ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลงทุน

Delivery Options

ปทุมวัน/ Pathum Wan in กรุงเทพมหานคร/ Bangkok, 10110

CHANGE

แบบธรรมดา

3 - 10 วัน

฿64.00

สามารถเก็บเงินปลายทางได้

Return & Warranty

ส่งสินค้าคืนร้านค้าได้โดยตรงภายใน 7 วัน

เหตุผลเปลี่ยนใจสามารถใช้ได้ เฉพาะสินค้าที่ยังไม่ถูกเปิดและอยู่ในสภาพสมบูรณ์

ไม่มีการรับประกันสินค้า

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการลงทุน

สิทธิพิเศษลูกค้าใหม่ลดสูงสุด 50% เฉพาะในแอปเท่านั้น

สแกนผ่านโทรศัพท์มือถือ

Sold by

ศูนย์หนังสือจุฬาฯ-ม.บูรพา

Chat

คะแนนร้านค้า

99%

จัดส่งตรงเวลา

96%

อัตราการตอบแชท

ข้อมูลไม่เพียงพอ

GO TO STORE

I20==;,.
ࣈ߅H=ɶ$. $=0$H Ĩ-؈2Ę$%

6इ
ৣ .ܳI$;‫=
=ڏ‬.0 ؈$ .=5=.‫؜‬2L&

Investment Consultant: Plain Products

ความรูŒพื้นฐานเก่ียวกับการเงินและการลงทุน

หลักสูตรผูŒแนะนําการลงทุนตราสารทั่วไป
Investment Consultant: Plain Products

ความรูŒพื้นฐานเก่ียวกับการเงินและการลงทุน
หลักสูตรผูŒแนะนําการลงทุนตราสารท่ัวไป

ผูเขียน ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน

กองบรรณาธิการอํานวยการ ศิริพงษ ไพศาลคงทวี ปรีชา กิจโมกข ซินฮัว แซล้ี

ภาวัช ทองเนื้อแปด และ อดิศรา พุทธธรรมวงศ

ฝายพัฒนาความรูผูประกอบวิชาชีพ

อํานวยการผลิต ฝายพัฒนาความรูผูลงทุน ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

93 ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400

http://www.set.or.th

ออกแบบ หางหุนสวนสามัญ อัศเจรีย

พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2560 จํานวน 10,000 เลม

ราคา 200 บาท

ขŒอมูลทางบรรณานุกรมของสํานักหอสมุดแห‹งชาติ
ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน.
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับการเงินและการลงทุน.– กรุงเทพฯ: ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย, 2560.
328 หนา. -- (หลักสูตรผูแนะนําการลงทุนตราสารทั่วไป).

1. การเงิน. 2. การลงทุน. I. ชื่อเร่ือง.

332
ISBN 978-616-415-029-4

พิมพที่ บริษัท บุญศิริการพิมพ จํากัด โทร. 025792957
จัดจําหนายโดย ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
93 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ถนนรัชดาภิเษก แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทร. 0 2009 9000 E-mail: [email protected]

สงวนลิขสิทธิ์
หามทําลอกเลียนแบบไมวาสวนใดสวนหน่ึงของหนังสือ นอกจากจะไดรับอนุญาต

คํานํา

ตลาดการเงินนับเปนกลไกท่ีสําคัญของประเทศ เนื่องจากเปนแหลงของการจัดสรรทรัพยากร
ทางการเงินหรือเงินทุนระหวางผูตองการใชและผูท่ีขาดแคลนเงินทุน เพ่ือใหมีการใชทรัพยากรเงินทุนนี้
อยางเกิดประโยชนสูงสุด ดังนั้น จึงจําเปนอยางย่ิงที่บุคลากรที่เก่ียวของในธุรกิจการเงินของประเทศ
ตองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับกระบวนการทํางาน บทบาท และโครงสรางของตลาดการเงิน รวมถึง
การวิเคราะหผลตอบแทนและความเสี่ยงของการลงทุนในหลักทรัพยตางๆ เพ่ือใหการบริหารกลุมหลักทรัพย
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ

โดยเฉพาะผูแนะนําการลงทุน นับเปนอีกหน่ึงบุคลากรที่มีความสําคัญอยางย่ิงตอธุรกิจตลาดทุน
เน่ืองจากเปนผูที่มีสวนสนับสนุนใหประชาชนรูจักการลงทุนเพ่ือสรางความม่ังค่ังใหกับตนเอง ในขณะเดียวกัน
คําแนะนําของผูแนะนําการลงทุน ก็มีสวนชวยผลักดันใหเกิดธุรกรรมการซื้อขายหลักทรัพย ซึ่งถือเปน
ปจจัยสนับสนุนที่สําคัญตอการระดมทุนผานตลาดทุน ซึ่งจะชวยสรางความเขมแข็งอยางย่ังยืนใหกับ
ตลาดทุนไทย อยางไรก็ตาม บุคคลที่จะมาทําหนาที่เปนผูแนะนําการลงทุนไดน้ัน จําเปนตองมีความรูและ
ความเขาใจในเรื่องการเงินและการลงทุนเปนอยางดี ดังนั้น เพื่อเปนการสรางความเช่ือม่ันวาผูลงทุนจะ
ไดรับคําแนะนําการลงทุนไดอยางถูกตองและเหมาะสมน้ัน สํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. จึงไดกําหนดให
ผูที่ตองการจะข้ึนทะเบียนเปนผูแนะนําการลงทุนจะตองผานการทดสอบความรูดังนี้ ความรูพ้ืนฐานดาน
การเงินและการลงทุน ความรูเก่ียวกับกฎระเบียบที่เก่ียวของ และการใหคําแนะนําการลงทุนที่เหมาะสม
ความรูเก่ียวกับการลงทุนในผลิตภัณฑตลาดทุน : ตราสารทั่วไป จึงจะสามารถข้ึนทะเบียนเปนผูแนะนํา
การลงทุนได

หนังสือ “ความรูพื้นฐานดานการเงินและการลงทุน” เปนหนังสือท่ีใชประกอบการทดสอบความรู
พื้นฐานดานการเงินและการลงทุนของผูที่จะมาทําหนาที่เปนผูแนะนําการลงทุน และเปนองคความรูที่สําคัญ
โดยผูที่จะกาวข้ึนมาทําหนาท่ีเปนผูแนะนําการลงทุนได จําเปนตองผานการทดสอบในองคความรูดังกลาว
ซึ่งประกอบไปดวย ความรูเก่ียวกับระบบการเงิน ตลาดการเงิน และสินทรัพยทางการเงิน มูลคาเงินตามเวลา
อัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย ขอมูลทางการเงินเพื่อการวิเคราะหเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม และบริษัท การวิเคราะหหลักทรัพยทางเทคนิค และการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ

ผูจัดทําขอขอบพระคุณ ดร.กฤษฎา เสกตระกูล รองผูจัดการ ดูแลสายงานพัฒนาความรูตลาดทุน
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนอยางสูง ท่ีไดกรุณาริเริ่มโครงการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสราง
ศักยภาพของผูประกอบวิชาชีพในธุรกิจหลักทรัพยใหปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและมีมาตรฐาน
ทัดเทียมกับสากล รวมท้ังไดสงเสริมและสนับสนุนใหการพัฒนาหลักสูตรและการจัดทําหนังสือเลมน้ี
ไดดําเนินไปจนประสบความสําเร็จ นอกจากนี้ ยังไดกรุณาดํารงตําแหนงประธานคณะทํางานกําหนด
มาตรฐานความรูและโครงสรางหลักสูตรผูแนะนําการลงทุนของศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย iii

โดยในโอกาสเดียวกันน้ี ผูจัดทําขอขอบพระคุณคณะทํางานกําหนดมาตรฐานความรูและโครงสรางหลักสูตร
ผูแนะนําการลงทุน ประกอบดวย คุณจอมขวัญ คงสกุล ผูอํานวยการ ฝายนโยบายธุรกิจจัดการลงทุน
สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย คุณจักรกฤษณ ประสาทไทย ผูอํานวยการ
ฝายอาวุโส ผูบริหารฝายทีมผลิตภัณฑการเงินและการลงทุน ธนาคารกรุงไทย จํากัด (มหาชน) รศ.จิรัตน
สังขแกว ผูทรงคุณวุฒิจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร รศ.ดร.พรอนงค บุษราตระกูล ผูทรงคุณวุฒิจาก
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย คุณพิชัย เลิศสุพงศกิจ ผูชวยกรรมการผูจัดการ บล.ธนชาต จํากัด (มหาชน)
คณุ พชิ า สริ โิ ยธนิ ผอู าํ นวยการบรหิ ารสมาคม สมาคมประกนั ชวี ติ ไทย คณุ ภาคภมู ิ ภาคยว ศิ าล รองเลขาธกิ าร
สมาคมบริษัทหลักทรัพยไทย คุณยุพาวดี ตูจินดา รองกรรมการผูจัดการ บลจ.กสิกรไทย จํากัด คุณสุกิจ
ชวลิตากุล นายทะเบียน สมาคมนักวิเคราะหการลงทุน คุณอริยา ติรณะประกิจ รองกรรมการผูจัดการ
สมาคมตลาดตราสารหนไ้ี ทย และ คณุ ศริ พิ งษ ไพศาลคงทวี ผอู าํ นวยการฝา ยพฒั นาความรผู ปู ระกอบวชิ าชพี
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

นอกจากน้ี ผูจัดทําขอขอบพระคุณ คุณทวีรัชต มัททวีวงศ รองกรรมการผูจัดการ บล.ฟนันเซีย
ไซรสั จาํ กดั (มหาชน) ผศ. ดร.ธนาวฒั น สริ วิ ฒั นกลุ อาจารยป ระจาํ ภาควชิ าการเงนิ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร
คุณประวิทย เตชะมหาลาภ ผูอํานวยการ ฝายการตลาดหลักทรัพยตางประเทศ บล.เอเชียพลัส จํากัด
คุณวราภรณ วิบูลคณารักษ ผูชวยกรรมการผูอํานวยการ บล.เคที ซีมิโก จํากัด ดร.วัลภา วงศจันทร
อาจารยประจําภาควิชาการเงิน มหาวิทยาลัยพายัพ คุณวีระชาติ ชุตินันทวโรดม ผูอํานวยการ
ฝายวาณิชธนกิจ บล.เมยแบงก กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) ซ่ึงเปนผูพัฒนาหนังสือเลมนี้
ใหกับศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน รวมทั้ง ผูจัดทําขอขอบพระคุณ รศ.จิรัตน สังขแกว ซึ่งเปน
ผูทําหนาที่พัฒนา กล่ันกรอง และปรับปรุงเนื้อหาของหนังสือเลมนี้ ทําใหการปรับปรุงเน้ือหามีความ
สมบูรณยิ่งข้ึน เพ่ือใหผูสนใจจะศึกษาหาความรูเก่ียวกับเครื่องมือเพ่ือการวิเคราะหการลงทุน ไดใชเปน
แหลงประกอบการคนควาอีกแหลงหน่ึง อันจะเปนประโยชนอยางย่ิงตอการศึกษาเก่ียวกับการลงทุนใน
ข้ันสูงตอไป

ศูนยสงเสริมการพัฒนาความรูตลาดทุน
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ตุลาคม 2560

iv ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

สารบัญ iii

คํานํา 1
3
ส‹วนท่ี 1 ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุน 4
บทที่ 1 ปจจัยแวดลอมของการลงทุนและตลาดการเงิน 11
17
1.1 ปจจัยแวดลอมการลงทุน
1.2 ตลาดการเงิน 19
บทสรุป 19
20
บทท่ี 2 ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน 23
2.1 ลักษณะและประเภทของตราสารการเงิน 30
2.1.1 ตราสารการเงินในตลาดเงิน (money market instruments) 32
2.1.2 ตราสารหน้ีระยะยาว (long-term debt instruments) 33
2.1.3 ตราสารทุน (equity security) 34
2.1.4 ตราสารอนุพันธ (derivative security) 36
2.2 กระบวนการตัดสินใจลงทุน 41
2.2.1 ขั้นตอนการตัดสินใจลงทุน 42
2.2.2 การกระจายความเส่ียงกับการลงทุน
2.2.3 บทบาทของผูแนะนําการลงทุน 43
บทสรุป 45
46
ส‹วนที่ 2 ประเด็นสําคัญของการลงทุน 46
บทท่ี 3 อัตราผลตอบแทนและความเส่ียงจากการลงทุนในหลักทรัพย 48
53
3.1 อัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย 58
3.1.1 องคประกอบของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย
3.1.2 อัตราผลตอบแทนในชวงถือครอง (holding period return: HPR)
3.1.3 อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย (average rate of return)
3.1.4 อัตราผลตอบแทนท่ีคาดหวัง (expected rate of return)

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย v

3.1.5 อัตราผลตอบแทนที่เปนตัวเงินและอัตราผลตอบแทนที่แทจริง 60
3.1.6 อัตราผลตอบแทนหลังภาษี (after-tax rate of return) 66
68
3.2 แนวคิดมูลคาเงินตามเวลาของเงิน (time value of money: TVM) 69
3.2.1 การคํานวณหามูลคาปจจุบันและมูลคาอนาคตของเงินจํานวนเดียว 73
3.2.2 การคํานวณหามูลคาปจจุบันและมูลคาอนาคตของกระแสเงินสดหลายจํานวน 76
3.2.3 อัตราผลตอบแทนทบคา (effective annual rate: EAR) 78
78
3.3 ความเส่ียงจากการลงทุนในหลักทรัพย
3.3.1 ประเภทของความเสี่ยงจากการลงทุนในหลักทรัพย 82
3.3.2 การวัดความเส่ียงจากการลงทุนในหลักทรัพย
(measurement of investment risk) 89
3.3.3 ความสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนและความเส่ียง
จากการลงทุนในหลักทรัพย 90
3.3.4 เปรียบเทียบอัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงจากการลงทุน 92
ในตราสารทุน ตราสารหนี้ และตราสารตลาดเงิน

บทสรุป

บทที่ 4 อัตราผลตอบแทนและความเส่ียงของกลุมหลักทรัพย 95
95
4.1 กลุมหลักทรัพยและการคํานวณอัตราผลตอบแทนคาดหวังของกลุมหลักทรัพย 95
4.1.1 ความหมายและองคประกอบของกลุมหลักทรัพย 96
4.1.2 การคํานวณอัตราผลตอบแทนท่ีคาดหวังของกลุมหลักทรัพย 99
101
4.2 การวัดความเสี่ยงของกลุมหลักทรัพย
4.2.1 ความแปรปรวนรวม (covariance) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (correlation) 103
4.2.2 คาความแปรปรวนและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอัตราผลตอบแทน 109
ของกลุมหลักทรัพย
4.2.3 ประเภทของความเสี่ยงในมุมมองของการกระจายการลงทุน 112
113
4.3 ความสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนและความเสี่ยงตาม CAPM 114
(capital asset pricing model) 120
4.3.1 คาเบตา
4.3.2 ความสัมพันธระหวางอัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการกับคาเบตา
4.3.3 คาเบตาของกลุมหลักทรัพย (portfolio beta)

vi ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

4.4 การประเมินผลการบริหารกลุมหลักทรัพยดวยอัตราผลตอบแทน 124
ที่ปรับคาความเส่ียง 125
4.4.1 Sharpe Model 126
4.4.2 Treynor Model 127
4.4.3 Jensen Model
129
บทสรุป

บทที่ 5 การวิเคราะหเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม 131

5.1 แนวคิดพ้ืนฐานในการวิเคราะหเศรษฐกิจ 133
5.1.1 เครื่องช้ีวัดการบรรลุเปาหมายทางเศรษฐกิจและการดําเนินนโยบายเศรษฐกิจ 133
5.1.2 ตัวเลขทางเศรษฐกิจที่สําคัญ 136
5.1.3 วัฏจักรเศรษฐกิจ 147
5.1.4 การพยากรณเศรษฐกิจ 149

5.2 การวิเคราะหอุตสาหกรรม 151
5.2.1 กระบวนการวิเคราะหอุตสาหกรรม 151
5.2.2 การจําแนกประเภทอุตสาหกรรม 152
5.2.3 ความสัมพันธระหวางวัฏจักรธุรกิจและอุตสาหกรรม 154
5.2.4 ตัวแปรสําคัญที่มีผลกระทบตออุตสาหกรรม 157
5.2.5 การวิเคราะหวัฏจักรชีวิตของอุตสาหกรรม 161
5.2.6 โครงสรางการแขงขันในอุตสาหกรรม 163
5.2.7 การวิเคราะหภาวะการแขงขันในอุตสาหกรรม 164
5.2.8 แหลงขอมูลเพ่ือการวิเคราะหอุตสาหกรรม 169

บทสรุป 170

บทท่ี 6 การวิเคราะหบริษัท 173

6.1 แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะหบริษัท 173
6.1.1 ความหมายและความสําคัญของการวิเคราะหบริษัท 173
6.1.2 แนวคิดและเครื่องมือในการวิเคราะหบริษัทในเชิงคุณภาพ 177

6.2 การวิเคราะหงบการเงิน 187
6.2.1 ความหมายและความสําคัญของการวิเคราะหงบการเงิน 189
6.2.2 การวิเคราะห common size และแนวโนม 189

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย vii

6.2.3 อัตราสวนทางการเงินเพ่ือการวิเคราะหงบการเงิน 192
6.2.4 การประยุกตการวิเคราะหงบการเงินและขอจํากัด
211
ของการใชอัตราสวนทางการเงิน 234
6.2.5 การวิเคราะหและการติดตามความสามารถในการประกอบธุรกิจ 237
237
6.3 การลงทุนที่คํานึงถึงความยั่งยืน 239
6.3.1 ความหมายและความสําคัญของการลงทุนที่คํานึงถึงความย่ังยืน 244
6.3.2 แนวคิดและเคร่ืองมือในการลงทุนที่คํานึงถึงความย่ังยืน

บทสรุป

บทท่ี 7 การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยทางเทคนิค 247

7.1 แนวคิดพื้นฐานของการวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยทางเทคนิค 247
7.1.1 ความหมายและความสําคัญของการวิเคราะหหลักทรัพยทางเทคนิค 248
7.1.2 ลักษณะของขอมูลท่ีนํามาวิเคราะหทางเทคนิค 251
7.1.3 รูปแบบการเปล่ียนแปลงของราคาหลักทรัพย 256
7.1.4 ตัวอยางการประยุกตแนวรับและแนวตานเพื่อการตัดสินใจลงทุน 263

บทสรุป 265

บทท่ี 8 การลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ 267
268
8.1 เหตุผลท่ีพิจารณาหลักทรัพยตางประเทศเปนสวนหน่ึงของกลุมหลักทรัพย 268
8.1.1 เปนการกระจายการลงทุน (diversification) โดยมุงหวังลดความเส่ียง 272
8.1.2 เปนชองทางหน่ึงเพื่อมุงหวังสรางความเติบโตของมูลคากลุมหลักทรัพย
8.1.3 เปนทางเลือกในการลงทุนในธุรกิจหรืออุตสาหกรรมท่ีนาสนใจ 272
แตมิไดเปนหลักทรัพยจดทะเบียนในไทย 272
273
8.2 ชองทางของการลงทุนและผูท่ีเก่ียวของกับการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ 276
8.2.1 ชองทางของการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ 280
8.2.2 ผูที่เก่ียวของกับการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ
280
8.3 ผลตอบแทนและความเส่ียงของการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ 285
8.3.1 การคํานวณอัตราผลตอบแทนในชวงถือครอง (holding period return: HPR)
ของการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ
8.3.2 ความเส่ียงของการลงทุนในหลักทรัพยตางประเทศ

viii ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

8.4 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศและปจจัยกําหนด 288
การเปล่ียนแปลงอัตราแลกเปลี่ยน 288
8.4.1 อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ 289
8.4.2 ตลาดเงินตราตางประเทศ 291
8.4.3 การตีความการเปล่ียนแปลงคาของอัตราแลกเปลี่ยน 293
8.4.4 การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปล่ียนเงินตราตางประเทศ 296
296
8.5 ประเด็นอ่ืนๆ ท่ีตองคํานึงถึงในการลงทุนหลักทรัพยตางประเทศ 297
8.5.1 การจัดสรรวงเงินการซ้ือขายตราสารสกุลเงินตราตางประเทศ 297
8.5.2 หลักทรัพยที่อนุญาตใหลงทุนได 302
8.5.3 คาใชจายตางๆ 304
8.5.4 ความแตกตางของเวลา เกณฑการซ้ือขาย และการชําระราคา 306
8.5.5 ชองทางการติดตามขาวสารและราคาหุนตางประเทศ
307
บทสรุป 309

บรรณานุกรม

ภาคผนวก
- วัตถุประสงคการเรียนรู

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย ix

ปส‹วน˜จที่ 1จัยขแอวงดกลาŒอรมลงทุน

ความรูŒพ้ืนฐานเก่ียวกับการเงินและการลงทุน

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุน

01 และตลาดการเงิน
คําวา “การลงทุน (investment)” ในความหมายแบบกวาง หมายถึง “การจายเงินเพื่อซ้ือสินทรัพย
เชน สินทรัพยทางการเงิน โดยหวังวาสินทรัพยน้ันจะมีคาสูงขึ้น และหรือเพ่ือผูกพันการไดมาซ่ึงกระแส
รายไดจากการถือครองสินทรัพยน้ัน” อาจจําแนกประเภทของการลงทุนเปน (1) การลงทุนท่ีแทจริง (real
investment) เปนการลงทุนในโครงการและหรือกิจการตางๆ เชน การกอต้ังโรงงาน ซ้ือเครื่องจักร การสราง
ระบบสาธารณูปโภค เปนตน อาจกลาวไดวา การลงทุนที่แทจริง เปนการจายเงินเพื่อซ้ือสินทรัพยท่ีแทจริง
(real assets) เพ่ือกอใหเกิดผลผลิตจากสินทรัพยท่ีลงทุน โดยมุงหวังการสรางมูลคาเพิ่มแกเงินที่ลงทุนไป
รวมท้ังสรางกระแสรายไดในรูปกําไรจากการประกอบการ (หากเปนการลงทุนของภาคธุรกิจ) (2) การลงทุน
ทางการเงิน (financial investment) เปนการลงทุนในสินทรัพยการเงิน (financial assets) ซึ่งเปนสิทธิ
เรียกรอง (claims) ในสินทรัพยท่ีแทจริง สิทธิเรียกรองน้ี อาจเปนสิทธิเรียกรองในฐานะเจาของ หรือในฐานะ
เจาหนี้
ตําราเลมน้ีมีเนื้อหามุงเนนการลงทุนทางการเงิน ซึ่งโดยทั่วไปอาจใชคําวา การลงทุนในหลักทรัพย
ท้ังนี้เน่ืองจากตราสารท่ีแสดงสิทธิเรียกรองท่ีกลาวถึงขางตน เรียกกันวาเปน ตราสารการเงิน (financial
instruments) หรือ หลักทรัพย (securities) ตัวอยางของตราสารการเงินหรือหลักทรัพย ไดแก (1) ตราสารทุน
เชน หุนสามัญ (ผูถือมีสิทธิเรียกรองในรายไดในอนาคตและสินทรัพยของกิจการ ในฐานะเจาของกิจการ)
(2) ตราสารหน้ีระยะยาว เชน พันธบัตรรัฐบาล หุนกู (ผูถือมีสิทธิเรียกรองในรายไดในอนาคตและสินทรัพย
ของกิจการ ในฐานะเจาหน้ีของกิจการ) (3) ตราสารหนี้ระยะสั้นในตลาดเงิน ท่ีมีสภาพคลองสูงใกลเคียงเงินสด
เชน ต๋ัวเงินคลัง ตั๋วแลกเงิน (4) นอกจากนั้นตราสารการเงินหรือหลักทรัพย ยังครอบคลุมถึงหลักทรัพย
อนุพันธ (derivative securities) ท้ังหลักทรัพยอนุพันธท่ีเชื่อมโยงโดยตรงกับกิจการผูออกตราสารการเงิน
เชน ใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุนสามัญระยะยาวหรือวอรแรนท และตราสารอนุพันธอ่ืนๆ เชน ใบสําคัญ
แสดงสิทธิอนุพันธ สัญญาซ้ือขายลวงหนาฟวเจอรส เปนตน
ตามที่กลาวขางตนวา เนื้อหาในหนังสือนี้ มุงเนนที่การลงทุนทางการเงินเปนสําคัญ อยางไรก็ตาม
การลงทุนท่ีแทจริง และระบบเศรษฐกิจโดยรวม เปนปจจัยแวดลอมที่สําคัญอยางหน่ึงของการลงทุนทาง
การเงิน ผูลงทุนจึงควรเขาใจในความสัมพันธและความสําคัญของปจจัยแวดลอมเหลานี้ เน้ือหาในบทท่ี 1

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 3

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

จะมุงอธิบายใหเห็นความเช่ือมโยงระหวางระบบเศรษฐกิจและระบบการเงิน การเคลื่อนยายของเงินทุน
ในระบบเศรษฐกิจ โดยเน้ือหาจะมุงเนนโครงสรางของตลาดการเงิน โดยเฉพาะอยางย่ิงตลาดทุน

1.1 ป˜จจัยแวดลŒอมการลงทุน

การลงทุนท่ีแทจริง (real investment) อาจเปนการลงทุนท้ังจากภาครัฐและจากภาคเอกชน ตัวอยาง
การลงทุนที่แทจริงจากภาครัฐ เชน การลงทุนระบบการขนสง เครือขายโทรคมนาคม ระบบสาธารณูปโภค
สรางโรงเรียน สรางฝายเก็บนํ้า เปนตน ตัวอยางการลงทุนที่แทจริงจากภาคเอกชน เชน การลงทุนกอต้ัง
กิจการใหม การขยายโรงงาน การซ้ือเครื่องจักรเพ่ิมเติม การลงทุนในสินคาคงคลัง เปนตน การลงทุน
ท่ีแทจริงเหลานี้ยอมตองอาศัยเงินเพ่ือการลงทุน ซึ่งมาจากเงินออมของภาคเศรษฐกิจตางๆ ไดแก ภาครัฐบาล
ภาคธุรกิจ รวมทั้งภาคครัวเรือน อยางไรก็ตาม ในระบบเศรษฐกิจระดับประเทศ การท่ีจะทําใหผูที่มีเงินออม
กับผูท่ีตองการเงินทุนติดตอกันโดยตรงนั้น แทบจะเปนไปไมได จึงมีความจําเปนตองมีสถาบันการเงิน
และตลาดการเงินมาอํานวยความสะดวกในการระดมเงินออมและจัดสรรเงินทุน ดังนั้น แมจุดมุงหมายหลัก
ของหนังสือนี้จะมุงที่การลงทุนในหลักทรัพยหรือตราสารการเงิน (financial investment) การเขาใจในบทบาท
ของระบบเศรษฐกิจและระบบการเงิน ซ่ึงเปนปจจัยแวดลอมทางการเงินที่สําคัญ จึงชวยใหผูลงทุนเห็น
ความเชื่อมโยงระหวางกันของปจจัยแวดลอมเหลาน้ี

ความเชื่อมโยงของระบบเศรษฐกิจและระบบการเงิน

ในระบบเศรษฐกิจเสรี การจัดสรรทรัพยากรระหวางภาคเศรษฐกิจ ทั้งภาครัฐบาล ภาคธุรกิจ รวมถึง
ภาคครัวเรือน ท่ีมีความตองการใชเงินทุน อาจประสบกับเงินทุนที่มีอยูไมเพียงพอกับความตองการ ดังน้ัน
ระบบการเงิน (financial system) จึงเปนกลไกสําคัญในการระดมเงินทุนจากผูท่ีมีเงินออม แลวจัดสรรไปยัง
ผูท่ีตองการใชเงินทุน หากการจัดสรรเงินทุนมีประสิทธิภาพจะชวยสงเสริมใหเกิดการลงทุน การผลิต
การจางงาน และการบริโภคขยายตัวมากขึ้น ซ่ึงจะสงผลใหระบบเศรษฐกิจขยายตัวและมีเสถียรภาพมาก
ย่ิงข้ึน

อยางไรก็ตาม หากระบบการเงินไมมีประสิทธิภาพ หรือมีแหลงเงินทุนไมเพียงพอกับความตองการ
ใชเงินทุน อาจทําใหตนทุนของเงินทุนสูงข้ึน จนเปนภาระตอภาคการผลิต ซึ่งจะทําใหภาคการผลิตจําเปน
ตองปรับราคาสินคาเพ่ิมข้ึน ทําใหกระทบตอคาครองชีพของภาคครัวเรือน ในกรณีสินคาและบริการ
บางประเภทท่ีภาคครัวเรือนสามารถลดหรือชะลอการบริโภคได การขึ้นราคาสินคาและบริการจะทําใหปริมาณ
ความตองการบริโภคสินคาและบริการของภาคครัวเรือนลดลง ซ่ึงในทายที่สุดเมื่อภาคการผลิตขายสินคา
ไดนอยลง ก็อาจจะตัดสินใจลดปริมาณการผลิต ลดจํานวนพนักงานลง หรืออาจจะเลิกกิจการ ซ่ึงเหตุการณ
ดังกลาวยอมสงผลกระทบในทางลบตอระบบเศรษฐกิจของประเทศอยางไมมีทางหลีกเลี่ยงได ดังน้ัน ระบบ
การเงินจึงมีความเช่ือมโยงและมีความสําคัญกับระบบเศรษฐกิจอยางมีนัยสําคัญ

4 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

กระแสหมุนเวียนของรายไดและคาใชจาย

หากพิจารณาตัวแบบของเศรษฐกิจอยางงาย คือกําหนดใหในระบบเศรษฐกิจมีเฉพาะภาคธุรกิจ
กับภาคครัวเรือน จะสามารถสรุปกระแสการหมุนเวียนของรายไดและคาใชจาย ไดตามรูปที่ 1-1 ทั้งนี้
ภาคธุรกิจผลิตสินคาและบริการ โดยใชปจจัยการผลิตจากภาคครัวเรือน ปจจัยการผลิต (ไดแก ท่ีดิน แรงงาน
ทุน ผูประกอบการ) เหลานี้ ถูกสงไปยังภาคธุรกิจ (ดูลูกศร ก.) ดังนั้น ภาคครัวเรือนจึงมีรายได ไดแก
คาจาง คาเชา ดอกเบี้ย และกําไร จากการอํานวยปจจัยการผลิตดังกลาว (ดูลูกศร ข.) ทั้งน้ี เมื่อภาคธุรกิจ
สงสินคาและบริการไปขายใหครัวเรือน (ดูลูกศร ค.) จึงมีการหมุนเวียนของรายจายซ้ือสินคาและบริการ
จากภาคครัวเรือนไปยังภาคธุรกิจ (ดูลูกศร ง.)

รูปที่ 1-1 แสดงกระแสหมุนเวียนของรายไดŒและค‹าใชŒจ‹าย กรณีตัวแบบเศรษฐกิจอย‹างง‹าย

œ '6&E ę – Ę6
ę6 Ę6A Ę6 1 A &J9 B)4 7E'—

$6 '<
8 œ
ĝ
&5 6' ) 8 – 9I 8 B' 6 < =ę '4 1 6'— $6 '+5 A'1ë
œ . 8 6ę B)4 'è 6'

œ 6Ę D ę
Ę6& 1J; .8 6ę B)4 ' è 6'

ที่มา: ดัดแปลงจาก BEA: Bureau of Economic Analysis, U.S. Department of Commerce, “Measuring the
Economy: A Primer on GDP and the National Income and Product Accounts” October 2014.
http://www.bea.gov/national/pdf/nipa_primer.pdf สืบคนเมื่อธันวาคม 2558

อยางไรก็ตาม ในระบบเศรษฐกิจท่ีดํารงอยูจริงในระดับประเทศ นอกจากภาคธุรกิจและภาค
ครัวเรือนแลว ยังมีภาครัฐ ภาคการเงิน และภาคตางประเทศดวย โดยภาครัฐมีสวนในการซ้ือสินคาและบริการ
จากภาคธุรกิจดวย ทั้งน้ี ภาครัฐอาจมีการจายเงินอุดหนุนใหภาคธุรกิจบางสวน และจายเงินโอน เชน
รัฐสวัสดิการใหภาคครัวเรือน โดยภาครัฐมีรายไดจากภาษีที่จัดเก็บจากภาคครัวเรือนและจากภาคธุรกิจ
สวนภาคการเงินหรือระบบการเงินมีบทบาทในการระดมเงินออม (เชน เงินออมจากภาคครัวเรือน) และจัดสรร
เงินลงทุนไปยังภาคธุรกิจและภาครัฐ สําหรับภาคตางประเทศนั้น มีบทบาทท้ังตอตลาดสินคาและบริการ
(การสงออกและนําเขา) และบทบาทในฐานะผูที่มาลงทุนในระบบการเงินในประเทศ รวมทั้งมีบทบาทระดม
เงินทุนจากระบบการเงินในประเทศออกไปลงทุนนอกประเทศ เนื้อหาในสวนตอไปนี้ จะขยายความในประเด็น
ของบทบาทของระบบการเงินในประเทศ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 5

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

ความหมายและความสําคัญของระบบการเงิน

ภาคธุรกิจมักตองการเงินทุนเพื่อการขยายกิจการและหรือกอตั้งกิจการใหม ภาครัฐก็มีความตองการ
เงินทุนเพ่ือลงทุนในโครงการตางๆ ทางดานภาคครัวเรือนมักตองการกูยืมเงินเพื่อซื้อรถ บาน และสิ่งจําเปน
อ่ืนๆ ในอีกดานหนึ่ง บางสวนของภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน อาจมีรายไดมากกวาคาใชจาย หรือมีเงินออม
เงินออมเหลาน้ี จึงเปนแหลงเงินทุนสําหรับภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคครัวเรือน เม่ือมีการระดมเงินออม
จากแหลงตางๆ มาใชเปนเงินทุนและเงินกูในการดําเนินธุรกิจ การลงทุนในโครงการของภาครัฐ และการ
ใชจายภาคครัวเรือน จึงเกิดการเคล่ือนยายของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจข้ึน

การเคลื่อนยายของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ
รูปที่ 1-2 แสดงแผนผังกระบวนการเคลื่อนยายของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ 3 รูปแบบ คือ
1. การเคลื่อนยายเงินทุนโดยตรง
2. การเคลื่อนยายเงินทุนในตลาดการเงิน โดยมีกิจการวาณิชธนกิจชวยอํานวยความสะดวก
3. การเคล่ือนยายเงินทุนโดยออม ผานตัวกลางทางการเงิน
ท้ังน้ี เพื่อมิใหแผนผังมีความซับซอน ในรูปนี้จึงระบุถึงผูท่ีตองการใชเงินทุนวา “ธุรกิจ” โดยมิได
กลาวถึงภาครัฐและภาคครัวเรือน

การเคลื่อนยายเงินทุนโดยตรง
การเคลื่อนยายเงินทุนจากผูมีเงินออม ไปยังธุรกิจที่ตองการใชเงินทุน อาจเปนการเคล่ือนยายโดยตรง
โดยไมตองอาศัยหนวยงานอ่ืนชวยอํานวยความสะดวก เชน กรณีกิจการขนาดยอมและขนาดเล็ก ท่ีตองการ
ระดมเงินทุนจากบุคคลใกลชิด หรือการกูยืมจากผูรวมทุน การระดมเงินทุนในขอบเขตจํากัดดังกลาว สามารถ
กระทําไดโดยตรง เงินทุนลักษณะน้ี จึงเคลื่อนยายจากผูมีเงินออมไปยังธุรกิจท่ีตองการเงินทุนโดยตรง
ดังแสดงในแผนผังยอย 1 ของรูปที่ 1-2 ท้ังน้ี ในกรณีการระดมเงินทุนสวนของเจาของ เชน การเพิ่มทุน
ของบริษัท คําวา “หลักทรัพยท่ีออกโดยธุรกิจ” หมายถึง หุนสามัญที่ออกใหมเพิ่มเติมเพ่ือระดมเงินทุน
สวนในกรณีการระดมเงินทุนโดยการกูยืม คําวา “หลักทรัพยที่ออกโดยธุรกิจ” หมายถึง สัญญากูยืมเงินระหวาง
ธุรกิจกับผูใหกู

การเคลื่อนยายเงินทุนโดยอาศัยตลาดการเงิน
ในกรณีที่ธุรกิจขนาดใหญและตองการระดมเงินทุนเปนจํานวนมาก ธุรกิจอาจไมสามารถระดมเงินทุน
จากผูมีเงินออมไดโดยตรง ในแผนผังยอย 2 ของรูปท่ี 1-2 แสดงการเคลื่อนยายของเงินทุนจากผูมีเงินออม
โดยธุรกิจผูตองการเงินทุนออกหลักทรัพยมาจําหนายแกผูมีเงินออมที่ตองการลงทุนในตลาดการเงิน
(financial market) (เชน ตลาดตราสารทุน ตลาดตราสารหน้ี) กระบวนการออกหลักทรัพยและจําหนาย
หลักทรัพยในวงกวางเชนนี้ มีกิจการวาณิชธนกิจ (investment banking houses) ชวยอํานวยความสะดวก

6 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

รูปท่ี 1-2 แผนผังกระบวนการเคลื่อนยŒายของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ

åœ 6'A );I1 &ę6&A è < C & ' /)5 '"5 &Ĝ 1I9 1 C & <'
8 ę=%A9 è 11%
'< 8
A è <

žœ 6'A );I1 &ę6&A è < D )6 6'A è C &%9 8
6'+6 8 8
17 +& +6%.4 +

/) 5 '5"&Ĝ /) 5 '5"&Ĝ
1I9 1 C & '< 8

)6 6'A è I911 C & <' 8

(Financial Market)
<'
8 C &% 9
8 6' =%ę 9A è 11%
ę%= A9 è 11%
+6 8 8

A è < 17 +& +6%.4 + A è <

Ÿœ 6'A );I1 &ę6&A è < C &1ę1% Ę6 5+ )6 6 6'A è /)5 '"5 &Ĝ
19I 1 C &
/)5 '"5 &Ĝ +5 )6 6 6'A è
19I 1 C & '<
8

<' 8
+5 )6 6 6'A è
(Financial Intermediary)

A è < A è <

ท่ีมา: Annie Koh, Ser-Keng Ang, Eugene F. Brigham, Michael C. Ehrhardt, Financial Management: Theory
and Practice, An Asia Edition, 1st Edition

ท้ังนี้ ในกรณีท่ีธุรกิจตองการระดมเงินทุนโดยการเพ่ิมทุนสวนของเจาของ คําวา “หลักทรัพยที่ออกโดยธุรกิจ”
หมายถึง ตราสารทุน ไดแก หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิที่ธุรกิจออกมาเพื่อระดมเงินทุน สวนในกรณีท่ีธุรกิจ
ตองการระดมเงินทุนโดยการกูยืม คําวา “หลักทรัพยที่ออกโดยธุรกิจ” หมายถึง หุนกูท่ีธุรกิจผูกูออกมา
จําหนาย ท้ังนี้ ในประเทศไทย “กิจการวาณิชธนกิจ (investment banking houses)” ท่ีกลาวถึงขางตน
เปนหนวยงานหนึ่งในบริษัทหลักทรัพย รวมท้ังธนาคารพาณิชยตางๆ

อน่ึง เน่ืองจากเรื่อง “ตลาดการเงิน” มีสาระสําคัญอยูหลายประเด็นท่ีผูแนะนําการลงทุนพึงทําความ
เขาใจ รายละเอียดเรื่องน้ีจะแยกไปอธิบายในหัวขอ 1.2

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 7

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

การเคล่ือนยายเงินทุนโดยออมผานตัวกลางทางการเงิน
ในแผนผังยอย 3 ของรูปท่ี 1-2 แสดงการเคลื่อนยายเงินทุนโดยออมผานตัวกลางทางการเงิน
(financial intermediary) ท้ังน้ี องคกรที่มีบทบาทสําคัญในการเปนตัวกลางทางการเงิน ไดแก ธนาคารพาณิชย
ซึ่งระดมเงินทุนโดยการรับฝากเงินจากผูมีเงินออม แลวจัดสรรเงินทุนไปยังธุรกิจผูตองการเงินทุนโดยการ
ใหกู ดังนั้น ในกรณีท่ีธนาคารพาณิชยทําหนาที่เปนตัวกลางทางการเงินตามตัวอยางขางตน คําวา “หลักทรัพย
ที่ออกโดยตัวกลางทางการเงิน” จึงหมายถึงเอกสารรับฝากเงิน เชน สมุดคูฝาก และคําวา “หลักทรัพยท่ี
ออกโดยธุรกิจ” จึงหมายถึง สัญญาเงินกูระหวางธุรกิจที่กูยืมเงินกับธนาคารพาณิชยผูใหกู
นอกจากธนาคารพาณิชย สถาบันการเงินอื่นๆ ก็มีบทบาทเปนตัวกลางทางการเงินเชนกัน สถาบัน
การเงิน ทําหนาท่ีเปนตัวกลางระหวางผูใหกู และผูขอกู โดยเปนผูรับความเสี่ยงจากการใหกูยืมแทน โดยมี
รายไดจากความแตกตางระหวางอัตราดอกเบ้ียที่ไดรับจากผูขอกู และอัตราดอกเบ้ียท่ีตองจายใหแกเจาของ
เงินทุน กลาวโดยรวม สถาบันการเงินท่ีมีบทบาทเปนตัวกลางทางการเงิน ไดแก
1. ธนาคารพาณิชย ทําหนาที่เปนตัวกลางในการระดมเงินฝากจากผูฝากเงินเพื่อปลอยใหกูยืมแก

ภาคครัวเรือน ภาคธุรกิจ
2. บริษัทเงินทุน ทําหนาที่ระดมเงินทุนจากประชาชนในรูปของต๋ัวสัญญาใชเงิน และใชเงินนั้น

ในการประกอบกิจการเงินทุนเพ่ือการพาณิชย กิจการเงินทุนเพื่อการพัฒนา กิจการเงินทุน
เพื่อการจําหนายและการบริโภค และกิจการเงินทุนเพ่ือการเคหะ
3. บริษัทเครดิตฟองซิเอร ทําหนาที่ระดมเงินทุนจากประชาชนในรูปของตั๋วสัญญาใชเงิน และใช
เงินน้ันเพื่อใหกูยืม โดยวิธีรับจํานองอสังหาริมทรัพย รับซื้ออสังหาริมทรัพยตามสัญญาขายฝาก
เปนตน
4. สถาบันการเงินเฉพาะกิจ จะมีกฎหมายเฉพาะในการจัดตั้ง โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือสนองนโยบาย
ในการสงเสริมและพัฒนาเฉพาะดาน เชน ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณการเกษตร
ธนาคารออมสิน ธนาคารอาคารสงเคราะห และธนาคารเพ่ือการสงออกและนําเขาแหงประเทศไทย
เปนตน
5. สหกรณออมทรัพยและสหกรณเครดิตยูเนียน ซึ่งสมาชิกจะสะสมทรัพยรวมกันเพ่ือเปนทุน
ดําเนินการใหสมาชิกท่ีมีความเดือดรอนเปนผูกูยืมนําไปใช และผลประโยชนที่เกิดข้ึนจะจัดสรร
สูสมาชิกในรูปแบบของดอกเบี้ย เงินปนผล และสวัสดิการตางๆ
6. โรงรับจํานํา เปนสถานท่ีรับจํานําส่ิงของเปนประกัน จํากัดจํานวนเงินแตละรายไมเกินหนึ่งแสน
บาท โดยมีขอตกลงวาจะไดไถคืนในภายหลัง
7. บริษัทท่ีใหสินเช่ือ เปนธุรกิจท่ีไมรับฝากเงินจากประชาชน แตใหกูยืมแกผูที่ตองการเงินทุน
เชน บัตรเครดิต และสินเช่ือสวนบุคคล เปนตน
8. ธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต ทําหนาท่ีประกันความเส่ียงโดยการโอนความเส่ียงระหวาง
กลุมท่ีไมตองการความเส่ียงกับกลุมที่สามารถรองรับความเสี่ยงน้ันได โดยธุรกิจประกันภัย

8 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

และประกันชีวิตจะไดรับคาเบ้ียประกัน และสามารถนําเงินที่ระดมไดในรูปของเบี้ยประกันนี้
ไปใหกูหรือลงทุนระยะยาวเพื่อใหมีผลตอบแทนที่สูงข้ึน ทั้งนี้ ธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต
อยูภายใตการกํากับดูแลของสํานักงานคณะกรรมการกํากับและสงเสริมการประกอบธุรกิจ
ประกันภัย (คปภ.)
นอกจากสถาบันการเงินตางๆ แลว กองทุนรวม ก็มีบทบาทเปนตัวกลางทางการเงิน กองทุนรวม
ระดมเงินออมโดยการออกหนวยลงทุนมาจําหนาย และนําเงินที่ไดจากการจําหนายหนวยลงทุน ไปลงทุน
ตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว รวมถึงตัวกลางทางการเงินในรูปแบบอ่ืนๆ ไดแก กองทุนตางๆ ที่ระดมเงินจาก
ลูกจางและนายจาง ไดแก กองทุนประกันสังคม กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ

บทบาทหนาที่ของระบบการเงิน

ระบบการเงิน มีบทบาทหนาที่ในการเปนแหลงเงินทุนแกภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคครัวเรือน ที่
ตองการใชเงินทุน ดังน้ัน จึงอาจกลาวไดวาหนาที่ของระบบการเงินไดครอบคลุมกิจกรรมในดานตางๆ ที่
สําคัญ ดังนี้

สงเสริมการออม (saving function)
ในอดีตชวงท่ียังไมมีระบบการเงินหรือการพัฒนาระบบการเงินยังไมสมบูรณและมีประสิทธิภาพนั้น
หากผูที่มีเงินเหลือใชจากการใชจายของตนและตองการจะออมเงินดังกลาวไวใชในอนาคตอาจสามารถทําได
โดยการเก็บเงินจํานวนดังกลาวไวกับตนเอง ซึ่งการออมในลักษณะดังกลาวน้ีไมสามารถท่ีจะกอใหเกิด
ผลประโยชนท่ีเพิ่มข้ึนจากการออมเงินได ดังนั้น เมื่อมีการพัฒนาระบบการเงิน ในรูปของสถาบันการเงิน
ตางๆ ที่ระดมเงินออมและจัดสรรเงินทุน สถาบันการเงินเหลานี้ ใหบริการในลักษณะของการรับฝากเงิน
แกผูท่ีตองการออมเงิน และสามารถเสนออัตราผลตอบแทนแกผูออมเงินในรูปของดอกเบ้ียเงินฝาก ตอมา
เมื่อมีการพัฒนาตราสารการเงิน เชน หุนกู หุนสามัญ ผูออมจึงสามารถออมเงินในลักษณะของการลงทุน
ในตราสารการเงินเหลาน้ี ดังนั้น ในระบบการเงินท่ีมีการพัฒนา จึงมีชองทางในการสนับสนุน และสงเสริม
การออมสําหรับผูท่ีตองการออมเงินในลักษณะตางๆ หลากหลายย่ิงข้ึน

สนับสนุนการระดมเงินลงทุนและสรางสภาพคลอง (liquidity function)
เมื่อธุรกิจมีความตองการใชเงินลงทุนในปริมาณท่ีมากกวาเงินทุนจากแหลงเงินทุนภายใน (จาก
กําไรสะสมของธุรกิจเอง) ธุรกิจสามารถระดมเงินลงทุนเพิ่มเติมจากผูถือหุนเดิมหรือผูลงทุนอ่ืนๆ ในวงแคบ
อยางไรก็ตาม การระดมเงินลงทุนโดยตรงจากเจาของเงินทุนดังกลาว อาจทําใหธุรกิจไดรับเงินลงทุนใน
ปริมาณท่ีไมเพียงพอตอความตองการ ตอมาเมื่อมีระบบการเงินเกิดขึ้น ธุรกิจจึงมีโอกาสในการระดมเงินลงทุน
ผานระบบการเงินท้ังในประเทศ และตางประเทศเพ่ือใหมีปริมาณเงินลงทุนเพียงพอตอความตองการ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 9

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

ของธุรกิจ ดังน้ัน ระบบการเงินจึงเปนชองทางท่ีธุรกิจสามารถเลือกใชในการระดมเงินลงทุนหรือสนับสนุน
การระดมเงินลงทุนของธุรกิจได

รักษาความม่ังค่ังของเงินออม (wealth function)
จากบทบาทหนาท่ีของระบบการเงินในการสนับสนุนการออมดังท่ีกลาวไวขางตน การออมผาน
ระบบการเงินกอใหเกิดโอกาสในการไดรับผลตอบแทนแกเงินออม ซ่ึงเปรียบเสมือนเปนการรักษาความม่ังคั่ง
หรือมูลคาของเงินออมใหยังคงอยู เน่ืองจากหากผูมีเงินออมเก็บเงินออมไวกับตนเอง เงินออมเหลาน้ัน
ยอมมีการเสื่อมมูลคาลงไปไดตามระยะเวลาท่ีผานไป โดยท่ีการเสื่อมคาหรือลดคาลงของเงินออมน้ันเปนผล
มาจากการเกิดเงินเฟอ (inflation) ในระบบเศรษฐกิจ ผลของการเกิดเงินเฟอจะทําใหอํานาจซ้ือของเงิน
ในจํานวนเทาเดิมลดลง ซ่ึงจะสงผลกระทบกับความม่ังค่ังของเจาของเงินออมในอนาคต ดังน้ัน การออมเงิน
โดยผานระบบการเงินจึงเปนชองทางท่ีสามารถรักษามูลคา หรือความมั่งค่ังของผูมีเงินออมไวใหคงอยูได
ในอนาคต

บริการดานการชําระราคา (payment function)
ในปจจุบันสถาบันการเงิน เชน ธนาคารพาณิชย ซึ่งถือเปนองคประกอบหน่ึงของระบบการเงิน
มีการพัฒนาและปรับปรุงรูปแบบในการใหบริการในลักษณะที่มีความหลากหลายเพิ่มข้ึน เชน การใหบริการ
โอนเงินโดยการตัดยอดบัญชีเงินฝากในการจายชําระคาสินคาหรือบริการตางๆ เชน คาไฟฟา คานํ้าประปา
คาโทรศัพท เปนตน

การประเมินเครดิต (credit function)
การระดมเงินทุนจากแหลงเงินทุนนอกธุรกิจ หากผูขอกูมีความนาเชื่อถือ หรือมีเครดิตที่ดีในสายตา
ของผูใหกูยอมสงผลใหโอกาสท่ีผูขอกูจะไดรับเงินลงทุนตามท่ีตองการมีมากย่ิงขึ้น รวมท้ัง ยังสงผลตอตนทุน
ในการกูยืมของผูขอกูรายน้ันๆ ตํ่าลงอีกดวย

ชองทางในการบริหารความเส่ียง (risk function)
การบริหารความเส่ียงในการดําเนินธุรกิจ เชน ในกรณีท่ีธุรกิจมีการประกอบกิจการหรือดําเนินธุรกิจ
ในการนําเขาสินคาจากตางประเทศทําใหรายไดจากการดําเนินธุรกิจเปนเงินสกุลบาท ขณะท่ีธุรกิจมีรายจาย
เปนเงินสกุลตางประเทศ ดังนั้น หากเกิดการออนคาลงของเงินบาทยอมสงผลถึงตนทุนของธุรกิจท่ีจะ
เพ่ิมสูงขึ้นจากการท่ีตองใชเงินบาทมากขึ้นในการจายชําระราคาสินคาจากตางประเทศในราคาเดิม ดังน้ัน
ธุรกิจอาจใชการบริหารความเสี่ยงผานระบบการเงินโดยใชการทําสัญญาซ้ือเงินสกุลตางประเทศลวงหนา
(forward) กับธนาคารพาณิชยใหตรงกับความตองการใชเงินสกุลดังกลาวในอนาคต บนระดับอัตราแลกเปลี่ยน

10 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

ที่ไดตกลงกันไวลวงหนาเพ่ือเปนการปองกันความเสี่ยงจากการออนคาลง (depreciation) ของเงินบาท
ในอนาคต

เปนเคร่ืองมือในการบริหารเศรษฐกิจของภาครัฐ (policy function)
ในการบริหารเศรษฐกิจใหประสบผลสําเร็จดังท่ีรัฐบาลไดตั้งเปาหมายไว ระบบการเงินถือเปนอีก
เคร่ืองมือหนึ่งท่ีสําคัญในการบริหารเศรษฐกิจของรัฐบาล ปจจุบันภายใตระบบการบริหารจัดการคาเงินบาท
ในระบบอัตราแลกเปล่ียนลอยตัวที่มีการจัดการ (managed float) พบวาภาครัฐบาล โดยธนาคารแหง
ประเทศไทยไดใชชองการควบคุมดูแลคาเงินบาทใหมีเสถียรภาพโดยการดําเนินนโยบายผานระบบการเงิน
เน่ืองจากหากคาเงินบาทมีการแข็งคาขึ้นอยางตอเน่ืองก็จะสงผลกระทบตอธุรกิจการสงออกสินคา หรือ
ในทางกลับกันหากคาเงินบาทมีการออนตัวลงอยางตอเนื่อง ก็จะสงผลกระทบตอธุรกิจการนําเขาสินคา
เชนกัน ดังน้ัน ธนาคารแหงประเทศไทยจึงมีการเขาซื้อขายเงินบาท หรือเงินตราสกุลตางประเทศท่ีสําคัญ
ผานระบบการเงิน เพื่อรักษาเสถียรภาพของคาเงินบาทไมใหแข็งคาหรือออนคาลงเกินไป นอกจากนั้น
ยังสามารถใชวิธีการควบคุมปริมาณเงินที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ เชน การปรับอัตราการกันเงินสํารอง
ของธนาคารพาณิชยเม่ือเปรียบเทียบกับปริมาณเงินฝาก การปรับเพิ่มหรือลดอัตราดอกเบ้ียเพื่อปรับ
สภาพคลองของธนาคารพาณิชย หรือการปรับอัตราดอกเบ้ียในตลาดซื้อคืนพันธบัตร เปนตน เพื่อเปนการ
ลดหรือเพ่ิมสภาพคลองในระบบการเงิน ซ่ึงจะสงผลกระทบตออัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินและแนวโนม
ของอัตราเงินเฟอในอนาคต

1.2 ตลาดการเงิน

ความหมายและประเภทของตลาดการเงิน
ความหมายและความสําคัญของตลาดการเงิน

ตลาดการเงิน (Financial Market) หมายถึง แหลงกลางเพ่ือการซ้ือและขายหลักทรัพยหรือตราสาร
การเงิน เชน ตราสารทุน (ไดแก หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ) ตราสารหนี้ (เชน ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล
หุนกู) ตราสารอนุพันธ (เชน สัญญาฟวเจอรส สัญญาออปชัน) ตลาดการเงินจึงชวยเช่ือมโยงผูมีเงินออม
ผูมีเงินลงทุน กับผูตองการใชเงินทุน ความสําคัญของตลาดการเงินมีดังตอไปน้ี

• ผูออมไดรับผลตอบแทน ในรูปของดอกเบ้ียรับ (ในกรณีลงทุนในตราสารหนี้) เงินปนผล (ในกรณี
ลงทุนในตราสารทุน) และในรูปของมูลคาท่ีสูงข้ึนของเงินลงทุน รวมทั้งผลตอบแทนในรูปแบบอ่ืนๆ
เชน ไดรับสิทธิในการซ้ือหุนเพ่ิมทุน หรือตราสารอื่นๆ รวมท้ังผลตอบแทนจากการนํากระแสราย
ไดไปลงทุนตอ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 11

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

• ผูตองการเงินสามารถมีเงินทุนสําหรับใชในโครงการตางๆ ทําใหเกิดการขยายตัวในการลงทุน
ท่ีแทจริง สามารถผลิตสินคาและบริการไดเพ่ิมมากข้ึน สงผลใหเกิดการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ

• ประชาชนหรือผูบริโภคมีมาตรฐานการครองชีพที่ดีข้ึน เน่ืองจากการลงทุนขยายตัว มีการจางงาน
มากขึ้น มีการซื้อปจจัยการผลิตตางๆ ระดับรายไดของประชาชนท่ัวไปดีข้ึน ขณะเดียวกันผูลงทุน
ผลิตสินคาและบริการในระบบเศรษฐกิจก็จะขายสินคาและบริการไดมากข้ึน การลงทุนก็จะขยาย
ตัวออกไปอีก เศรษฐกิจโดยสวนรวมของประเทศก็จะขยายตัว เกิดการจางงาน

ประเภทของตลาดการเงิน

อาจจําแนกประเภทของตลาดการเงินไดหลายวิธี ข้ึนอยูกับเกณฑที่ใชในการจัดกลุมตามความ
เหมาะสม เชน จําแนกประเภทของตลาดการเงินตามประเภทของหลักทรัพยหรือตราสารการเงินท่ีมีการ
ซ้ือขายในตลาดการเงิน จําแนกตามอายุครบกําหนดไถถอนเมื่อแรกออกของตราสารการเงิน จําแนกตาม
สิทธิเรียกรองของผูถือหลักทรัพยหรือตราสารท่ีมีตอบริษัทผูออกหลักทรัพย จําแนกตามการเปนหลักทรัพย
ออกใหมหรือหลักทรัพยที่หมุนเวียนอยูแลวในตลาด เปนตน

ตลาดตราสารพื้นฐาน ตลาดตราสารอนุพันธ และตลาดเงินตราตางประเทศ
ประเภทของตลาดการเงินจําแนกตามชนิดของหลักทรัพยหรือตราสารการเงิน ท่ีมีการซ้ือขายใน
ตลาดการเงิน ไดแก (1) หลักทรัพยหรือตราสารพ้ืนฐาน อันเปนหลักทรัพยที่ผูถือหลักทรัพย มีสิทธิเรียกรอง
โดยตรงตอบริษัทผูออกหลักทรัพย (2) หลักทรัพยอนุพันธหรือตราสารอนุพันธ อันเปนหลักทรัพยท่ีผูถือ
อาจมีสิทธิหรือมีภาระผูกพัน (แลวแตวาจะเปนอนุพันธประเภทใด) ที่จะซื้อหรือขายหลักทรัพยที่ระบุ
ณ วันเวลาขางหนาตามขอสัญญาที่ระบุไวแลวในตราสารนั้นๆ ตัวอยางเชน สิทธิซื้อหุนสามัญ สิทธิขาย
หุนสามัญ ภาระผูกพันในการซื้อหุนสามัญ ภาระผูกพันในการขายหุนสามัญ เปนตน และ (3) เงินตรา
ตางประเทศ ตามรูปท่ี 1-3 แสดงโครงสรางของตลาดการเงินในประเทศไทย ไดจําแนกตลาดการเงิน (financial
market) ออกเปน 3 ตลาด ไดแก (1) ตลาดตราสารพื้นฐาน (basic security market) (2) ตลาดตราสาร
อนุพันธ (derivative market) และ (3) ตลาดเงินตราตางประเทศ (foreign exchange market)

ตลาดเงินและตลาดทุน
หลักทรัพยหรือตราสารการเงินแตละชนิด ลวนมีอายุครบกําหนดไถถอนแตกตางกัน บริษัทหรือ
ภาครัฐท่ีตองการเงินกูยืมผานตลาดการเงิน โดยการออกตราสารหน้ีมาจําหนายแกผูมีเงินออม ยอมตอง
กําหนดอายุไถถอนของตราสารหนี้น้ันๆ เชน ตั๋วเงินคลังรุนหนึ่งกําหนดอายุไถถอนเม่ือแรกออกเทากับ
63 วัน ตั๋วเงินคลังอีกรุนหน่ึงกําหนดอายุไถถอนเม่ือแรกออกเทากับ 90 วัน พันธบัตรรัฐบาลรุนหนึ่งกําหนด
อายุไถถอนเม่ือแรกออกเทากับ 5 ป พันธบัตรรัฐบาลอีกรุนหน่ึงกําหนดอายุไถถอนเม่ือแรกออกเทากับ 7 ป

12 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

รูปที่ 1-3 โครงสรŒางของตลาดการเงินในประเทศไทย

)6 6'A è
(Financial Market)

)6 '6.6'"÷J 6 )6 '6.6'1 <"5 Ĝ )6 A è '6 Ę6 '4A ,
(Basic Security Market) (Derivative Market) (Foreign Exchange Market)

)6 A è )6 < ,= &Ĝ ;J1 6&1 <"5 Ĝ
(Money Market) (Capital Market) (Exchange)

6' ;J1 6& 1 ,= &Ĝ
(Over-the-Counter)

)6 '6.6'/ 9J )6 '6.6' <
(Bond Market) (Equity Market)

)6 B' 1 '6.6'/ 9J )6 '1 1 '6.6'/ 9J )6 B' 1 '6.6' < )6 '1 1 '6.6' <
(Primary Market) (Secondary Market) (Primary Market) (Secondary Market)

6'A. 1 6& Ę1 '4 6 ,= &Ĝ ;J1 6& '6.6'/ 9J 6'A. 1 6& Ę1 '4 6 ,= &Ĝ ;J1 6& '6.6' <
(Public Offering) (Exchange) (Public Offering) (Exchange)

6'A. 1 6&B A "64A
64
6' ;J1 6& 1 ,= &Ĝ 6'A. 1 6&B A "64A
64
6' ;J1 6& 1 ,= &Ĝ
(Private Placement) (Over-the-Counter) (Private Placement) (Over-the-Counter)

6'A. 1 6& Ę1 '4 6
A ğ '5J B'

(Initial Public Offering)

หุนกูของบริษัทมหาชนแหงหน่ึงกําหนดอายุไถถอนเม่ือแรกออกเทากับ 10 ป เปนตน ทั้งน้ี ตัวอยางขางตน
บงบอกถึงอายุไถถอนของตราสารหน้ี ในขณะที่ตราสารทุน (ไดแก หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ) ไมมีอายุไถถอน
แตเปนตราสารที่มีอายุคงเหลือเทากับอายุคงเหลือของกิจการผูออกตราสารทุน ทั้งนี้ โดยทั่วไปถือวา
กิจการจะดํารงอยูตลอดไปถึงอนันต ดังนั้น หากจําแนกตลาดตราสารพ้ืนฐาน (basic security market)
ตามอายุครบกําหนดไถถอนเม่ือแรกออกของตราสารการเงิน ในรูปที่ 1-3 จึงจําแนกตลาดตราสารพื้นฐาน เปน
(1) ตลาดเงิน (money market) เปนตลาดซ้ือขายตราสารที่มีอายุไมเกิน 1 ป เชน ตั๋วแลกเงิน ต๋ัวสัญญาใช
เงินชนิดเปล่ียนมือได บัตรเงินฝากชนิดเปล่ียนมือได ตั๋วเงินคลัง เปนตน โดยผูออกตราสารเหลาน้ี
ตองการกูยืมระยะสั้นเพื่อเสริมสภาพคลองของกิจการ และเปนเงินทุนหมุนเวียนสําหรับการทําธุรกรรมปกติ
ในแตละวัน ทางดานผูลงทุนในตลาดเงิน เปนผูท่ีตองการลงทุนในระยะสั้นๆ ในตราสารท่ีมีสภาพคลองสูง
และ (2) ตลาดทุน (capital market) เปนแหลงกลางสําหรับซื้อขายตราสารที่มีอายุมากกวา 1 ป

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 13

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

ตลาดตราสารหน้ีและตลาดตราสารทุน
ดังไดกลาวขางตนวา หลักทรัพยหรือตราสารพ้ืนฐาน เปนหลักทรัพยท่ีผูถือหลักทรัพยมีสิทธิ
เรียกรองโดยตรงตอบริษัทผูออกหลักทรัพย จึงสามารถจําแนกหลักทรัพยพื้นฐานออกเปน 2 ประเภทใหญๆ
ไดแก (1) ตราสารทุน อันเปนหลักทรัพยที่ผูถือมีสิทธิเรียกรองในฐานะเจาของตอบริษัทผูออกหลักทรัพย
และ (2) ตราสารหนี้ อันเปนหลักทรัพยที่ผูถือมีสิทธิเรียกรองในฐานะเจาหนี้ตอผูออกหลักทรัพย ดังน้ัน
ตามรูปท่ี 1-3 จึงจําแนกตลาดทุน (capital market) ออกเปน (1) ตลาดตราสารหนี้ (bond market) เปน
แหลงกลางในการซื้อขายตราสารหนี้ ทั้งตราสารหนี้ภาครัฐและภาคเอกชน โดยในทางปฏิบัตินั้น ตราสารหนี้
ระยะสั้นก็มีการซ้ือขายในตลาดตราสารหน้ีดวยเชนกัน (2) ตลาดตราสารทุน (equity market) เปน
แหลงกลางสําหรับซ้ือขาย หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ รวมทั้งตราสารหรือหลักทรัพยอ่ืนๆ ท่ีเก่ียวของกับ
ตราสารทุน เชน ใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซ้ือหุนสามัญระยะยาว (warrant) ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ
(derivative warrants) เปนตน

ตลาดแรกและตลาดรอง
กอนที่จะกลาวถึงการจําแนกตลาดการเงินในสวนของตลาดตราสารหนี้และตลาดตราสารทุนเปน
สองลักษณะ คือ ตลาดแรกและตลาดรองนั้น หากยอนกลับไปพิจารณารูปท่ี 1-2 แผนผังกระบวนการการ
เคลื่อนยายของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในแผนผังยอย 2 ซ่ึงแสดงการเคล่ือนยายเงินทุนใน
ตลาดการเงิน โดยมีกิจการวาณิชธนกิจอํานวยความสะดวก ซ่ึงคัดมากลาวซ้ําตามแผนผังตอไปน้ี

6'A );I1 &ę6&A è < D )6 6'A è C &%9 8
6'+6 8 8
17 +& +6%.4 +

/) 5 '5"&Ĝ /)5 '"5 &Ĝ
19I 1 C & '<
8
)6 6'A è 19I 1 C & <'
8

'<
8 (Financial Market) ę=%A9 è 11%
C &%9
8 6'

+6 8 8

A è < 17 +& +6%.4 + A è <

ดานซายของแผนผัง แสดงโดยนัยวา เม่ือธุรกิจตองการระดมเงินทุนจากผูมีเงินออม โดยการ
ออกหลักทรัพยหรือตราสารการเงิน หลักทรัพยนั้นเปนหลักทรัพยที่ธุรกิจออกมาใหม เชน ออกหุนเพ่ิมทุน
ออกหุนกูเพื่อกูยืมเงิน เปนตน เม่ือผูมีเงินออมซ้ือหลักทรัพยเหลาน้ัน ธุรกิจก็จะมีเงินเพื่อการลงทุนเพ่ิมข้ึน
กลาวคือ ในกรณีท่ีธุรกิจออกหุนสามัญเพิ่มทุน เมื่อผูมีเงินออมซ้ือหุนสามัญเหลาน้ัน เงินทุนสวนของเจาของ
ธุรกิจก็จะเพิ่มขึ้น ในกรณีที่ธุรกิจออกหุนกู เมื่อผูมีเงินออมซื้อหุนกูเหลาน้ัน เงินทุนจากแหลงหนี้ของธุรกิจ
ก็จะเพ่ิมข้ึน การซื้อขายหุนสามัญออกใหมและหรือหุนกูท่ีธุรกิจออกมาจําหนายใหม เรียกวา เปนการซ้ือขาย

14 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

ในตลาดแรก (primary market) ซึ่งไดแก กลองกลางแผนผังยอย 2 ในรูปที่ 1-2 และเมื่อมีการเปล่ียนมือ
การถือครองหลักทรัพยนั้น เชน มีการซ้ือขายหลักทรัพยระหวางผูลงทุนดวยกันเอง เรียกตลาดที่ผูลงทุน
ทําธุรกรรมซ้ือขายหลักทรัพยเพื่อเปลี่ยนมือนี้วา ตลาดรอง (secondary market)

อยางไรก็ตาม เนื่องจากในรูปที่ 1-3 ไดจําแนกตลาดทุน (capital market) ออกเปน ตลาดตราสารหน้ี
(bond market) และตลาดตราสารทุน (equity market) ดังน้ัน หากจําแนกตลาดสองประเภทดังกลาว
ตามการเปนหลักทรัพยออกใหมหรือหลักทรัพยท่ีหมุนเวียนอยูแลวในตลาด จะสามารถจําแนกตลาด
ตราสารหน้ี (bond market) ออกเปน ตลาดแรกของตราสารหนี้กับตลาดรองของตราสารหน้ี และจําแนก
ตลาดตราสารทุน (equity market) ออกเปน ตลาดแรกของตราสารทุนกับตลาดรองของตราสารทุน อนึ่ง
อันที่จริงแลวตราสารท่ีซ้ือขายในตลาดเงิน (money market) ก็มีท้ังตราสารการเงินระยะส้ันที่ธุรกิจและรัฐบาล
ออกมาใหม และตราสารการเงินระยะส้ันที่หมุนเวียนในตลาดเงินอยูแลว ทําใหสามารถจําแนกตลาดเงิน
(money market) ออกเปน ตลาดแรกของตลาดเงินกับตลาดรองของตลาดเงินดวยเชนกัน อยางไรก็ตาม
ในรูปที่ 1-3 มิไดระบุรายละเอียดสวนนี้ลงไป

■ ตลาดแรก: การเสนอขายหลักทรัพยตอประชาชนและการเสนอขายหลักทรัพยแบบเฉพาะเจาะจง
เมื่อธุรกิจออกหลักทรัพยจําหนายในตลาดแรก ธุรกิจอาจเสนอขายหลักทรัพยแกประชาชนทั่วไป
ในวงกวาง หรือที่เรียกวา Public Offering (PO) และหรืออาจเสนอขายแกผูลงทุนรายใดรายหน่ึง หรือ
กลุมใดกลุมหน่ึงเปนการเฉพาะเจาะจง เชน สถาบันการเงิน กองทุน หรือผูลงทุนตางประเทศ ซ่ึงเรียกวา
Private Placement (PP) ดังปรากฏในรูป 1-3 ท้ังดานตลาดแรกของตราสารหน้ีและตลาดแรกของ
ตราสารทุน ทั้งน้ี ในกรณีท่ีบริษัทระดมเงินทุนโดยการจําหนายหุนสามัญ เพ่ือเปลี่ยนรูปแบบกิจการจากบริษัท
ในครอบครัวมาเปนบริษัทมหาชน หรืออาจเปนกรณีรัฐวิสาหกิจแปรสภาพเปนบริษัทมหาชน เรียกธุรกรรม
ในกรณีเหลานี้วา การเสนอขายหุนสามัญแกประชาชนทั่วไปในวงกวางเปนครั้งแรก (initial public offering
หรือ IPO)

■ ตลาดรอง: ศูนยซ้ือขายหลักทรัพยและการซื้อขายหลักทรัพยนอกศูนย
ตลาดรอง (secondary market) เปนตลาดท่ีถูกจัดตั้งข้ึนเพื่ออํานวยความสะดวกใหผูลงทุนสามารถ
ซ้ือขายหลักทรัพยหรือตราสารการเงินที่ออกจําหนายหมุนเวียนอยูแลวไดสะดวกขึ้น โดยการซ้ือขาย
เปล่ียนมือในตลาดรองอาจเพ่ือเปนการซื้อขายใหสอดคลองกับความตองการเงินทุนในชวงเวลานั้น หรือ
เปนการซ้ือขายเพื่อมุงหวังทํากําไรจากความแตกตางระหวางราคาขายกับราคาซื้อหลักทรัพย ท้ังนี้ การ
ซ้ือขายหลักทรัพยในตลาดรองนั้น มิไดมีการเคลื่อนยายของเงินทุนเขาสูธุรกิจผูออกตราสารเหมือนใน
ตลาดแรก แตการดํารงอยูของตลาดรองจะมีสวนเอ้ือใหการระดมเงินทุนในตลาดแรกทําไดงายขึ้น

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 15

ป˜จจัยแวดลŒอมของการลงทุนและตลาดการเงิน

อาจจําแนกประเภทของตลาดรองตามลักษณะการจัดตั้ง ไดแก
(1) ในกรณีท่ีมีการจัดตั้งอยางเปนทางการ เกิดเปนศูนยหรือแหลงรวมการซื้อขายเปลี่ยนมือ
หลกั ทรพั ย มกั เรยี กตลาดรองในลกั ษณะนวี้ า ศนู ยซ อ้ื ขายหลกั ทรพั ยอ ยา งเปน ทางการ (organized exchange)
ไดแก
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย (The Stock Exchange of Thailand)
เปนตลาดท่ีจัดต้ังข้ึนอยางเปนทางการตามพระราชบัญญัติตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
พ.ศ. 2517 เพ่ือทําหนาที่อํานวยความสะดวกและสงเสริมการระดมเงินทุนระยะยาวที่มีประสิทธิภาพของ
บริษัทที่มีขนาดใหญ ซึ่งมีทุนชําระแลวหลัง IPO ตั้งแต 300 ลานบาทข้ึนไป และเปนศูนยกลางในการซื้อขาย
แลกเปล่ียนหลักทรัพยตางๆ เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ ใบสําคัญแสดงสิทธิฯ เปนตน
ตลาดหลักทรัพย เอ็ม เอ ไอ (mai)
จัดตั้งขึ้นเพ่ือเปนแหลงระดมทุนของธุรกิจที่มีศักยภาพขนาดกลางและเล็ก ซ่ึงมีทุนชําระแลวหลัง IPO
ต้ังแต 20 ลานข้ึนไป โดยเนนธุรกิจที่มีการเติบโตสูง และมีแนวโนมการเติบโตดีในอนาคต โดยเร่ิมเปดการ
ซ้ือขายหลักทรัพยเม่ือวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2544 ทั้งน้ี การดําเนินงานของตลาดเอ็ม เอ ไอ อยูภายใต
การบริหารงานของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
ตลาดตราสารหนี้ (Thailand Bond Exchange)
ดําเนินการในฐานะตลาดรองตราสารหน้ี ใหบริการครอบคลุมผูลงทุนและผูคาตราสารหนี้ท้ังหมด
จัดต้ังข้ึนเมื่อวันท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2546 เปดใหบริการการซื้อขายแกนักลงทุนท่ัวไปดวยระบบการ
ซื้อขายแบบเรียลไทม
บริษัทตลาดสัญญาซ้ือขายลวงหนา (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน)
(The Thailand Futures Exchange Public Co.,Ltd. หรือ TFEX)
เปนศูนยกลางการซ้ือขายอนุพันธเก่ียวกับตราสารทุน ตราสารหน้ี และสินคาโภคภัณฑประเภทอื่นๆ
โดยมีสํานักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. เปนหนวยงานกํากับดูแล สินคาที่สามารถจัดใหมีการซื้อขายไดใน
TFEX ตามท่ีกําหนดในพระราชบัญญัติสัญญาซ้ือขายลวงหนา พ.ศ. 2546 คือ ฟวเจอรส (Futures) ออปชัน
(Options) และออปชันบนสัญญาฟวเจอรส (Options on Futures) ของสินทรัพยอางอิงประเภทตางๆ

(2) ตลาดรองที่มีการซ้ือขายแบบตกลงกันเองนอกศูนยซื้อขาย มักเรียกตลาดรองลักษณะน้ีวา
Over-the-Counter หรือ OTC ทั้งนี้ ในประเทศท่ีตลาดหุนมีระดับการพัฒนากาวไกล ตลาด OTC จะเปน
เครือขายการรวมตัวของผูคาหลักทรัพย (dealer) ดังเชนในประเทศสหรัฐอเมริกา ตลาดรองท่ีมีลักษณะเปน
OTC ที่เปนที่รูจักกันดีไดแก ตลาดหุน NASDAQ หรือ National Association of Securities Dealers
Automated Quotations (ในขณะที่ตลาด NYSE หรือ New York Stock Exchange เปนศูนยซ้ือขาย
หลักทรัพยอยางเปนทางการแหงหน่ึงในประเทศสหรัฐอเมริกา)

16 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

บทสรุป

ตําราเลมน้ี มีเน้ือหามุงเนนที่การลงทุนทางการเงิน ครอบคลุมถึงการลงทุนในตราสารการเงิน
หรือหลักทรัพยกลุมตางๆ ไดแก ตราสารทุน ตราสารหนี้ระยะยาว ตราสารหนี้ระยะส้ันในตลาดเงิน และ
หลักทรัพยอนุพันธ ซึ่งสวนหนึ่งเปนเครื่องมือสําหรับระดมเงินทุนในตลาดการเงิน โดยนิยามตลาดการเงิน
หมายถึง แหลงกลางเพื่อทําการซ้ือและขายหลักทรัพยหรือตราสารการเงิน เชน ตราสารทุน (ไดแก หุนสามัญ
หุนบุริมสิทธิ) ตราสารหน้ีระยะสั้นในตลาดเงิน (เชน ตั๋วเงินคลัง) และตราสารหน้ีระยะยาว (เชน พันธบัตร
รัฐบาล หุนกู) ตราสารอนุพันธ (เชน สัญญาฟวเจอรส สัญญาออปชัน) ตลาดการเงินจึงชวยเช่ือมโยงผูมี
เงินออม ผูมีเงินลงทุน กับผูตองการใชเงินทุน อาจจําแนกประเภทของตลาดการเงินไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับ
เกณฑที่ใชในการจัดกลุมตามความเหมาะสม เชน จําแนกประเภทของตลาดการเงินตามประเภทของ
หลักทรัพยหรือตราสารการเงินท่ีมีการซ้ือขายในตลาดการเงิน จําแนกตามอายุครบกําหนดไถถอน
เมื่อแรกออกของตราสารการเงิน จําแนกตามสิทธิเรียกรองของผูถือหลักทรัพยหรือตราสารที่มีตอบริษัท
ผูออกหลักทรัพย จําแนกตามการเปนหลักทรัพยออกใหม (ตลาดแรก) หรือหลักทรัพยที่หมุนเวียนอยูแลว
ในตลาด (ตลาดรอง) เปนตน

ระบบการเงิน เปนแหลงเงินทุนแกภาคธุรกิจ ภาครัฐ และภาคครัวเรือน ที่ตองการใชเงินทุน
ดังน้ัน บทบาทหนาท่ีของระบบการเงินไดครอบคลุมถึงกิจกรรมสงเสริมการออม สนับสนุนการระดมเงินลงทุน
รักษาความม่ังค่ังของเงินออม บริการดานการชําระราคา การประเมินเครดิต ชองทางในการบริหาร
ความเส่ียงและเปนเคร่ืองมือในการบริหารเศรษฐกิจของภาครัฐ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 17

ความรูŒพ้ืนฐานเก่ียวกับการเงินและการลงทุน

ตราสารการเงิน

02 และการตัดสินใจลงทุน
ในบทที่ 1 ไดกลาวถึงนิยามของ “การลงทุนทางการเงิน (financial investment)” มีใจความวา
“การลงทุนทางการเงิน (financial investment) เปนการลงทุนในสินทรัพยการเงิน (financial assets)
หรือหลักทรัพย (securities) ซึ่งเปนสิทธิเรียกรอง (claims) ในสินทรัพยท่ีแทจริง สิทธิเรียกรองน้ี อาจเปน
สิทธิเรียกรองในฐานะเจาของ หรือในฐานะเจาหนี้ ตราสารที่แสดงสิทธิเรียกรองดังกลาว เรียกวา ตราสาร
การเงิน (financial instruments)” นอกจากนั้น ในบทท่ี 1 ยังไดกลาวถึงโครงสรางของตลาดการเงิน
ซึ่งไดระบุถึงตราสารการเงินประเภทตางๆ ท่ีเก่ียวของกับตลาดการเงินแตละประเภทไวดวย ดังนั้น
ในบทที่ 2 จึงมีเนื้อหาท่ีมุงเนนลักษณะของตราสารการเงิน เพื่อขยายความเขาใจตอเนื่องจากบทท่ี 1 และ
นําไปสูการตัดสินใจจัดสรรเงินลงทุนตอไป

2.1 ลักษณะและประเภทของตราสารการเงิน

ตราสารการเงิน (financial instruments) เปนสัญญาที่แสดงถึงสิทธิเรียกรองที่ผูถือตราสารการเงิน
มตี อ รายไดใ นอนาคตหรอื ตอ สนิ ทรพั ยข องกจิ การผอู อกตราสารนนั้ ๆ นอกจากน้ี ตราสารการเงนิ ยงั มคี วามหมาย
ครอบคลุมถึงตราสารอนุพันธ (derivative securities) ดวย โดยตราสารการเงินประเภทหลักๆ ไดแก

1. ตราสารหน้ี (debt instruments) เปนตราสารท่ีผูถือตราสารมีสิทธิเรียกรอง (ในฐานะเจาหน้ี)
ตอกิจการผูออกตราสารหนี้ (ซึ่งเปนผูขอกูยืมเงิน) ใหจายดอกเบี้ยและใหจายคืนเงินตนในจํานวนและ
ในเวลาตามที่ตกลงกันไว ผูถือตราสารหน้ียังมีสิทธิเรียกรองตอสินทรัพยของกิจการในกรณีเลิกกิจการ ทั้งนี้
หากพิจารณาอายุไถถอนของตราสารหนี้ จึงอาจจําแนกประเภทของตราสารหนี้ตามอายุไถถอน เปนกลุม
ตราสารหนี้ระยะสั้นหรือกลุมตราสารหนี้ในตลาดเงิน (money market fund) กับตราสารหน้ีระยะยาว
(long-term debt instruments)

2. ตราสารทุน (equity instruments) เปนตราสารที่ผูถือตราสารมีสิทธิเรียกรอง (ในฐานะเจาของ)
ตอกําไรของกิจการผูออกตราสารทุนในกรณีท่ีกิจการจายเงินปนผล และมีสิทธิเรียกรองตอสินทรัพยของ
กิจการในกรณีเลิกกิจการ โดยสิทธิเรียกรองของผูถือตราสารทุน เปนสิทธิเรียกรองหลังเจาหนี้ จึงมักเรียกวา
เปนสิทธิเรียกรองจากสวนที่เหลือ (residual claims)

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 19

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

3. ตราสารอนุพันธ (derivative securities หรือ derivatives) เปนตราสารท่ีระบุสัญญาระหวาง
สองฝายในการซ้ือหรือขายสินคาอางอิง ณ เวลาหน่ึงในอนาคต ในราคาและจํานวนที่ไดกําหนดไวแลว

เปนที่นาสังเกตวา เน่ืองจากตราสารหนี้และตราสารทุน เปนตราสารท่ีแสดงถึงสิทธิเรียกรองตอ
กระแสเงินสดของกิจการผูออกตราสาร ดังน้ัน ตามแนวคิดของการประเมินมูลคาตราสารเหลานี้ จึงอยูใน
กรอบของการประเมินจากกระแสเงินสดที่ผูถือตราสารคาดวาจะไดรับตลอดอายุของตราสารนั้นๆ โดยมี
การคิดลดกระแสเงินสดที่คาดวาจะไดรับในอนาคต ใหเปนกระแสเงินสด ณ เวลาปจจุบัน สวนมูลคาของ
ตราสารอนุพันธตางๆ น้ัน เปนมูลคาที่กอเกิด (derived) จากสินทรัพยอางอิง โดยขึ้นกับวาตราสารอนุพันธ
น้ันๆ มีลักษณะเปนสัญญาซื้อหรือสัญญาขาย รวมท้ังเปนสัญญาที่ระบุสิทธิของผูถือ หรือเปนสัญญาผูกพัน
ท้ังสองฝาย

เนื้อหาในสวนตอไปนี้ จะพรรณนาความหมายและลักษณะของตราสารการเงิน โดยจําแนกเปน
ตราสารการเงินในตลาดเงิน ตราสารหน้ีระยะยาว ตราสารทุน และตราสารอนุพันธ

2.1.1 ตราสารการเงินในตลาดเงิน (money market instruments)

เมื่อภาคธุรกิจและหรือภาครัฐ ตองการจัดหาเงินทุนระยะสั้น โดยการออกตราสารหนี้ระยะสั้น
มาจําหนายใหแก ผูมีเงินออมหรือมีสภาพคลองสวนเกินที่ตองการลงทุนแบบใหกูยืมในเวลาสั้นๆ การระดม
เงินทุนในลักษณะนี้ เปนการระดมเงินทุนในตลาดเงิน (money market) ท้ังนี้ คําวาตราสารหน้ีระยะส้ัน
หมายถึง ตราสารหน้ีที่มีอายุครบกําหนดไถถอนเมื่อแรกออกไมเกิน 1 ป

ตราสารการเงินท่ีออกและซื้อขายในตลาดเงินมีลักษณะพ้ืนฐาน ดังนี้
1. ตราสารในตลาดเงิน เปนตราสารหน้ีที่มีอายุไถถอนไมเกิน 1 ป (รวมถึงพันธบัตร และตราสารหนี้
ท่ีมีอายุคงเหลือไมเกิน 1 ป)
2. ตราสารในตลาดเงินสวนใหญ มีสภาพคลอง (liquidity) สูงในการเปล่ียนตราสารเปนเงินสด
3. โดยทั่วไป ตราสารในตลาดเงิน เปนตราสารที่มีความเส่ียงท่ีผูออกตราสารจะผิดนัดชําระหน้ีตํ่า
ท้ังน้ี เน่ืองจากธุรกิจท่ีสามารถระดมเงินทุนโดยการออกตราสารการเงินมาจําหนายแกผูมีเงินออมได
ยอมตองเปนผูมีฐานะเครดิตดีพอสมควร เน่ืองจากการระดมเงินทุนในตลาดการเงิน (ในกรณีน้ีเปนตลาด
การเงินระยะส้ันท่ีเรียกกันวา ตลาดเงิน) เทากับวาธุรกิจระดมเงินทุนจากผูมีเงินออมโดยตรง ตางจาก
การระดมเงินทุนโดยการกูยืมจากสถาบันการเงิน ซ่ึงเปนการระดมเงินทุนโดยออม
4. โดยทั่วไปเปนตราสารท่ีออกมาจําหนายในราคาท่ีมีสวนลด (discount) จากราคาที่ตราไว ดังน้ัน
ผลตอบแทนท่ีผูลงทุนไดรับกรณีถือไปจนครบกําหนดไถถอน จึงอยูในรูปสวนตางระหวางราคาที่ตราไวกับ
ราคาซื้อ
5. โดยทั่วไป ราคาซื้อขายตราสารตลาดเงินในตลาดรอง มีความผันผวนไมรุนแรง เน่ืองจากเปน
ตราสารที่มีอายุสั้น ดังน้ัน เมื่ออัตราดอกเบ้ียในตลาดการเงินเปล่ียนแปลง จะสงผลกระทบตอราคาตราสาร

20 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

ในตลาดเงินคอนขางนอย กลาวคือ เม่ืออัตราดอกเบ้ียในตลาดการเงินสูงขึ้น จะสงผลกระทบใหราคาตลาด
ของตราสารในตลาดเงินต่ําลงเล็กนอย (เม่ือเทียบกับผลกระทบตอราคาตราสารที่มีอายุยาวนาน) และเมื่อ
อัตราดอกเบ้ียในตลาดการเงินต่ําลงจะสงผลกระทบใหราคาตลาดของตราสารในตลาดเงินสูงข้ึนเล็กนอย
(เม่ือเทียบกับผลกระทบตอราคาตราสารท่ีมีอายุยาวนาน)

ตัวอยางของตราสารการเงินในตลาดเงิน ไดแก ต๋ัวเงินคลัง บัตรเงินฝากที่เปล่ียนมือได ต๋ัวเงิน
พาณิชย ซ่ึงมีความหมายครอบคลุม ต๋ัวสัญญาใชเงิน และต๋ัวแลกเงิน

ตั๋วเงินคลัง (treasury bill)

เปนตราสารหนี้ระยะส้ันที่รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังเปนผูออก (หรือเปนผูกู) มีอายุไมเกิน 1 ป
(ปจจุบันตั๋วเงินคลังมีอายุ 28 วัน 91 วัน และ 182 วัน) ต๋ัวเงินคลังในตลาดแรกออกจําหนายโดยวิธีประมูล
สวนลด (discount) จากราคาหนาตั๋ว (face value) โดยรัฐบาลใหคํามั่นสัญญาแกผูถือตั๋วเงินคลังวา จะได
รับชําระเงินตามราคาตราหรือราคาหนาตั๋วเม่ือต๋ัวเงินคลังถึงกําหนดไถถอน ดังนั้น ผลตอบแทนของผูลงทุน
ท่ีถือต๋ัวเงินคลังจนครบกําหนดไถถอน จึงอยูในรูปของสวนตางระหวางราคาตรากับราคาซื้อตั๋วเงินคลัง และ
ผลตอบแทนของผูลงทุนท่ีขายตั๋วเงินคลังกอนครบกําหนดไถถอน (ขายในตลาดรอง) จึงอยูในรูปของสวนตาง
ระหวางราคาขายกับราคาซ้ือตั๋วเงินคลัง

ในตัวแบบ (model) ตางๆ ท่ีใชในการกําหนดอัตราผลตอบแทนท่ีผูลงทุนตองการ มักอางอิงจาก
หลักการท่ีวา อัตราผลตอบแทนท่ีผูลงทุนตองการจากหลักทรัพยใด เทากับ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
ท่ีปราศจากความเสี่ยง (risk-free rate of return) บวกดวยสวนชดเชยความเส่ียง (risk premium) จาก
หลักทรัพยนั้น ทั้งน้ี คาที่ใชเปนตัวแทนของอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนท่ีปราศจากความเสี่ยง มักเปน
อัตราผลตอบแทนจากหลักทรัพยรัฐบาล เน่ืองจากปราศจากความเส่ียงจากการผิดนัดชําระหนี้ (ปราศจาก
default risk) ทั้งนี้ มีบางแนวคิดท่ีสนับสนุนใหใชคาอัตราผลตอบแทนจากต๋ัวเงินคลัง เพราะนอกจากจะเปน
ตราสารท่ีปราศจากความเส่ียงจากการผิดนัดชําระหน้ีแลว ความเสี่ยงจากการเปล่ียนแปลงของอัตราดอกเบ้ีย
(interest rate risk) ยังต่ําดวย กลาวคือ เน่ืองจากตั๋วเงินคลังเปนตราสารระยะสั้น ซ่ึงเมื่ออัตราดอกเบ้ีย
ในตลาดการเงินเปล่ียนแปลง ราคาตลาดของตั๋วเงินคลังจะไมผันผวนรุนแรง นอกจากนี้ การที่ตั๋วเงินคลัง
เปนตราสารที่มิไดตราดอกเบี้ยหรือคูปองท่ีจายระหวางงวด (แตมีผลตอบแทนจากสวนตางระหวางราคา
ปลายงวดกับราคาตนงวด) จึงไมมีความเสี่ยงจากการนําดอกเบ้ียรายงวดไปลงทุนตอ ดังน้ัน อัตราผลตอบแทน
ในรูปตัวเงินจากการลงทุนในต๋ัวเงินคลัง จึงเทากับอัตราผลตอบแทนท่ีผูลงทุนคาดหวัง

ท้ังน้ี กระทรวงการคลังออกต๋ัวเงินคลัง โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อ (1) ชดเชยภาวการณขาดดุล
ของรัฐบาล (2) ใชเปนเคร่ืองมือในการบริหารนโยบายการคลัง และ (3) สรางอัตราดอกเบี้ยอางอิงสําหรับ
ตราสารระยะสั้นใหแกตลาดการเงินของประเทศ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 21

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

ในอดีตผูลงทุนในต๋ัวเงินคลัง ไดแก ธนาคารรัฐและธนาคารพาณิชย แตในปจจุบัน เปดใหผูลงทุน
สถาบันสามารถเขาประมูลซ้ือต๋ัวเงินคลังได ฉะน้ัน ผูลงทุนรายใหญในตั๋วเงินคลังในปจจุบันจึง ไดแก
ธนาคารของรัฐ ธนาคารพาณิชย บริษัทเงินทุน บริษัทหลักทรัพย บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันภัย
กองทุนรวม กองทุนสํารองเล้ียงชีพ กองทุนบําเหน็จบํานาญขาราชการ และกองทุนสวนบุคคล

บัตรเงินฝากท่ีเปลี่ยนมือได (negotiable certificate of deposit หรือ NCD)

โดยทั่วไป บัตรเงินฝาก (certificate of deposit หรือ CD) เปนตราสารท่ีธนาคารพาณิชยออกใหแก
ผูฝากเงินประเภทเงินฝากประจํา ระบุจํานวนเงินฝาก วันครบกําหนดถอนเงิน และอัตราดอกเบี้ย สําหรับ
บัตรเงินฝากที่เปล่ียนมือได (negotiable certificate of deposit หรือ NCD) หมายถึง บัตรเงินฝากที่ผูฝาก
สามารถนําไปขายตอใหแกบุคคลอ่ืนได กอนท่ีบัตรเงินฝากจะครบกําหนดถอนเงิน ทําใหเกิดสภาพคลอง
ในตราสาร

ตั๋วเงินพาณิชย (commercial paper)

เปนตราสารหนี้ระยะส้ันท่ีออกโดยภาคธุรกิจท่ีตองการกูเงินระยะส้ันออกมาจําหนาย อาจอยูในรูป
ของตั๋วสัญญาใชเงิน (promissory note หรือ PN) ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange หรือ BE) หรือต๋ัวแลกเงิน
ท่ีธนาคารรับรอง (banker’s acceptance หรือ BA) ดังนี้

• ต๋ัวสัญญาใชเงิน (promissory note หรือ PN)
เปนตราสารการเงินที่ผูกูยืมเงินหรือลูกหนี้เปนผูออกตั๋ว (ผูออกตั๋วอาจเปนสถาบันการเงิน รัฐบาล
ธุรกิจทั่วไป) โดยออกใหแกผูใหกูหรือเจาหน้ี ขอความในต๋ัวสัญญาใชเงิน สัญญาวาจะชําระเงินจํานวนหนึ่ง
ใหแกผูถือตั๋วสัญญาใชเงินเม่ือครบกําหนด หรือชําระเงินใหแกบุคคลอื่นตามคําสั่งของเจาหน้ี โดยมีการกําหนด
อัตราดอกเบ้ียที่แนนอน ตั๋วสัญญาใชเงินระยะส้ันมีอายุตั้งแต 1 เดือน 3 เดือน แตไมเกิน 1 ป ซ่ึงต๋ัวสัญญา
ใชเงินสามารถเปล่ียนมือกันไดโดยวิธีการสลักหลัง
• ตั๋วแลกเงิน (bill of exchange หรือ BE)
เปนตราสารการเงินระยะสั้น ที่บุคคลหน่ึง (ผูสั่งจาย) สั่งบุคคลอีกคนหนึ่ง (ผูจาย) ใหจายเงินตาม
จํานวนที่ระบุไวในตั๋วแลกเงินนั้น ใหแกบุคคลอีกรายหนึ่ง (ผูรับ) ในวันที่กําหนดบนหนาต๋ัวแลกเงินน้ัน
ทั้งน้ี ผูสั่งจายและผูรับอาจจะเปนบุคคลเดียวกันก็ได หรือผูส่ังจายและผูจายอาจจะเปนบุคคลเดียวกันก็ได
ตั๋วแลกเงินโดยท่ัวไปมักออกโดยบริษัทขนาดใหญที่มีความมั่นคงทางการเงิน ทั้งน้ี ผูรับอาจนําตั๋วแลกเงิน
ไปขายลด (ลดจากจํานวนเงินท่ีระบุไวในต๋ัว) กอนวันถึงกําหนดท่ีผูจายจะจายเงิน ดังน้ัน ต๋ัวแลกเงินจึงเปน
ตราสารอีกชนิดหน่ึงท่ีซ้ือขายหมุนเวียนในตลาดรองของตลาดเงิน

22 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

• ตั๋วแลกเงินที่รับรองโดยธนาคารพาณิชย (banker’s acceptance หรือ BA)
มักเกิดจากธุรกรรมการซ้ือขายสินคา โดยเฉพาะอยางย่ิงในธุรกรรมการนําเขาและสงออกสินคา
โดยผูขายสินคาหรือผูสงออก สั่งใหผูซ้ือสินคาหรือผูนําเขา จายเงินคาสินคาภายในกําหนดเวลาหน่ึง เชน
45 วัน ตามจํานวนเงินที่ระบุไวในต๋ัวแลกเงิน โดยผูซ้ือสินคาหรือผูนําเขาใหธนาคารพาณิชยเปนผูรับรองการ
จายเงินดังกลาว ตราสารชนิดนี้จึงเปนตราสารท่ีมีธนาคารรับรองการจายเงิน จึงเปนตราสารที่มีความเสี่ยง
จากการผิดนัดชําระหนี้ต่ํา ทั้งนี้ ผูขายสินคาหรือผูนําเขา อาจนําต๋ัว BA ไปขายลด (ลดจากจํานวนเงิน
ท่ีระบุไวในตั๋ว) กอนวันถึงกําหนดท่ีผูซ้ือสินคาหรือผูนําเขาจะจายเงิน ดังนั้น BA จึงเปนตราสารอีกชนิดหน่ึง
ที่ซื้อขายหมุนเวียนในตลาดรองของตลาดเงิน
นอกจากต๋ัวเงินคลัง บัตรเงินฝากท่ีเปล่ียนมือได ต๋ัวเงินพาณิชย (PN, BE และ BA) แลว หากมอง
ในภาพกวาง อาจรวมเช็คลงวันท่ีลวงหนา เปนสวนหนึ่งของตราสารการเงินในตลาดเงินอีกประเภทหน่ึง
ท้ังนี้ เช็ค (cheque) คือ ตราสารทางการเงินซ่ึงบุคคลหนึ่งเรียกวาผูส่ังจาย ส่ังใหธนาคารจายเงินจํานวนหน่ึง
แกบุคคลหน่ึงเมื่อถูกทวงถาม หรือใหจายตามคําส่ังของบุคคลอีกคนหนึ่งเรียกวาผูรับเงิน ปจจุบันการใชเช็ค
เปนท่ีนิยมโดยทั่วไป แตสวนใหญจะออกโดยบุคคลธรรมดาและธุรกิจที่มิใชสถาบันการเงิน

2.1.2 ตราสารหนี้ระยะยาว (long-term debt instruments)

เมื่อภาคธุรกิจและหรือภาครัฐ ตองการจัดหาเงินทุนโดยการกูยืมระยะยาว อาจทําไดโดยการออก
ตราสารหนี้ระยะยาว (long-term instruments) เชน พันธบัตรรัฐบาล (goverment bond) หุนกู (corporate
bond) มาจําหนายใหแก ผูมีเงินออมหรือมีสภาพคลองสวนเกิน ที่ตองการลงทุนระยะยาว การระดมเงินทุน
ในลักษณะนี้ เปนการระดมเงินทุนในตลาดทุน (capital market) ทั้งน้ี คําวาตราสารหนี้ระยะยาว หมายถึง
ตราสารหน้ีท่ีมีอายุครบกําหนดไถถอนเมื่อแรกออกตั้งแต 1 ป ขึ้นไป

อยางไรก็ตาม กอนที่จะกลาวถึงความหมายและลักษณะของตราสารหนี้ระยะยาว เนื้อหาสวนนี้จะ
ยอนกลับไปในประเด็นของการหมุนเวียนของเงินทุนในระบบเศรษฐกิจ โดยหากกิจการหน่ึง เชน บริษัท ก.
ตองการระดมเงินทุนโดยการกูยืมเงินระยะยาวเพื่อใชในการลงทุนในสินทรัพยไมหมุนเวียนหรือลงทุนใน
โครงการลงทุนตางๆ ในกรณีท่ีบริษัท ก. เปนกิจการขนาดเล็ก ตองการเงินกูจํานวนไมมากนัก บริษัท ก.
อาจกูยืมโดยตรงจากบุคคลหรือกิจการใกลชิด แตถาไมสามารถกูยืมโดยตรงเชนนั้นได บริษัท ก. อาจยื่นขอ
กูยืมเงินจากธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอื่นๆ อันเปนการจัดหาเงินทุนโดยออม (“โดยออม” เนื่องจาก
เงินออมในระบบเศรษฐกิจ จะถูกระดมเขามายังธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินตางๆ กอน แลวจึง
ถูกจัดสรรไปยังกิจการที่ตองการกูยืมเงิน) การกูยืมเงินโดยวิธีนี้ ธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงินอ่ืนๆ
ในฐานะเจาหนี้ จะตกลงเงื่อนไขรายละเอียดการกูยืมเงินกับกิจการผูกูยืมเงินซึ่งมีฐานะเปนลูกหน้ี และมีการ
ทําสัญญาเงินกู ท่ีระบุจํานวนเงินที่กูยืม เง่ือนไขการชําระคืน อัตราดอกเบ้ีย การคํ้าประกันเงินกู และเง่ือนไข
อื่นๆ กิจการท่ีขอกูยืมเงินในลักษณะน้ี มีท้ังกิจการขนาดใหญ กิจการขนาดกลางและขนาดเล็ก

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 23

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

ในกรณีท่ีกิจการ (สมมติชื่อบริษัท ข.) ตองการเงินกู โดยบริษัท ข. เปนกิจการขนาดใหญเปนท่ีรูจัก
ในแวดวงผูลงทุนคอนขางดี เม่ือตองการกูยืมระยะยาวเพื่อใชในการลงทุนในสินทรัพยไมหมุนเวียนหรือ
ลงทุนในโครงการลงทุนตางๆ น้ัน นอกจากการย่ืนขอกูยืมระยะยาวจากธนาคารพาณิชยหรือสถาบันการเงิน
อื่นๆ แลว อีกชองทางหน่ึงท่ีอาจทําไดคือ บริษัท ข. อาจกูยืมโดยวิธีการออกตราสารหนี้ระยะยาว ที่เรียก
โดยทั่วไปวา หุนกู (corporate bond) มาจําหนายแกผูมีเงินออมหรือผูลงทุนในตลาดการเงิน ดังน้ัน ผูลงทุน
ท่ีซ้ือและถือหุนกู จึงมีสิทธิเรียกรองในฐานะเจาหนี้ ตอกระแสเงินไดและตอสินทรัพยในอนาคตของบริษัท ข.
ตามเงื่อนไขท่ีไดกําหนดไวแลวในใบหุนกู สวนบริษัท ข. ซึ่งมีสถานภาพเปนลูกหน้ี ตองปฏิบัติตามพันธะ
และตามเง่ือนไขที่กําหนดไวแลวในใบหุนกู การที่กิจการหน่ึงกูยืมเงินระยะยาวโดยการออกหุนกูมาจําหนาย
นับเปนการระดมเงินกูในตลาดทุนประเภทตลาดตราสารหน้ี ดังนั้น กิจการที่ระดมเงินกูโดยวิธีนี้ จึงมักเปน
กิจการขนาดใหญ ที่เปนที่รูจักในแวดวงผูลงทุนคอนขางดี

จากที่กลาวขางตน อาจสรุปความหมายและลักษณะของตราสารหนี้ระยะยาวประเภทตางๆ ไดดังนี้

ความหมายและลักษณะของตราสารหนี้ระยะยาว

ตราสารหน้ีระยะยาว หมายถึง ตราสารการเงินที่ผูกูออกมาจําหนายแกผูมีเงินออมหรือผูลงทุน
ซึ่งเปนผูใหกู โดยระบุขอกําหนดของหุนกู (indenture) ซ่ึงเปนขอตกลงตามกฎหมายท่ีระบุภาระผูกพัน
ของผูออกหุนกูท่ีมีตอผูลงทุน เชน ชื่อผูออกตราสาร เงินตนหรือมูลคาท่ีตราไวหรือราคาตรา (par value)
วันครบกําหนดไถถอน (maturity) อัตราดอกเบี้ย (coupon rate) งวดการจายดอกเบ้ียหรือวันที่จายดอกเบ้ีย
ประเภทของตราสารหนี้ และเงื่อนไขอ่ืนๆ ทั้งนี้ วันครบกําหนดไถถอนเม่ือแรกออกของตราสารหนี้ระยะยาว
จะมีอายุมากกวา 1 ป

ผูถือตราสารหน้ีระยะยาวหรือผูลงทุนในตราสารหน้ีระยะยาว มีสิทธิเรียกรองตอผูออกในฐานะเจาหนี้
ในกรณีหุนกูสิทธิเรียกรองของผูถือหุนกู จะอยูเหนือผูถือหุนทุนซึ่งเปนเจาของกิจการ

ตราสารหน้ีระยะยาวเกือบทุกชนิด เปนตราสารเปล่ียนมือผูถือได ดังนั้น ผูลงทุนในตราสารหน้ี
ระยะยาว สามารถซื้อตราสารไดในตลาดแรกและตลาดรองของตราสารหนี้ และสามารถขายตราสารหนี้
ระยะยาวไดในตลาดรองของตราสารหน้ี

ผูออกตราสารหนี้ระยะยาว

ผูออกตราสารหน้ีระยะยาวซ่ึงเปนผูกูยืมระยะยาวในตลาดการเงิน ไดแก รัฐบาล องคกรภาครัฐ และ
รัฐวิสาหกิจ และธุรกิจเอกชน ดังนั้น จึงสามารถจําแนกประเภทของตราสารหน้ีระยะยาวตามกลุมของผูออก
ไดเปน ตราสารหนี้ระยะยาวภาครัฐ และตราสารหน้ีระยะยาวภาคเอกชน ท้ังน้ี ในกรณีท่ีผูออกตราสารหน้ี
ระยะยาวเปนรัฐบาล องคกรภาครัฐและรัฐวิสาหกิจตางๆ น้ัน คําทั่วๆ ไปที่ใชเรียกตราสารหนี้ระยะยาว
ประเภทน้ี คือ “พันธบัตร” เชน พันธบัตรรัฐบาล (government bond) ซึ่งรัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง
เปนผูออก พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ (state-owned enterprise bond) ซึ่งรัฐวิสาหกิจเปนผูออก เปนตน ในกรณี

24 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

ท่ีผูออกตราสารหนี้ระยะยาวเปนธุรกิจเอกชน คําทั่วๆ ไปท่ีใชเรียกตราสารหนี้ระยะยาวประเภทน้ี คือ หุนกู
(corporate bond)

ตราสารหนี้ภาครัฐ
หมายถึง ตราสารหน้ีท่ีรัฐบาลโดยกระทรวงการคลัง หรือหนวยงานภาครัฐ ออกจําหนายเพื่อระดมทุน
จากประชาชนและสถาบันการเงิน ตราสารหนี้ภาครัฐมีประเภทยอยตางๆ ดังน้ี

• พันธบัตรรัฐบาล (government bond)
เปนตราสารหน้ีท่ีมีอายุตั้งแต 1 ปขึ้นไป มีวัตถุประสงคหลักเพื่อชดเชยการขาดดุลงบประมาณ

(เมื่อมีรายจายสูงกวารายได) ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม และปรับโครงสรางหนี้สาธารณะ พันธบัตร
รัฐบาลท่ีออกจําหนายในปจจุบันมีชื่อเรียกตางๆ กัน เชน พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรรัฐบาลกรณีพิเศษ
พันธบัตรรัฐบาลเพ่ือการปรับโครงสรางหน้ี พันธบัตรรัฐบาลเพื่อการบริหารหน้ี เปนตน พันธบัตรรัฐบาล
สวนใหญจายดอกเบ้ียเปนงวด โดยปกติจะจายปละ 2 งวด ทั้งน้ี เมื่อครบกําหนดอายุของพันธบัตร ผูถือ
กรรมสิทธิ์จะไดรับคืนเงินตนเทากับราคาตราพรอมดอกเบี้ยงวดสุดทาย

ในกลุมของพันธบัตรรัฐบาล อาจจําแนกเปนประเภทยอยได 3 ประเภท คือ (1 ) พันธบัตร
เพื่อการลงทุน (investment bond หรือ IB) เปนพันธบัตรท่ีรัฐบาลออกโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือเปนตราสาร
การเงินเพื่อการลงทุนของสถาบันการเงินและผูลงทุนกลุมสถาบันเปนหลัก (2) พันธบัตรเพื่อการกูยืม
(loan bond หรือ LB) เปนพันธบัตรที่รัฐบาลออกโดยมีวัตถุประสงคเพ่ือชดเชยภาวะการขาดดุลงบประมาณ
ของรัฐบาล พันธบัตรประเภทน้ีมีผูลงทุนเปาหมายครอบคลุมทั้งผูลงทุนสถ าบันและประชาชนท่ัวไป
(3) พันธบัตรออมทรัพย (saving bond หรือ SB) เปนพันธบัตรท่ีรัฐบาลออกเพื่อขายใหแกบุคคลธรรมดา
และสถาบันที่ไมมุงหวังกําไร เชน มูลนิธิ สภากาชาดไทย สมาคมสภาสังคมสงเคราะหแหงประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ เพื่อเปนทางเลือกในการออมและการลงทุน

• พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ (state-owned enterprise bond)
เปนตราสารหนี้ที่มีอายุตั้งแต 1 ปข้ึนไป ออกโดยรัฐวิสาหกิจ (องคกรท่ีไดรับการจัดตั้งข้ึน

เพ่ือดําเนินธุรกิจ โดยมีรัฐบาลหรือหนวยงานของรัฐเปนผูถือหุนหรือรวมกัน ถือหุนต้ังแตรอยละ 50 ข้ึนไป)
มีวัตถุประสงคหลักเพ่ือนําเงินทุนไปใชจายในการดําเนินงานตามโครงการตางๆ พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ มีทั้ง
ชนิดท่ีกระทรวงการคลังค้ําประกันตนเงินและดอกเบี้ย กับชนิดท่ีกระทรวงการคลังไมคํ้าประกันเงินตน
และดอกเบี้ย ท้ังสองชนิดกระทรวงการคลังเปนผูดําเนินการจัดหาสถาบันผูจัดจําหนายและประกันการ
จําหนายโดยวิธีการประมูล สถาบันท่ีเขารวมประมูลในอัตราคาใชจายรวมต่ําสุดจะไดรับการคัดเลือกใหเปน
ผูจัดจําหนายพันธบัตรใหแกผูลงทุนทุกประเภท พันธบัตรรัฐวิสาหกิจสวนใหญจายดอกเบ้ียเปนงวด โดยปกติ
จะจายปละ 2 งวด เม่ือครบกําหนดอายุของพันธบัตร ผูถือกรรมสิทธ์ิจะไดรับคืนเงินตนเทากับมูลคาที่ตราไว
พรอมดอกเบี้ยงวดสุดทาย

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 25

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

• พันธบัตรภาครัฐประเภทอ่ืนๆ
เชน พันธบัตรธนาคารแหงประเทศไทย พันธบัตรกองทุนเพื่อการฟนฟูและพัฒนาระบบสถาบัน

การเงิน เปนตน

หุนกู (corporate bond)
หมายถึง ตราสารหนี้ระยะยาวที่ออกโดยธุรกิจเอกชน เพื่อกูยืมเงินระยะยาวจากผูมีเงินออมหรือ
ผูลงทุน ซึ่งเปนผูใหกู โดยขอกําหนดของหุนกู (indenture) ซ่ึงเปนขอตกลงตามกฎหมายท่ีระบุภาระผูกพัน
ของผูออกหุนกูท่ีมีตอผูลงทุน เชน ชื่อผูออกตราสาร มูลคาที่ตราไวหรือราคาตรา (par value) วันครบกําหนด
ไถถอน (maturity) อัตราดอกเบี้ย (coupon rate) งวดการจายดอกเบ้ียหรือวันที่จายดอกเบี้ย ประเภทของ
ตราสารหนี้ และเงื่อนไขอ่ืนๆ ท้ังนี้ เมื่อเปรียบเทียบหุนกูกับพันธบัตรภาครัฐจะพบวา โดยท่ัวไปขอกําหนด
ของหุนกูมีความหลากหลายมากกวาพันธบัตรภาครัฐ ดังจะกลาวในรายละเอียดตอไป และเม่ือเปรียบเทียบ
ความเสี่ยงจากการผิดนัดการจายดอกเบี้ยและเงินตน (default risk) ของพันธบัตรรัฐบาลกับหุนกูในสายตา
ของผูลงทุน โดยทั่วไปถือวาพันธบัตรรัฐบาลเปนตราสารหน้ีระยะยาวที่ความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระหน้ี
ตํ่ามาก หรือปราศจากความเส่ียงประเภทน้ี ในขณะท่ีหุนกูมีความเส่ียงท่ีธุรกิจเอกชนผูออกตราสาร อาจ
ผิดนัดชําระหน้ีอยู ดังน้ัน หากพันธบัตรรัฐบาลและหุนกูมีลักษณะอื่นๆ คลายกัน ผูลงทุนจะตองการอัตรา
ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนกูสูงกวาพันธบัตรรัฐบาล นั่นคือ อัตราผลตอบแทนที่ผูลงทุนตองการจาก
การลงทุนในหุนกู จะมีสวนชดเชยความเส่ียงจากการผิดนัดการจายดอกเบี้ยและเงินตน (default risk
premium) อยูดวย สวนพันธบัตรรัฐวิสาหกิจบางประเภท เปนพันธบัตรท่ีรัฐบาลคํ้าประกันการจายดอกเบี้ย
และการชําระคืนเงินตน ในกรณีเชนน้ี นับไดวามีความเสี่ยงจากการผิดนัดชําระหน้ีต่ํามากเชนกัน

ประเภทของหุนกู
อาจจําแนกประเภทของหุนกูไดหลายลักษณะ เชน จําแนกตามลําดับของสิทธิเรียกรอง จําแนกตาม
การใชสินทรัพยคํ้าประกัน จําแนกตามการจายคืนเงินตน จําแนกตามการมีหรือไมมีดอกเบี้ยรายงวด จําแนก
ตามชนิดของอัตราดอกเบ้ีย จําแนกตามลักษณะการถือกรรมสิทธิ์ และจําแนกตามลักษณะพิเศษอ่ืน ทั้งนี้
แมสวนนี้จะมุงขยายความถึงประเภทตางๆ ของหุนกู แตเนื้อหาสวนหน่ึง สามารถประยุกตกับตราสารหน้ี
ภาครัฐได
• จําแนกตามลําดับของสิทธิเรียกรอง (priority claim)

■ หุนกูดอยสิทธิ (subordinated bond หรือ junior bond) เปนหุนกูท่ีผูถือมีสิทธิเรียกรองให
ผูออกหุนกูชําระหน้ีในอันดับหลังจากเจาหน้ีสามัญรายอื่นๆ แตสิทธิเรียกรองน้ีสูงกวาผูถือหุน
บุริมสิทธิและหุนสามัญ ซึ่งจะมีสิทธิเปนอันดับสุดทาย

26 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

■ หุนกูไมดอยสิทธิ (senior bond) เปนหุนกูท่ีผูถือมีสิทธิเรียกรองใหผูออกหุนกูชําระหนี้ทัดเทียม
กับเจาหนี้สามัญรายอ่ืนๆ แตสิทธิเรียกรองนี้สูงกวาผูถือหุนกูดอยสิทธิ ผูถือหุนบุริมสิทธิ และ
ผูถือหุนสามัญตามลําดับ

ดังน้ัน เมื่อเปรียบเทียบหุนกูดอยสิทธิกับหุนกูไมดอยสิทธิท่ีออกโดยบริษัทเดียวกัน และมีลักษณะ
อ่ืนๆ คลายกัน ผูลงทุนจะตองการอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนกูดอยสิทธิสูงกวาหุนกูไมดอยสิทธิ

• จําแนกตามการใชสินทรัพยค้ําประกัน
■ หุนกูมีหลักประกัน (secured bond) หมายถึง หุนกูท่ีผูออกตราสารนําสินทรัพยมาค้ําประกัน
การออกหุนกู และผูถือจะมีบุริมสิทธิเต็มที่ในสินทรัพยที่วางเปนประกันนั้นเหนือเจาหน้ีสามัญ
รายอื่นๆ ในทางปฏิบัติมักจะมีการตั้งบุคคลทําหนาที่เปนผูแทนผูถือหุนกู (bond holder
representative) เพื่อตรวจสอบสถานะของสินทรัพยท่ีนํามาค้ําประกัน อาจจําแนกประเภทยอย
ของหุนกูมีหลักประกันตามชนิดของสินทรัพยเปนประกัน ดังน้ี (1) หุนกูที่มีอสังหาริมทรัพย
เปนประกัน (mortgage bond) คือ หุนกูท่ีใชสินทรัพยประเภท ที่ดิน เเละอาคาร เปน
หลักประกัน ในกรณีท่ีผูออกหุนกูไมสามารถชําระหนี้ได สินทรัพยที่นํามาเปนหลักประกันจะ
ถูกนําออกขายเพื่อนําเงินมาชําระหน้ี (2) หุนกูท่ีมีสินทรัพยทางการเงินเปนประกัน (collateral
trust bond) คือ หุนกูที่ใชตราสารการเงินประเภทตางๆ เปนหลักประกัน เชน หุนสามัญ
ตั๋วเงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล เปนตน (3) หุนกูท่ีมีเครื่องจักรเครื่องมือเปนประกัน (equipment
trust bond) คือหุนกูที่ใชเคร่ืองจักรเครื่องมือเปนประกันบางประเภทเปนหลักประกัน เชน
เรือ เครื่องบิน รถไฟ เคร่ืองจักรในโรงงาน เปนตน
■ หุนกูไมมีหลักประกัน (unsecured bond) หมายถึง หุนกูท่ีไมมีสินทรัพยใดๆ วางไวเปน
ประกันในการออก ซ่ึงหากผูออกตราสารลมละลาย จะตองแบงสินทรัพยกับเจาหน้ีรายอ่ืน
ตามสิทธิและสัดสวน มักเรียกหุนกูไมมีหลักประกัน หรือ unsecured bond วา debenture
ดังนั้น เมื่อเปรียบเทียบหุนกูมีหลักประกันกับหุนกูไมมีหลักประกัน ที่ออกโดยบริษัทเดียวกัน

และมีลักษณะอ่ืนๆ คลายกัน ผูลงทุนจะตองการอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนกูไมมีหลักประกัน
สูงกวาหุนกูมีหลักประกัน

• จําแนกตามการจายคืนเงินตน
■ หุนกูจายคืนเงินตนคร้ังเดียว (bullet bond) เปนหุนกูท่ีจายคืนเงินตนตามราคาตรา ใหแก
ผูถือหุนกูเพียงครั้งเดียว ณ วันครบกําหนดไถถอน หุนกูสวนใหญในตลาดตราสารหนี้มีการ
จายคืนเงินตนในลักษณะนี้
■ หุนกูทยอยจายคืนเงินตนเปนรายงวด (amortizing bond) เปนหุนกูที่ทยอยจายคืนเงินตน
ใหแกผูถือหุนกูตามงวดเวลาและจํานวนเงินที่กําหนด หุนกูลักษณะน้ีชวยลดความเส่ียงจาก
การที่ผูออกไมสามารถชําระคืนเงินตนท้ังกอน ณ วันครบกําหนดไถถอน ในขณะเดียวกัน
ดอกเบ้ียรายงวดท่ีผูออกหุนกูจายใหแกผูถือ ก็จะคํานวณเฉพาะยอดเงินตนคงเหลือ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 27

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

• จําแนกตามการมีหรือไมมีดอกเบ้ียรายงวด
■ หุนกูที่มีการจายดอกเบ้ียรายงวด (coupon bond) เปนหุนกูที่จายดอกเบ้ียเปนงวดตามท่ี
กําหนดไวในหุนกู โดยท่ัวไปมักจายปละ 2 ครั้ง ทุกงวด 6 เดือน ตลอดอายุของหุนกู
■ หุนกูท่ีไมมีการจายดอกเบี้ยรายงวด (zero-coupon bond) เปนหุนกูท่ีไมมีการจายดอกเบ้ีย
เปนงวด ออกขายในราคาที่ตํ่ากวาราคาตราหรือท่ีเรียกวาขายในราคาลด (discount) จาก
ราคาตรา ดังนั้น ในกรณีที่ผูลงทุนถือหุนกูประเภทน้ีจนถึงวันครบกําหนดไถถอน จะอยูในรูป
ของสวนตางระหวางราคาตรากับราคาซื้อ สวนในกรณีท่ีผูลงทุนขายหุนกูประเภทนี้กอนถึง
วันครบกําหนดไถถอน ผลตอบแทนจะอยูในรูปของสวนตางระหวางราคาขายกับราคาซ้ือ
อน่ึง หุนกูที่มีลักษณะคลายๆ กับ zero-coupon bond แตเรียกในชื่อหุนกูชนิดทบดอกเบ้ีย
(compounding bond) ออกจําหนายในราคาตรา ไมมีการจายดอกเบ้ียระหวางงวด แตจะจาย
ดอกเบ้ียแกผูถือเม่ือหุนกูครบหนดไถถอน ดังนั้น ณ วันครบกําหนดไถถอน ผูออกหุนกู
ประเภทนี้จะจายดอกเบี้ยรวมกับเงินตน โดยการคํานวณดอกเบี้ยแบบทบตน (มักจะทบตน
ปละ 2 ครั้ง)

• จําแนกตามชนิดของอัตราดอกเบ้ีย
■ หุนกูจายดอกเบ้ียคงท่ี (fixed coupon bond) เปนหุนกูที่จายดอกเบี้ยรายงวดในอัตราคงที่
ตลอดอายุหุนกู ในอัตราตามที่กําหนดไว เชน หุนกูฉบับหนึ่งมีราคาตราเทากับ 1,000 บาท
อัตราดอกเบี้ย (coupon rate) เทากับ 6% จายปละ 2 ครั้ง ดังนั้น ผูออกหุนกูจะตองจาย
ดอกเบ้ียใหแกผูถือหุนกูเปนรายงวด 6 เดือน งวดละ 30 บาท ตอหุนกู 1 ฉบับ ตลอดอายุ
หุนกู
■ หุนกูจายดอกเบ้ียเพ่ิมเปนข้ัน (step-up bond) เปนหุนกูที่จายดอกเบ้ียรายงวดในอัตราคงที่
ในชวงเวลาหน่ึงตามท่ีกําหนดไวแลว และจายดอกเบ้ียในชวงเวลาตอๆ ไป เพิ่มข้ึนตลอดอายุ
หุนกู ตัวอยางเชน หุนกูอายุครบกําหนดไถถอนเม่ือแรกออก เทากับ 6 ป กําหนดจายปละ
2 ครั้ง อัตราดอกเบี้ย (coupon rate) ตอป ชวง 2 ปแรกเทากับ 6% อัตราดอกเบ้ียชวง 2 ป
ถัดไปเทากับ 6.25% และอัตราดอกเบ้ียชวง 2 ปสุดทายเทากับ 6.50%
■ หนุ กจู า ยดอกเบย้ี แบบลอยตวั (floating rate bond) เปน หนุ กทู อ่ี ตั ราดอกเบยี้ มกี ารเปลย่ี นแปลง
ไดตามอัตราอางอิงท่ีกําหนด เชน อัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจํา อัตราดอกเบี้ยเงินกูที่ธนาคาร
พาณิชยคิดกับลูกคาชั้นดี (minimum lending rate หรือ MLR) โดยดอกเบ้ียท่ีระบุในหุนกูจะ
เทากับอัตราดอกเบี้ยอางอิง บวกกับสวนล้ําที่ระบุเปนหนวยรอยละ เชน ระบวุ า อตั ราดอกเบยี้
จากหุนกู (coupon rate) เทากับ “ดอกเบ้ียเงินฝากประจําระยะ 12 เดือน + 1.75%” จายปละ
2 ครั้ง หรือระบุวา อัตราดอกเบี้ยจากหุนกูเทากับ “MLR + 1%” เปนตน ท้ังน้ี ผูออกหุนกูจะ
ตองระบุใหชัดเจนวา อัตราดอกเบ้ียอางอิงของสถาบันการเงินใดบางมีวิธีการเฉล่ียคาอยางไร

28 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

ท้ังนี้ เม่ืออัตราดอกเบ้ียอางอิงเปล่ียนแปลง จะสงผลใหอัตราดอกเบี้ยจากหุนกู (coupon rate)
เปล่ียนแปลงไปดวย

• จําแนกตามลักษณะการถือกรรมสิทธ์ิ
■ หุนกูชนิดจายเงินแกผูถือ (bearer bond) เปนหุนกูชนิดมีใบหุนกูและมีบัตรดอกเบี้ย (coupon)
ติดกับตัวหุนกู ผูออกหุนกูจะจายเงินคาดอกเบ้ียรายงวดใหแกผูถือหุนกูหรือบัตรดอกเบี้ย ทั้งน้ี
หุนกูชนิดน้ีสามารถโอนกรรมสิทธ์ิในหุนกูกันไดโดยการสงมอบ
■ หุนกูชนิดจดทะเบียน (registered bond) เปนหุนกูชนิดมีใบหุนกูและตองจดทะเบียนกรรมสิทธ์ิ
ไวท่ีนายทะเบียน ผูออกหุนกูจะจายเงินคาดอกเบี้ยรายงวดและเงินตนใหแกผูมีช่ือในทะเบียน
รายชื่อวาเปนผูถือใบหุนกู ดังนั้น การโอนกรรมสิทธิ์ตองกระทําโดยการจดทะเบียน
■ หุนกูชนิดจดบัญชี (Inscribed Bond) เปนหุนกูที่ผูลงทุนท่ีเจาของกรรมสิทธ์ิไมมีหุนกู
ในครอบครอง แตฝากไวกับนายทะเบียนซ่ึงจะออกใบรับใหแกผูจดบัญชี ผูออกหุนกูจาย
ดอกเบ้ียโดยการนําเขาบัญชีเงินฝากธนาคารตามรายชื่อผูถือหุนกูท่ีไดแจงความจํานงไวกับ
นายทะเบียน การโอนกรรมสิทธิ์ตองกระทําเปนหนังสือแจงตอนายทะเบียน

• จําแนกตามลักษณะพิเศษอื่นๆ
ลักษณะพิเศษอ่ืนๆ ของหุนกู อาจเปนหุนกูที่ใหสิทธิบางประการแกผูถือหุนกู หรือหุนกูท่ีผูออก

หุนกูมีสิทธิบางประการ ตัวอยางเชน
■ หุนกูแปลงสภาพ (convertible bond) เปนหุนกูท่ีใหสิทธิแกผูถือหุนกูท่ีจะแปลงสภาพหุนกู
ฉบับนั้นเปนหุนสามัญจํานวนหนึ่งตามท่ีกําหนด ในเวลาตามท่ีกําหนด หากผูถือหุนกูประเภท
นี้ใชสิทธิในการแปลงสภาพ เทากับวาผูถือหุนกูซ่ึงเปนเจาหน้ี เปลี่ยนสถานะเปนผูถือหุน
สามัญซึ่งเปนเจาของกิจการ ซึ่งในกรณีปกติที่กิจการเติบโตข้ึนเรื่อยๆ สงผลใหราคาหุนสามัญ
ของบริษัทผูออกหุนกู มีราคาสูงข้ึนเร่ือยๆ มูลคาจากการแปลงสภาพจากหุนกูเปนหุนสามัญ
จะสูงกวามูลคาอันเกิดจากการถือหุนกู จึงกลาวไดวา “สิทธิ” ในการแปลงสภาพของหุนกูนี้
มีคาเปนบวก กิจการผูออกหุนกูชนิดนี้จึงสามารถเสนออัตราดอกเบ้ีย (coupon rate) ไดต่ํากวา
ที่หุนกูอ่ืนที่เทียบเคียงกันได
■ หุนกูท่ีใหสิทธิแกผูถือในการขายหุนกูคืนแกผูออกไดกอนกําหนด (puttable bond) หุนกู
ประเภทน้ีจะระบุสิทธิของผูถือหุนกูในการขายหุนกูคืนแกผูออกหุนกู โดยระบุราคาขายคืน
และชวงเวลาที่สามารถขายคืนได หุนกูประเภทนี้ชวยลดความเสี่ยงของผูถือหุนกู ในกรณีท่ี
กิจการผูออกหุนกูเริ่มประสบปญหาทางการเงินอันอาจสงผลใหราคาซื้อขายหุนกูในตลาดรอง
ตกตํ่าลง ผูถือหุนกูสามารถขายหุนกูคืนใหแกผูออกได ในทางกลับกัน ทางดานผูออกหุนกู
ประเภทน้ี หากกิจการผูออกหุนกูประสบปญหาทางการเงิน แลวผูถือหุนกูประเภทนี้ตาง
พากันมาขายหุนกูคืน อาจยิ่งเปนการซํ้าเติมปญหาของกิจการ เชน อาจทําใหกิจการยิ่ง
ขาดสภาพคลองรุนแรงข้ึน

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 29

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

■ หุนกูท่ีใหสิทธิแกผูออกในการไถถอนกอนกําหนด (callable bond) ในกรณีที่ผูออกหุนกู
คาดการณวา อัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินจะลดต่ําลง ดังนั้น หุนกูท่ีออกจึงอาจระบุสิทธิ
ของผูออกในการไถถอนหุนกูน้ันคืนไดกอนวันที่หุนกูหมดอายุ ตามราคาไถคืนที่กําหนด
ไวแลว หากอัตราดอกเบ้ียในตลาดการเงินลดต่ําลงจริง และผูออกหุนกูวิเคราะหแลววา
คุมกับการเรียกไถถอนหุนกูปจจุบันกอนกําหนด แลวออกหุนกูรุนใหมท่ีตราดอกเบี้ยตํ่าลง จะ
สงผลใหกิจการผูออกหุนกูมีตนทุนทางการเงินที่ต่ําลง อยางไรก็ตาม มองในแงผูถือหรือ
ผูลงทุนในหุนกูประเภทน้ี เทากับมีความเสี่ยงท่ีมากกวาหุนกูอ่ืนท่ีมีลักษณะเทียบเคียงกัน
(แตไมมีเง่ือนไขเร่ืองการเรียกไถถอนคืนกอนกําหนด) เพราะผูออกหุนกูจะใชสิทธิไถถอน
หุนกูกอนกําหนดก็ตอเมื่ออัตราดอกเบี้ยในตลาดการเงินลดต่ําลง การนําเงินท่ีไดรับจากการ
ไถถอนคืนไปลงทุนตอ จะไดอัตราผลตอบแทนที่ตํ่าลงไปดวย ดังนั้น การลงทุนในหุนกูท่ี
ใหสิทธิแกผูออกในการไถถอนกอนกําหนด ผูลงทุนจึงคาดหวังอัตราผลตอบแทนท่ีสูงกวา
หุนกูอ่ืนๆ ที่มีลักษณะเทียบเคียงกัน

2.1.3 ตราสารทุน (equity security)

เมื่อภาคธุรกิจตองการจัดหาเงินทุนจากแหลงเจาของกิจการ นอกจากเงินทุนจากแหลงภายใน
ซ่ึงเปนกําไรสะสมของกิจการแลว กิจการที่ตองการเงินทุนอาจออกตราสารทุนมาจําหนายใหแกผูถือหุนเดิม
และผูลงทุนท่ัวไปท่ีตองการลงทุนระยะยาว การระดมเงินทุนในลักษณะนี้ เปนการระดมเงินทุนในตลาดทุน
(capital market) ทั้งน้ี คําวาตราสารทุน หมายถึงตราสารท่ีแสดงถึงสิทธิเรียกรองของกิจการในฐานะเจาของ
กิจการ ประเภทของตราสารทุนหลักๆ ไดแก หุนสามัญและหุนบุริมสิทธิ โดยถือวา อายุไถถอนของหุนสามัญ
และหุนบุริมสิทธิน้ัน มีอายุเทากับอนันต น่ันคือดํารงอยูตลอดไปตามอายุของกิจการผูออกตราสารทุน

หุนสามัญ (common stocks)

หุนสามัญ เปนตราสารทุนประเภทหนึ่ง ที่ออกโดยบริษัทมหาชนจํากัดที่ตองการระดมเงินทุนจาก
ประชาชน เพื่อใหผูลงทุนไดเขาไปมีสวนรวมในธุรกิจนั้นๆ ในฐานะเจาของกิจการ ผูถือหุนสามัญมีสิทธิ
เขารวมประชุมผูถือหุนและลงคะแนนเสียงเพื่อรวมตัดสินใจในปญหาสําคัญๆ ของบริษัท เชน เมื่อบริษัท
จะเพิ่มทุน จายเงินปนผล ควบรวมกิจการ เปนตน โดยผูถือหุนมีสิทธิออกเสียงตามสัดสวนของหุนสามัญท่ี
ถืออยู นอกจากนี้หากบริษัทออกหุนเพ่ิมทุนใหสิทธิ ผูถือหุนสามัญเดิม ผูถือหุนจะไดรับสิทธิซื้อหุนเพิ่มทุน
ในราคาตามสิทธิที่กําหนด

ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนสามัญประกอบดวย ผลตอบแทนจากเงินปนผล และผลตอบแทน
จากสวนตางของราคาขายหุนกับราคาซื้อหุน ท้ังน้ี ผูถือหุนสามัญจะไดรับสิทธิในเงินปนผลตอเมื่อบริษัท
ประกาศจายเงินปนผล และสิทธิของผูถือหุนสามัญน้ีอยูในลําดับสุดทาย น่ันคือ ภายหลังจากที่เจาหน้ีไดรับ
ผลตอบแทนในรูปดอกเบี้ยและผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับผลตอบแทนในรูปเงินปนผลไปแลว

30 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

สวนผลตอบแทนจากสวนตางของราคาขายหุนกับราคาซื้อหากบริษัทมีแนวโนมการดําเนินงาน
ท่ีดีขึ้นเร่ือยๆ รวมทั้งสภาวะตลาดหุนเอ้ืออํานวย ราคาหุนของบริษัทจะสูงข้ึน หากผูถือหุนสามัญขายหุนไป
ก็จะไดรับผลตอบแทนที่เปนตัวเงินในรูปของกําไรจากการขายหุน ในทางตรงกันขาม หากบริษัทมีแนวโนม
การดําเนินงานที่ต่ําลงเร่ือยๆ รวมท้ังสภาวะตลาดหุนตกตํ่า ราคาหุนของบริษัทก็จะต่ําลง หากผูถือหุนสามัญ
ขายหุนไปก็จะมีผลขาดทุนที่เปนตัวเงินจากการขายหุน

ผลตอบแทนที่ผูลงทุนในหุนสามัญจะไดรับจริง ซ่ึงอาจอยูในรูปของเงินปนผลและหรือสวนตางของ
ราคาหุน จึงข้ึนกับผลประกอบการของบริษัท สภาวะของอุตสาหกรรม สภาวะเศรษฐกิจ รวมท้ังสภาวะ
ตลาดหลักทรัพยดวย ดังนั้น ความเสี่ยงท่ีจะไมไดรับผลตอบแทนตามที่คาดไวจึงขึ้นกับการตกต่ําของสภาวะ
เศรษฐกิจ สภาวะอุตสาหกรรม ผลการดําเนินงานของบริษัท และการซบเซาของตลาดหลักทรัพย

ผูที่ตองการลงทุนในหุนสามัญ สามารถลงทุนซื้อหุนไดท้ังในตลาดแรกและตลาดรอง ในตลาดแรกน้ัน
ผูลงทุนสามารถจองซื้อหุนเพ่ิมทุนของบริษัทมหาชนที่ออกเสนอขายหุนแกประชาชนทั่วไป หรือจองซ้ือตอน
หุนเขาตลาดเปนคร้ังแรก หรือหุน IPO (initial public offering) สวนการซ้ือขายหุนที่หมุนเวียนอยูแลวน้ัน
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยเปนตลาดรองที่เปนทางการในการเปลี่ยนมือหุน การซื้อขายทําไดโดยผาน
บริษัทหลักทรัพยที่เปนนายหนาหรือโบรกเกอร (broker)

หุนบุริมสิทธิ (preferred stock)

หุนบุริมสิทธิ เปนตราสารทุนเชนเดียวกับหุนสามัญ แตผลตอบแทนท่ีบริษัทผูออกหุนจายใหแก
ผูถือหุนบุริมสิทธิในรูปเงินปนผลนั้น ไดถูกกําหนดไวเปนอัตราคงที่ที่กําหนดไว และจะไดรับจัดสรรกําไร
กอนผูถือหุนสามัญ แตหลังจากเจาหน้ีในบางกรณี ผูถือหุนบุริมสิทธิยังไดรับสิทธิพิเศษตามเงื่อนไขท่ีระบุไว
เชน หากในปใดบริษัทมิไดจายเงินปนผล จะสะสมไปจายในปถัดไปได เปนตน นอกจากนี้ ในกรณีท่ีบริษัท
เลิกกิจการ ผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับสิทธิในการชําระคืนเงินทุนกอนผูถือหุนสามัญ แตหลังจากเจาหนี้

จากการที่ผูถือหุนบุริมสิทธิไดรับเงินปนผลคงที่และสามารถคาดการณได ผลตอบแทนจาก
หุนบุริมสิทธิจึงมีความผันผวนนอยกวาผลตอบแทนจากหุนสามัญ อีกท้ังเม่ือกิจการอยูในฐานะท่ีไมพึงประสงค
จนตองลมเลิกไป และตองนําสินทรัพยขายทอดตลาด สวนแบงจากการขายสินทรัพยท่ีจะจายใหแกผูถือ
หุนบุริมสิทธิจะมีลําดับกอนการจายใหแกผูถือหุนสามัญ อยางไรก็ดี ผูถือหุนบุริมสิทธิจะไมมีสิทธิในการบริหาร
กิจการ ไมไดรับสิทธิในการลงคะแนนเสียงดังเชนผูถือหุนสามัญ แมวาฐานะของผูถือหุนบุริมสิทธินั้นจัดวา
เปนเจาของกิจการดวยก็ตาม ทั้งนี้ เพ่ือเปนการแลกเปล่ียนกับสิทธิท่ีจะไดรับเงินปนผลท่ีกําหนดใหมีรูปแบบ
แนนอน และการไดรับสวนคงเหลือของกิจการไปกอนหนาผูถือหุนสามัญหากบริษัทตองเลิกกิจการไปน่ันเอง

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 31

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

2.1.4 ตราสารอนุพันธ (derivative security)

ตราสารอนุพันธ เปนสัญญาที่ระบุถึงพันธะหรือสิทธิ (ข้ึนกับวาเปนอนุพันธประเภทใด) ระหวาง
คูสัญญา โดยพันธะหรือสิทธินั้น เช่ือมโยงกับสินคาอางอิง (underlying asset) ซ่ึงอาจเปนตราสารการเงิน
สินคาโภคภัณฑ หรือสินคาอ่ืนๆ ท้ังนี้ สัญญาดังกลาว คูสัญญาไดตกลงกันไวแลว แตการปฏิบัติตาม
สัญญา1 จะเกิดข้ึนในวันหนาตามท่ีระบุไว หากเลยจากวันท่ีระบุไว เปนอันสิ้นสุดสัญญาตามอนุพันธ นั่นคือ
สญั ญาตามทร่ี ะบไุ วใ นอนพุ นั ธเ ปน สญั ญาทมี่ รี ะยะเวลาสน้ิ สดุ ทง้ั น้ี มลู คา และราคาของอนพุ นั ธม าจาก (derived)
สินคาอางอิง

เม่ือเปรียบเทียบกันหนวยตอหนวย การลงทุนในตราสารอนุพันธ ใชเงินลงทุนนอยกวาการลงทุน
ในสินคาอางอิงโดยตรง และเมื่อราคาสินคาอางอิงเปล่ียนแปลงไป ราคาของตราสารอนุพันธท่ีเกี่ยวของ
จะเปล่ียนแปลงไปในอัตรารอยละท่ีรุนแรงกวา ดังนั้น การซ้ือขายตราสารอนุพันธน้ันจึงมีความเส่ียงสูงมาก
ซึ่งการลงทุนจึงตองใชความรู ขอมูล และประสบการณประกอบกับความรอบคอบในการตัดสินใจลงทุน

ประเภทหลักๆ ของอนุพันธ จําแนกตามลักษณะของสัญญา ไดแก
1. ฟวเจอรส (futures) เปนสัญญาซ้ือขายลวงหนาในสินคาอางอิง โดยรายละเอียดขอสัญญาใน
ฟวเจอรส จะอยูบนมาตรฐานท่ีตลาดซ่ึงเปนศูนยกลางการซ้ือขายอนุพันธกําหนดข้ึน เพื่อใหฟวเจอรสสามารถ
ซ้ือขายผานศูนยกลางได ทั้งน้ี ผูซ้ือและผูขายฟวเจอรส มีพันธะตองซ้ือขายกันตามท่ีตกลงในสัญญา
2. ออปชัน (options) เปนสัญญาสิทธิซื้อ (เรียกวา call options) สินคาอางอิง หรือสิทธิขาย
(เรียกวา put options) สินคาอางอิง ท้ังนี้ ผูออกหรือผูขายสัญญาสิทธิ มีพันธะตองปฏิบัติตามที่ระบุในสัญญา
ในขณะท่ีผูถือหรือผูซ้ือมีสิทธิที่จะเลือกใชสิทธิหรือไมก็ได
3. ฟอรเวิรด (forward) เปนสัญญาซ้ือขายลวงหนาสินคาอางอิง โดยคูสัญญาตกลงรายละเอียด
ขอสัญญาในฟอรเวิรดกันเอง ดังนั้น ฟอรเวิรดแตละฉบับ จึงมิไดอยูบนมาตรฐานเดียวกัน
4. สวอป (swap) เปนขอตกลงระหวางบุคคลต้ังแต 2 ฝายขึ้นไป ในการแลกเปล่ียนกระแสเงินสด
ในอนาคต
นอกจากนั้น อาจจําแนกประเภทของอนุพันธตามประเภทของสินคาอางอิง เชน (1) อนุพันธสินคา
โภคภัณฑ (commodity derivatives) เชน อนุพันธของสินคาอางอิงท่ีเปนสินคาเกษตร เชน ขาว ขาวโพด
กาแฟ เปนตน สินคาดานพลังงาน เชน นํ้ามัน กาซ เปนตน โลหะ เชน อะลูมิเนียม ทอง ดีบุก เปนตน
(2) อนุพันธทางการเงิน (financial derivatives) เชน อนุพันธของสินคาอางอิงท่ีเปนตราสารทุน เชน หุน
ดัชนีราคาหุน เปนตน ตราสารหน้ี เชน พันธบัตรรัฐบาล เปนตน เงินตราตางประเทศ เชน ดอลลารสหรัฐ
เปนตน

1 การปฏิบัติตามสัญญา ที่กลาวขางตน คูสัญญาในอนุพันธอาจทําโดย สงมอบทรัพยสินอางอิง และชําระราคาจริง
(physical delivery) หรือ ชําระราคาเปนเงินสด (cash settlement) หรือ เขามีสถานะตรงขามเพ่ือหักลางสัญญาเดิม

32 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

2.2 กระบวนการตัดสินใจลงทุน

แมวาการตัดสินใจลงทุน จะมีพื้นฐานหลักที่การช่ังน้ําหนักระหวางอัตราผลตอบแทนท่ีคาดหวังจาก
การลงทุนกับความเสี่ยงท่ีจะตองเผชิญ หรือท่ีเรียกวา “risk-return trade-off” อยางไรก็ตาม การที่ผูลงทุน
จะเลือกหลักทรัพยที่มีรูปแบบและระดับของอัตราผลตอบแทนท่ีคาดหวัง ผูลงทุนจะตองพิจารณาตัวผูลงทุน
ในดานตางๆ ดังจะกลาวในรายละเอียดตอไป เพ่ือจะไดสามารถคัดเลือกหลักทรัพยที่คาดวาจะใหอัตรา
ผลตอบแทนตามที่ผูลงทุนตองการ มีความเสี่ยงในระดับท่ียอมรับได ดังนั้นในกระบวนการตัดสินใจลงทุน
จึงมีความเก่ียวของกับการทําความรูจักความเปนตัวตนของผูลงทุน และเก่ียวของกับสภาพแวดลอมของ
การลงทุน

กระบวนการตัดสินใจลงทุน แสดงใหเห็นถึงข้ันตอนตางๆ ในการจัดสรรเงินลงทุน การคัดสรร
หลักทรัพย และการสรางกลุมหลักทรัพย ขั้นตอนที่สําคัญในการตัดสินใจลงทุน มี 5 ข้ันตอนคือ (1) รูจัก
ตัวผูลงทุน (2) ประเมินระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดของผูลงทุน (risk tolerance) (3) จัดสรรเงินลงทุน
ตามกลุมของหลักทรัพย โดยมีการคาดการณสภาวะตลาดทุน (4) คัดสรรหลักทรัพย (security selection)
และสรางกลุมหลักทรัพย (portfolio construction) (5) ติดตาม (monitor) และวัดผลการดําเนินงานของ
กลุมหลักทรัพย (portfolio performance measurement) ขั้นตอนเหลานี้จะดําเนินการอยางตอเน่ือง และ
ปรับเปล่ียนตามผลการประเมิน ดังรูปที่ 2-1

รูปที่ 2-1 กระบวนการตัดสินใจลงทุน

åœ '=ę
5 =ę) < '4 <+5 < '4. Ĝ –Á´¼·µÆ»È·Å— B)4 ę1
7 5 –µÁÀÅÆij»ÀÆŗ 1 6') <

žœ '4A%8 '4 5 +6%A.9I& 9I&1%'5 E ę 1 =ę) <

Ÿœ
5 .''A è ) < –³ÅÅ·Æ ³¾¾Áµ³Æ»ÁÀ—
B)4 6 6' Ĝ.$6+4 )6 < –µ³Â»Æ³¾ ¿³Ä½·Æ ·Ê·µÆ³Æ»ÁÀŗ

 œ 5 .''/)5 '5"&Ĝ –Å·µÇÄ»ÆË Å·¾·µÆ»ÁÀ— B)4.'ę6 )<Ę%/)5 '5"&Ĝ –ÂÁÄƸÁ¾»Á µÁÀÅÆÄǵƻÁÀ—

¡œ 8 6% –¿ÁÀ»ÆÁė B)4+5 ) 6' 7A 8 6 1 )<Ę%/)5 '5"&Ĝ
–ÂÁÄƸÁ¾»Á ·ĸÁÄ¿³Àµ· ¿·³ÅÇÄ·¿·ÀƗ

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 33

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

2.2.1 ขั้นตอนการตัดสินใจลงทุน
ขั้นตอนท่ี 1 รูจักตัวผูลงทุน

การทําความรูจักตัวตนของผูลงทุน เพื่อนําขอมูลไปสูการกําหนดวัตถุประสงค (objectives) ของ
การลงทุนและขอจํากัด (constraints) ของการลงทุน รวมทั้งการใชขอมูลตัวตนของผูลงทุนเปนแนวทาง
ประเมินระดับความเส่ียงที่ยอมรับไดของผูลงทุน (risk tolerance) ในข้ันตอนท่ี 2 ตอไป

ขอมูลเก่ียวกับตัวผูลงทุน
ขอมูลตางๆ ของผูลงทุนที่จะนําไปสูการเลือกหลักทรัพย ไดแก อายุ สถานะทางการเงิน (เชน
ระดับรายไดเม่ือเทียบกับภาระคาใชจาย ความเพียงพอของเงินสดสํารองเผื่อฉุกเฉิน ภาระหน้ีสิน และ
ความมั่งคั่งสุทธิ) ระยะเวลาท่ียังไมจําเปนตองใชเงินกอนที่กําลังพิจารณาลงทุน ขอมูลดานประสบการณ
การลงทุน และขอมูลตางๆ ที่จะนําไปสูการวิเคราะหทัศนคติตอการยอมรับความเส่ียง เปนตน

ระบุวัตถุประสงค (objective) ของการลงทุน
ผูลงทุนควรเขาใจถึงวัตถุประสงคดานผลตอบแทน ไดแก ลักษณะของรายไดที่ตองการจากการลงทุน
อยูในรูปแบบใด เชน รายไดที่ใหอยางสม่ําเสมอ (current income) เพ่ือการใชจายประจํางวด หรือรายได
จากการที่มูลคาเงินลงทุนสูงขึ้น เปนตน ท้ังนี้ผูลงทุนท่ีตองการหลีกหนีความเส่ียงเปนอยางมาก อาจระบุ
วัตถุประสงคไววา เงินตนที่ลงทุนไปตองไมมีคาลดลงหรือไมสูญหาย

ระบุขอจํากัด (constraints) ของการลงทุน
ขอจํากัดหรือเง่ือนไขการลงทุน เชน ผูลงทุนบางคนตองการลงทุนในหลักทรัพยท่ีสามารถเปลี่ยนเปน
เงินสดไดงายในราคาท่ีตองการ หรือที่เรียกวาเปนหลักทรัพยที่มีสภาพคลอง (liquidity) สูง ผูลงทุนบางคน
มีเง่ือนไขดานระยะเวลาการลงทุน (investment horizon) เชน ตองการลงทุนระยะส้ันเพียง 6 เดือน
หรือระยะยาว 7 ป เปนตน ขอพิจารณาดานภาษีก็เปนอีกขอจํากัดหรือเงื่อนไขหนึ่งที่พึงพิจารณา เชน
สิทธิประโยชนทางภาษีจากการลงทุนแตละทางเลือก อัตราภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาที่ผูลงทุนตองเสียอยู
อาจสงผลตอการเลือกหลักทรัพย ขอจํากัดอีกประการหน่ึง ไดแก กฎหมายและขอกําหนดที่เก่ียวของ ซ่ึงอาจ
ทําใหผูลงทุนไมสามารถลงทุนในบางชองทางได ตลอดจนขอจํากัดหรือเงื่อนไขพิเศษเฉพาะบุคคล เชน
ผูลงทุนบางคนตองการลงทุนเฉพาะหลักทรัพยท่ีออกโดยบริษัทท่ีดําเนินธุรกิจสอดคลองกับหลักศาสนา
เปนตน

ขั้นตอนท่ี 2 ประเมินระดับความเสี่ยงท่ียอมรับไดของผูลงทุน (risk tolerance)

เน่ืองจากการลงทุนใดๆ ยอมมีความเส่ียง หลักทรัพยบางกลุมมีอัตราผลตอบแทนท่ีคาดไวสูง แตก็
มีโอกาสสูงท่ีผูลงทุนจะไมไดรับอัตราผลตอบแทนตามที่คาดไว หลักทรัพยบางกลุมมีอัตราผลตอบแทนที่

34 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

คาดไวตํ่า และคอนขางมีความแนนอนท่ีผูลงทุนจะไดรับอัตราผลตอบแทนตามที่คาดไว ดังน้ัน ผูลงทุนควร
เขาใจถึงทัศนคติของตนเองวา จะยอมรับระดับของความเส่ียงจากการลงทุนไดแคไหน เพ่ือเปนแนวทางใน
การกําหนดกลุมหลักทรัพยท่ีควรจะลงทุน ใหสอดคลองกับทัศนคติดานความเส่ียงของผูลงทุนตอไป ทั้งนี้
โดยท่ัวไปแลวเช่ือกันวา ชวงอายุของผูลงทุนกับฐานะการเงินของผูลงทุน เปนปจจัยสําคัญท่ีเปนตัวกําหนด
ระดับความเส่ียงที่ยอมรับได กลาวคือ โดยทั่วไปผูลงทุนท่ีมีอายุในวัยหนุมสาวจะยอมรับความเส่ียงได
สูงกวาผูลงทุนสูงวัย และผูลงทุนท่ีมีฐานะการเงินมั่นคงจะยอมรับความเสี่ยงไดสูงกวาผูลงทุนที่มีฐานะ
การเงินไมม่ันคง

ขั้นตอนท่ี 3 จัดสรรเงินลงทุนตามกลุมของหลักทรัพย โดยมีการคาดการณสภาวะตลาดทุน

เมื่อผูลงทุนระบุวัตถุประสงคและขอจํากัดของการลงทุน ระบุระดับความเสี่ยงที่ยอมรับไดจากการ
ลงทุนแลว ผูลงทุนควรเขาใจสภาวะและแนวโนมของตลาดทุน เพ่ือที่จะกําหนดวา ในประเภทใหญๆ ของ
หลักทรัพย หรือที่เรียกวา กลุมตางๆ ของหลักทรัพย (asset class) ผูลงทุนควรจัดสรรเงินลงทุนเพ่ือลงทุน
ในแตละกลุมหลักทรัพยเปนรอยละเทาใด ข้ันตอนน้ีจึงเรียกวาเปนการจัดสรรเงินลงทุน (asset allocation)
ผลลัพธท่ีไดจากข้ันตอนน้ี จะเปนสัดสวนการลงทุนในกลุมตางๆ ของหลักทรัพย เชน สัดสวนเงินลงทุนใน
หลักทรัพยท่ีมีสภาพคลองสูงใกลเคียงกับเงินสด กลุมหลักทรัพยตราสารหนี้ และกลุมหลักทรัพยตราสารทุน
เปนตน โดยท่ัวไป หากเปนกรณีลงทุนแบบระมัดระวัง (conservative) มักวางกรอบการลงทุนในกลุม
หลักทรัพยตราสารหนี้เปนสัดสวนท่ีสูงกวากลุมหลักทรัพยตราสารทุน น่ันคือ หากเปนกรณีลงทุนในเชิงรุก
(aggressive) มักวางกรอบการลงทุนในกลุมหลักทรัพยตราสารทุนเปนสัดสวนที่สูงกวากลุมหลักทรัพย
ตราสารหนี้ และอาจกําหนดใหมีการลงทุนในหลักทรัพยอนุพันธดวย

ข้ันตอนท่ี 4 คัดสรรหลักทรัพย (security selection) และสรางกลุมหลักทรัพย (portfolio
construction)

เมื่อผูลงทุนตกลงใจในสัดสวนของเงินลงทุนในกลุมสินทรัพยทางการเงินในภาพรวมแลว ขั้นตอน
ตอไปในกระบวนการตัดสินใจลงทุนคือ การคัดสรรหลักทรัพยรายชนิดในแตละกลุมสินทรัพยทางการเงิน
(แตละ asset class) เชน ในกลุมหลักทรัพยตราสารหน้ีในสัดสวนท่ีตกลงใจไวนั้น ควรเปนพันธบัตรรัฐบาล
รุนใด หุนกูของบริษัทใด ในกลุมหลักทรัพยตราสารทุนควรเปนหุนสามัญของบริษัทใด เปนตน

ข้ันตอนท่ี 5 ติดตามและวัดผลการดําเนินงานของกลุมหลักทรัพย

การวัดผลการดําเนินงานของกลุมหลักทรัพย อาจทําไดหลายวิธีตามแนวคิดตางๆ ซ่ึงพยายามหา
วิธีการวัดผลตอบแทนของกลุมหลักทรัพยที่ปรับดวยคาความเส่ียงแลว (risk-adjusted return) ตลอดจน
การวัดชวงจังหวะการลงทุนที่เหมาะสม เม่ือวัดผลการดําเนินงานแลว ตองนํามาเทียบกับผลการดําเนินงาน
มาตรฐานหรือตัวเทียบคา (benchmark) ซึ่งอาจเปนผลการดําเนินงานของตลาดโดยใชดัชนีราคาหลักทรัพย

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 35

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

เปนฐานการคํานวณ แลวจึงหาสาเหตุของความแตกตางของผลการดําเนินงานของกลุมหลักทรัพย เพ่ือ
นําผลท่ีไดมาปรับเปล่ียนแนวทางการลงทุนตอไป

2.2.2 การกระจายความเส่ียงกับการลงทุน

การกระจายการลงทุน (diversification) เปนวิธีการหน่ึงท่ีชวยลดความเสี่ยงจากการลงทุนลง
โดยการจัดสรรเงินลงทุนในหลักทรัพยประเภทตางๆ (asset class) ในรูปกลุมหลักทรัพย (portfolio)
ไมลงทุนกระจุกตัวอยูในหลักทรัพยประเภทใดประเภทหน่ึงมากเกินไป การกระจายการลงทุน สอดคลองกับ
คํากลาวที่วา “อยาวางไขทั้งหมดไวในตะกราใบเดียว”

การจัดสรรเงินลงทุนในหลักทรัพยประเภทตางๆ หรือท่ีเรียกวา การทํา Asset Allocation ชวยให
ความผันผวนของอัตราผลตอบแทนของกลุมหลักทรัพยลดลง ทั้งน้ี ผูลงทุนพึงตระหนักวา หลักทรัพยรายตัว
แตละหลักทรัพย ยอมมีความผันผวนของอัตราผลตอบแทนที่คาดวาจะเกิดขึ้น แตความผันผวนของอัตรา
ผลตอบแทนของหลักทรัพยแตละคู สวนใหญแลวมิไดไปดวยกันอยางสมบูรณ ดังนั้น เม่ือผูลงทุนกระจาย
การลงทุนในหลักทรัพยหลายชนิดในรูปกลุมหลักทรัพย จะสงผลใหระดับความผันผวนของอัตราผลตอบแทน
ของกลุมหลักทรัพยลดลง กลาวไดวา ความเส่ียงจากการลงทุนลดลง

กลุมหลักทรัพยท่ีผูลงทุนพอใจที่จะถือครอง อาจประกอบดวยหลักทรัพยแตละประเภท (asset class)
เชน หลักทรัพยระยะส้ัน พันธบัตรรัฐบาล หุนกู หุนสามัญ ในสัดสวนอยางไร ยอมขึ้นกับวัตถุประสงคของ
การลงทุน การยอมรับความเสี่ยงของผูลงทุน และเงื่อนไขดานระยะเวลาของการลงทุน

ภาพรวมของการคัดสรรหลักทรัพยและสรางกลุมหลักทรัพย

เมื่อผูลงทุนตกลงใจในสัดสวนของเงินลงทุนในสินทรัพยทางการเงินในภาพรวมแลว ผูลงทุนจะ
เสาะหาและคัดสรรหลักทรัพยรายชนิด (security selection) ในแตละกลุมสินทรัพยทางการเงิน (แตละ asset
class) เชน ในกลุมหลักทรัพยตราสารหนี้ในสัดสวนที่ตกลงใจไวนั้น ควรเปนพันธบัตรรัฐบาลรุนใด หุนกู
ของบริษัทใด ในกลุมหลักทรัพยตราสารทุนควรเปนหุนสามัญของบริษัทใด เปนตน โดยท่ัวไป สามารถจําแนก
แนวคิดในการสรางและบริหารกลุมหลักทรัพยเปน 2 แนวคิด คือ การบริหารกลุมหลักทรัพยแบบวิเคราะห
จากบนลงลาง (top-down portfolio management) และการบริหารกลุมหลักทรัพยแบบเจาะจงบริษัทหรือ
จากลางขึ้นบน (bottom-up portfolio management)

การบรหิ ารกลมุ หลกั ทรพั ยแ บบวเิ คราะหจ ากบนลงลา ง (top-down portfolio management)
เปนแนวคิดเพ่ือการตัดสินใจวาควรจะซื้อหรือขายหลักทรัพยของบริษัทใด โดยเริ่มจากการพยากรณ
และวิเคราะหเศรษฐกิจ (economic forecast/analysis) ในภาพรวม แลวจึงวิเคราะหผลกระทบของสภาวะ
เศรษฐกิจตออุตสาหกรรมตางๆ หรือเปนข้ันตอนของการวิเคราะหอุตสาหกรรม (industry analysis) ตอจาก
น้ัน จึงวิเคราะหผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมที่มีตอบริษัทตางๆ หรือเปนข้ันตอนของการ

36 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย

วิเคราะหบริษัท (company analysis) เพ่ือประเมินมูลคาท่ีแทจริง (intrinsic value) ของหลักทรัพย แลวจึง
คัดสรรหลักทรัพยเพื่อหาหลักทรัพยที่มีราคาตลาด (market prices) แตกตางไปจากมูลคาท่ีแทจริง เพ่ือ
ตัดสินใจซื้อหลักทรัพยที่มีราคาตลาดตํ่ากวามูลคาท่ีแทจริง หรือขายหลักทรัพยท่ีมีราคาตลาดสูงกวามูลคา
ท่ีแทจริง ท้ังนี้ น้ําหนักเงินลงทุนที่กระจายไปในหลักทรัพยแตละชนิดนั้น เปนผลลัพธจากการบริหารกลุม
หลักทรัพย เพื่อใหผลการดําเนินงานของกลุมหลักทรัพยดีท่ีสุด รูปที่ 2-2 แสดงข้ันตอนการบริหารกลุม
หลักทรัพยแบบวิเคราะหจากบนลงลาง ท้ังนี้ ในขั้นตอนของการพยากรณและวิเคราะหเศรษฐกิจ การวิเคราะห
อุตสาหกรรม และการวิเคราะหบริษัทนั้น อาจเรียกวา เปนการวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐาน (fundamental analysis)
อันเปนแนวคิดหน่ึงของการวิเคราะหหลักทรัพย

รูปที่ 2-2 การบริหารกลุ‹มหลักทรัพยแบบวิเคราะหจากบนลงล‹าง

C& 6&
5 .''A è ) < 6'+èA '64/Ĝ/)5 '5"&Ĝ
(asset allocation policy) 6%B + 8

"&6 ' ĜB)4+èA '64/ĜA,'- 8
6'+èA '64/Ĝ ĝ

5&"÷J 6
(economic forecast/analysis)

+èA '64/Ĝ1< .6/ ''%
(industry/sector analysis)

+èA '64/Ĝ 'è-5
(company analysis)
5 .''/)5 '5"&ĜB)4.'ę6 )<Ę%/)5 '5"&Ĝ
(security selection and
portfolio construction)

การบริหารกลุมหลักทรัพยแบบเจาะจงบริษัทหรือจากลางขึ้นบน (bottom-up portfolio
management)

แนวคิดน้ี จะมุงเนนความสําคัญไปท่ีพื้นฐานของบริษัทโดยตรง เพื่อคนหาบริษัทท่ีมีศักยภาพและ
นาลงทุน วิธีนี้จะมุงการวิเคราะหไปท่ีผลิตภัณฑของบริษัท สถานะการแขงขัน และฐานะทางการเงิน

ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย 37

ตราสารการเงินและการตัดสินใจลงทุน

เพ่ือนําไปสูการคาดการณศักยภาพในการทํากําไรของบริษัท รวมไปถึงลักษณะเดนนาลงทุนตามเกณฑที่
กําหนดไว ไมวาจะเปนการพิจารณาเปรียบเทียบราคาตอกําไรตอหุน (price to earnings ratio: P/E ratio)
ราคาตอมูลคาทางบัญชี (price to book value ratio: P/BV ratio) หรืออัตราผลตอบแทนจากเงินปนผล
(dividend yield) เปนตน หลังจากไดบริษัทที่ดีแลว จึงยอนไปพิจารณาสภาวะแวดลอมทางเศรษฐกิจและ
อตุ สาหกรรมของหลกั ทรพั ยน น้ั วา มสี ว นสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานของบรษิ ทั นนั้ หรอื ไม และอยา งไร จะเหน็ ไดว า
แนวคิดน้ีก็ใชแนวคิดการวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐานเชนกัน เพียงแตมิไดเร่ิมจากภาพรวมของสภาวะเศรษฐกิจ
แตมุงเจาะมายังหลักทรัพยของบริษัทที่ผูวิเคราะหมีขอมูลอยูวานาลงทุน แลวจึงวิเคราะหขึ้นไปยังอุตสาหกรรม
และเศรษฐกิจ

การวิเคราะหปจจัยพ้ืนฐานกับการวิเคราะหทางเทคนิค

การวิเคราะหหลักทรัพย เปนกระบวนการในการคนหามูลคาท่ีแทจริงของหลักทรัพย (intrinsic value)
โดยอาศัยการเก็บรวบรวมขอมูลท่ีเกี่ยวของกับหลักทรัพยที่เปดเผยตอสาธารณะ (public information)
และวิเคราะหขอมูลดังกลาวอยางเปนระบบ ทั้งขอมูลในอดีต และการคาดการณขอมูลในอนาคต เม่ือประเมิน
ไดมูลคาที่แทจริงในปจจุบันของหลักทรัพย ก็จะนําไปเปรียบเทียบกับราคาตลาดในปจจุบัน เพ่ือประกอบการ
ตัดสินใจลงทุน

การวิเคราะหหลักทรัพยมี 2 แนวคิดหลัก คือ การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพ้ืนฐานและ
การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยทางเทคนิค

• การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยพ้ืนฐาน (fundamental analysis)
เปนวิธีการท่ีมุงวิเคราะหปจจัยตางๆ ที่เปนพ้ืนฐานกําหนดมูลคาท่ีแทจริงของหลักทรัพย (intrinsic

value) อัตราผลตอบแทน และความเส่ียง โดยปจจัยพ้ืนฐานที่ใชในการวิเคราะห ไดแก ปจจัยดานภาวะ
เศรษฐกิจ ภาวะอุตสาหกรรม และปจจัยที่เกี่ยวกับฐานะการเงินของบริษัท ผลการดําเนินงาน และความ
ไดเปรียบในเชิงแขงขัน เปนตน แลวนําขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหมาประเมินหามูลคาท่ีแทจริงของ
หลักทรัพย เพื่อเปรียบเทียบกับราคาตลาด (market prices) โดยตัดสินใจซ้ือหลักทรัพยที่มีราคาตลาด
ตํ่ากวามูลคาที่แทจริง และขายหลักทรัพยที่มีราคาตลาดสูงกวามูลคาที่แทจริง

• การวิเคราะหหลักทรัพยโดยใชปจจัยทางเทคนิค (technical analysis)
การวิเคราะหทางเทคนิค จะเปนการสรางเกณฑการซื้อขายหลักทรัพย (trading rules) จาก

รูปแบบของราคาหลักทรัพย (price pattern) และปริมาณการซื้อขายหลักทรัพย โดยคาดการณการ
เปลี่ยนแปลงแนวโนม (trend) ของราคาหลักทรัพย ถาคาดวาราคาจะเปล่ียนแปลงไปในทิศทางท่ีสูงข้ึน
ควรซื้อหลักทรัพยน้ัน ถาคาดวาราคาจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางท่ีต่ําลง ควรขายหลักทรัพยน้ัน จะเห็น
ไดวา การวิเคราะหทางเทคนิคใชขอมูลการซ้ือขายในอดีตมาเปนตัวกําหนดมูลคาหรือราคาในอนาคตของ
หลักทรัพย เพราะเช่ือในหลักการ “ประวัติศาสตรซํ้ารอย” กลาวคือ ขอมูลการซ้ือขายหลักทรัพย ไมวาจะ

38 ศูนยส‹งเสริมการพัฒนาความรูŒตลาดทุน ตลาดหลักทรัพยแห‹งประเทศไทย