในการใช้ข้อมูล

.....5. การผลิตสื่อจากท้องถิ่น (Local medias production) การผลิตสื่อโดยใช้วัสดุในท้องถิ่นยังมีความจำเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งจะมีความริเริ่มทั้งรูปแบบวัสดุและเน้นประสิทธิภาพในการใช้ประกอบการสอน

.....6. การเปลี่ยนแปลงสื่อสิ่งพิมพ์ (Printing media) โดยเฉพาะตำราเรียนจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอทั้งด้านเนื้อหาวิชาที่เปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว ลักษณะรูปเล่มและองค์ประกอบต่าง ๆ ที่สำคัญของหนังสือจะเปลี่ยนไปเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของนักเรียน จนในที่สุดจะเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic books)

.....7. การประสานเชื่อมโยงกันระหว่างหน่วยงานในและนอกประเทศจะมีมากขึ้น ทั้งนี้เพราะระบบโลกาภิวัตน์ ทำให้หน่วยงานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษา ได้ติดต่อใกล้ชิดกันอย่างรวดเร็วและสะดวกสบายและด้วยความก้าวหน้าทาง IT (Information Technology)ก็ยิ่งช่วยให้การเชื่อมโยงข้อมูลสะดวกรวดเร็วและมีประมาณมากขึ้นเป็นลำดับ

.....8. สื่อประเภทรายบุคคล (Individual media) เนื่องจากการศึกษาเป็นการศึกษาตลอดชีวิต ฉะนั้นโอกาสที่ผู้เรียนจะเข้าชั้นเรียนจึงน้อยลง ทำให้ทุกคนต้องเรียนด้วยตนเองเมื่อมีเวลาว่างจากการทำงาน ฉะนั้นสื่อประเภทนี้ จึงต้องมีความสมบูรณ์ในตัวที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้เอง ซึ่งสะดวกต่อการพกพาไปได้ มีขนาดกะทัดรัด ใช้ง่าย และจูงใจให้ใช้ อาจจะอยู่ในรูปหนังสือโปรแกรม เทปเสียงหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และอื่น ๆแหล่งที่มา

งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 9 แนวโน้มการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 9 แนวโน้มการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต

2 1. พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ การรวมตัวกันของเทคโนโลยี (Convergence) ต้นทุนที่ถูกลง (Cost reduction) การพัฒนาอุปกรณ์ที่เล็กลง (Miniaturization) การประมวลผลที่ดีขึ้น (Processing Power) การใช้งานที่ง่าย (User Friendliness) สื่อผสม (Multimedia) เวลาและภูมิศาสตร์ (Time S Distance)

3 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสาธารณสุขและการแพทย์ เช่น การลงทะเบียน สนับสนุนการรักษาพยาบาล ระบบการปรึกษาทางไกล Tele radiology เป็นระบบการรับส่งภาพ X-Ray ระบบ telecardiology เป็นระบบการรับส่งคลื่นหัวใจ (ECG) และเสียงปอด เสียงหัวใจ ระบบ Telepathology เป็นระบบรับส่งภาพจากกล้องจุลทรรศน์ เทคโนโลยีสารสนเทศจะช่วยในการ ให้ความรู้แก่ประชาชนของแพทย์ เทคโนโลยีสารสนเทศ ช่วยให้ผู้บริหารสามารถกำหนดนโยบาย และติดตาม ในด้านการให้ความรู้หรือการเรียน การสอนทางไกล

4 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานสาธารณสุขและการแพทย์

5 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การเรียนการสอนโดยใช้เว็บเป็นหลัก อิเล็กทรอนิกส์บุ้ค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์ การสืบค้นข้อมูล อินเทอร์เน็ต

6 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา อิเล็กทรอนิกส์บุ้ค

7 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์

8 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการศึกษา การสืบค้นข้อมูล

9 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ)
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ) ประยุกต์ใช้ในงานทะเบียนของสถานศึกษา งานรับมอบตัว งานทะเบียนเรียนรายวิชา งานประมวลผลการเรียน งานตรวจสอบผู้จบการศึกษา งานส่งนักศึกษาฝึกงาน

10 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสำนักงาน การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการสื่อสารและ โทรคมนาคม ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ ประยุกต์ใช้ในสำนักงานภาครัฐและเอกชน

11 2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ)
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ) การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสารและโทรคมนาคม ในงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

12 ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์
2. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้าน ต่างๆ (ต่อ) ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์

13 เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มในด้านบวก 1) การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2) การพัฒนาให้คอมพิวเตอร์สามารถฟังและตอบเป็นภาษา 3) การพัฒนาระบบสารสนเทศ ฐานข้อมูล ฐานความรู้ 4) การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5) การพัฒนาเครือข่ายโทร คมนาคม 6) การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่

14 เทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต (ต่อ)
แนวโน้มในด้านลบ 1) ความผิดพลาดในการทำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ 2) การละเมิดลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา 3) การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์

15 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
ระบบปัญญาประดิษฐ์ ภาษาธรรมชาติ (Natural Language) โครงข่ายประสาทเทียม (Artificial Neural Network) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ศาสตร์ด้านหุ่นยนต์ (Robotics) ยูบิควิตัสเทคโนโลยี (Ubiquitous technology)

16 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต (ต่อ)
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา นาโนเทคโนโลยี อาณาจักรจิ๋ว นวัตกรรมแห่งอนาคต ตัวอย่าง ของความก้าวหน้าด้านนาโนเทคโนโลยี วัสดุ ฉลาด (Smart materials) ตัวรับรู้ หรือเซ็นเซอร์ (Sensors) โครงสร้างชีวภาพขนาดนาโน (Nanoscale Biostructures) คอมพิวเตอร์แบบควอนตัม คอมพิวเตอร์ดีเอ็นเอ

17 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต (ต่อ)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ โดยเน้น การให้บริการต่อสาธารณะ การบริหารจัดการของรัฐ การติดต่อสื่อสาร และประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ

18 ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต (ต่อ)
รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (ต่อ) ตัวอย่างของรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ในประเทศไทย การติดตามแกะรอยคนร้าย ระบบสารสนเทศสำหรับงานประปา การยื่นแบบแสดงและชำระภาษีผ่านทางอินเทอร์เน็ต จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ การประมูลแบบออนไลน์ผ่านอินเทอร์เน็ต ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริการสาธารณะผ่านอินเทอร์เน็ต บริการจดทะเบียนนิติบุคคลทางอินเทอร์เน็ต การบริการต่อทะเบียนรถ และชำระภาษีรถผ่านอินเทอร์เน็ต การจัดทำหนังสือเดินทาง กองหนังสือเดินทาง

19 e-Citizen e-Citizen ประกอบด้วย ส่วนสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่
Citizen e-DB ฐานข้อมูลประชาชน Citizen e-ID การพิสูจน์ยืนยันตัวบุคคล Citizen e-Service การบริการประชาชน

20 ประโยชน์ที่ได้รับจากการพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์
เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของหน่วยงานรัฐ เพิ่มคุณภาพในการบริการประชาชนให้สะดวกรวดเร็ว สร้างความโปร่งใสในการดำเนินงานและให้บริการ ลดต้นทุนการดำเนินงานและการให้บริการของหน่วยงาน ภาครัฐ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตว่าจะเป็นอย่างไร

แนวโน้มในด้านบวก การพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เชื่อมโยงกันทั่วโลก ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ช่องทางการดำเนินธุรกิจ เช่น การทำธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การผ่อนคลายด้วยการดูหนัง ฟังเพลง และบันเทิงต่างๆ เกมออนไลน์

แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศมีกี่แนวโน้ม

Gartner บริษัทวิจัยและผู้ให้คำปรึกษาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศชั้นนำของโลก ได้วิเคราะห์เกี่ยวกับกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่จะมีผลจากการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั่วโลก โดย Gartner วิเคราะห์ว่า จะมี 9 แนวโน้มกลยุทธ์การใช้เทคโนโลยีที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจริงในปี 2021 ข้างหน้านี้ ซึ่งจะมีดังต่อไปนี้ Internet of Behavior (IoB)

แนวโน้มสําคัญของไอที 5 ประการมีอะไรบ้าง

5 แนวโน้มเทคโนโลยีในปี 2020.
1.Startup เริ่มย้าย Workload กลับจากคลาวด์ ... .
2.ผู้ให้บริการคลาวด์แข่งกันยกระดับมาตรฐานด้านความมั่นคงปลอดภัย ... .
3.Network Automation มีความต้องการสูงขึ้นเพราะเทคโนโลยี AI/ML. ... .
4.Kubernetes จำเป็นจริงหรือ? ... .
5.Steaming Game จาก 5G..

เทคโนโลยีในอนาคตจะมีลักษณะอย่างไร

ดังนั้นอุปกรณ์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในอนาคตมีแนวโน้มเป็นดังนี้คือ มีขนาดเล็กลง พกพาได้ง่าย แต่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น เช่น เก็บข้อมูลได้มากขึ้น ประมวลผลได้เร็วขึ้น ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น โดยมีการผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไว้ในเครื่องเดียว ( all-in-one ) ที่รูปที่ 1.25 ตัวอย่างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ...