ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม

 1.ความเข้าใจได้หมายถึง ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถทำให้ผู้ใช้งบการเงินเข้าใจได้ทันที

                 2.ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจขึ้นอยู่กับลักษณะและความมีนัยสำคัญของข้อมูลกล่าวคือข้อมูลในงบการเงินต้องมีประโยชน์เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงินโดยข้อมูลนั้นต้องช่วยให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีตปัจจุบันและอนาคตได้รวมทั้งช่วยยืนยันหรือชี้ข้อผิดพลาดของผลการประเมินที่ผ่านมาได้เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณและโครงสร้างของสินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่ในปัจจุบันจะช่วยให้ผุ้ใช้งบการเงินสามารถควาดคะเนถึงความสามารถของกิจการในการรับประโยชน์จากโอกาศใหม่ๆรวมทั้งช่วยยืนยันความถูกต้องของการคาดคะเนในอดีตที่เกี่ยวกับโครงสร้างของกิจการและผลการนำเนินงานตามที่ว่างแผนไว้หรือข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดำเนินงานในอดีตของกิจการสามารถใช้ในการคาดคะเนถึงฐานะการเงินการดำเนินงานในอนาคตเป็นต้น

                 3.ความเชื่อถือได้หมายถึง ข้อมูลในงบการเงินต้องเป็นข้อมูลที่มีความเชื่อถือได้โดยปราศจากความผิดพลาดที่มีสาระสำคัญเป็นข้อมูลที่มีความเที่ยงธรรมมีความเป็นกลางโดยปราศจากความลำเอียงและมีความครบถ้วนสมบูรณ์ในสาระสำคัญที่จะไม่ทำให้ผุ้ใช้งบการเงินเข้าใจผิดและตัดสินใจผิดพลาดความเชื่อถือได้ของงบการเงินประกอบด้วย

                              3.1การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมหมายถึงรายการและเหตุผลทางบัญชีได้แสดงอย่างเที่ยงธรรมในงบการเงินตามที่ควรแสดงนั้นคือ งบดุลควรแสดงสินทรัพย์หนี้สินและส่วนของเจ้าของเฉพาะรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่เข้าเกณการรับรู้ณ วันที่เสนอรายงาน

                           3.2เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบหมายถึงข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมิไช่ตามรูปแบบทางกฎหมายเพียงอย่างเดียว

                          3.3ความเป็นกลางหมายถึง ข้อมูลที่แสดงในงบการเงินต้องมีความน่าเชื่อถือหรือปราศจากความลำเอียง

                          3.4ความระมัดระวังหมายถึงการใช้ดุลยพินิจในการจัดทำงบการเงินเกี่ยวกับการประมาณการภายใต้ความไม่แน่นอนเพื่อให้สินทรัพย์หรือรายได้แสดงจำนวนสุงเกินไปและหนี้สินหรือค่าใช้จ่ายแสดงจำนวนต่ำเกินไปเช่นความสามารถในการเก็บหนี้การประมาณอายุการใช้งานของสินทรัพย์ที่มีตัวตนเป็นต้น

                            3.5ความครบถ้วนหมายถึงข้อมูลที่เชื่อได้ต้องครบถ้วนภายใต้ข้อจำกัดของความมีนัยสำคัญและต้นทุนในการจัดทำ

             4.การเปรียบเทียบกันได้หมายถึงข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถนำมาเปรียบเทียบกันในระยะเวลาค่างกันได้หรือเปรียบเทียบกับงบการเงินระหว่างกิจการได้ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถเปรียบเทียบงบการเงินเพื่อประเมินฐานะการเงินผลการดำเนินงานและการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการเองหรือระหว่างกิการหนึ่งกับอีกกิจการหนึ่งซึ่งจะทำให้ผู้ใช้งบการเงินสามารถตัดสินใจได้ถูกต้องในเรื่องต่างๆ

Click to rate this post!

[Total: 298 Average: 5]

การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representational Faithfulness) เป็นลักษณะประการหนึ่งของแนวความคิดและหลักการทางบัญชีในหัวข้อความเชื่อถือได้ โดยการเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมหมายถึง การแสดงรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องและต้องอ้างอิงตามความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมิใช่รูปแบบกฏหมายเพียงอย่างเดียว เช่น อาคารและอุปกรณ์ต้องรับรู้เป็นสินทรัพย์ไม่ใช่รับรู้เป็นค่าใช้จ่าย เป็นต้น

ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representational Faithfulness)

(Visited 691 times, 1 visits today)

การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม

การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม คือ (Representational Faithfulness) ?

การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม (Representational Faithfulness) เป็นลักษณะประการหนึ่งของแนวความคิดและหลักการทางบัญชีในหัวข้อความเชื่อถือได้ โดยการเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมหมายถึง การแสดงรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีที่เกี่ยวข้องและต้องอ้างอิงตามความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมิใช่รูปแบบกฏหมายเพียงอย่างเดียว เช่น อาคารและอุปกรณ์ต้องรับรู้เป็นสินทรัพย์ไม่ใช่รับรู้เป็นค่าใช้จ่าย เป็นต้น

สำนักงานบัญชี มีบริการอะไรบ้าง แล้วจะติดต่อสำนักงานบัญชี รับทำบัญชี ได้อย่างไร ?

47/103 ตำบลบางพูด อำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี 11120
โทร.081-931-8341

แก้ไขครั้งสุดท้าย ตุลาคม 22, 2022

 

ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม

ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมควรมีลักษณะอย่างไร

ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม ข้อมูลที่แสดงในงบการเงินต้องแสดงตามความเป็นจริงที่ควรแสดง เนื้อหาสำคัญกว่ารูปแบบ ข้อมูลทางบัญชีต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาความเป็นจริงเชิงเศรษฐกิจมากกว่าแสงดงตามรูปแบบทางกฎหมาย เช่นสัญญาเช่าทางการเงิน ความเป็นกลาง การนำเสนอข้อมูลในงบการเงินต้องปราศจากความลำเอียง

ข้อใดเป็นลักษณะเชิงคุณภาพเสริม

2) ลักษณะเชิงคุณภาพเสริม (Enhancing Qualitative Characteristics) นอกจากข้อมูลทาง การเงินที่มีประโยชน์ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจและความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมแล้ว ข้อมูล ทางการเงินยังสามารถเพิ่มประโยชน์ได้มากยิ่งขึ้นด้วยลักษณะเชิงคุณภาพเสริม ซึ่งประกอบด้วย 4 ประการ ได้แก่ความสามารถเปรียบเทียบได้ ความสามารถ ...

วัตถุประสงค์ของการรายงานทางการเงิน คืออะไร

วัตถุประสงค์ของ การรายงานทาง การเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพ ของข้อมูลการเงินที่ มีประโยชน์ ค าอธิบายถึงกิจการ ที่เสนอรายงานและ การก าหนดขอบเขต ค านิยามของ สินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย หลักการวัดค่าและ แนวทางว่าเมื่อใดที่ จะใช้หลักการนั้น แนวคิดและแนว ทางการแสดง รายการและการ เปิดเผยข้อมูล

ข้อใดเป็นลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐาน

ลักษณะเชิงคุณภาพพื้นฐานนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบย่อย 2 องค์ประกอบ คือ 1) ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ซึ่งข้อมูลนั้นจะเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจก็ต่อเมื่อ ข้อมูลนั้นมีคุณค่าทางการพยากรณ์หรือคุณค่าทางการยืนยันและมีสาระส าคัญ และ 2) ความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม โดยความเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรมนั้นจะมีความสมบูรณ์ ต่อเมื่อครบ ...