การประเมินคุณค่าของหลักฐานภายนอก

การประเมินคุณค่าของหลักฐานภายนอก

˹���á

�ç���¹��¹�Ӽ�� 㹾���ػ�����

����ǡѺ����

����������ѧ���֡�� ��ʹ�����Ѳ�����

��úѭ

��ʹ� ���¸���

˹�ҷ������ͧ

���ɰ��ʵ��

����ѵ���ʵ��

������ʵ��

Ẻ�֡�Ѵ

 

��鹵͹�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��

 

��鹵͹��� 3 ��û����Թ�س��Ңͧ��ѡ�ҹ
          �Ծҡ���Ըշҧ����ѵ���ʵ�� ��� ��õ�Ǩ�ͺ��ѡ�ҹ��Т��������ѡ�ҹ����ҹ����� �դ���������Ͷ��������� ��Сͺ���¡���Ծҡ����ѡ�ҹ����Ծҡ��������¢�鹵͹����ͧ�С�зӤǺ���ѹ� ���ͧ�ҡ��õ�Ǩ�ͺ��ѡ�ҹ��ͧ�Ԩ�óҨҡ������ ���͢�����������ѡ�ҹ��� ���㹡���Ծҡ������š��ͧ������ٻ�ѡɳТͧ��ѡ�ҹ��¹͡��Сͺ���¡���Ծҡ����ѡ�ҹ�����Ծҡ����¹͡
����Ծҡ����ѡ�ҹ (external criticism) ���           ��þԨ�óҵ�Ǩ�ͺ��ѡ�ҹ�����Ѵ���͡������Ъ������դ���������Ͷ����§� ������§��û����Թ�����ѡ�ҹ ������觷����������ѡ�ҹ �ѧ��鹢�鹵͹����繡��ʡѴ��ѡ�ҹ�����������Ͷ���͡仡���Ծҡ������������Ծҡ������
          ����Ծҡ������� (internal criticism) ��� ��þԨ�ó����������ͤ������·���ʴ��͡���ѡ�ҹ ���ͻ����Թ��ҹ�����Ͷ����§� ���鹶֧�����١��ͧ �س��� ��ʹ���������·�����ԧ ��觹Ѻ����դ����Ӥѭ��͡�û����Թ��ѡ�ҹ���������ѡɳ��ѡ�� ���Т�������͡����շ�駷���Ҵ����͹ �����ͤ�Ԣͧ���ѹ�֡ὧ���� �ҡ�ѡ����ѵ���ʵ������¡���Ծҡ������żŷ���͡���Ҩ�мԴ��Ҵ�ҡ�����繨�ԧ      



การประเมินคุณค่าของหลักฐาน


       ขั้นตอนที่สามของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คือการประเมินหลักฐาน ขั้นตอนนี้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะใช้ในการตรวจหลักฐานว่ามีคุณค่าและความน่าเชื่อถือเพียงพอหรือไม่ก่อนที่จะนำมาใช้ศึกษาประวัติศาสตร์การประเมินหลักฐานมี 2 วิธีดังนี้

การประเมินภายนอก

       การประเมินภายนอก เป็นการประเมินที่มุ่งพิสูจน์หลักฐานว่าเป็นของจริงหรือปลอม โดยมีข้อพิจารณาเบื้องต้นดังนี้

การประเมินภายใน

       การประเมินภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่ปรากฏบนหลักฐาน อาทิ ตัวอักษร รูปภาพ ร่องจารึก ตำหนิ ว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด มีข้อความใดที่น่าสงสัย หรือกล่าวไว้ไม่ถูกต้อง

คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอกการวิพากษ์หลักฐาน (external criticism) คือ การพิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด แต่เป็นเพียงการประเมินตัวหลักฐาน มิได้มุ่งที่ข้อมูลในหลักฐาน ดังนั้นขั้นตอนนี้เป็นการสกัดหลักฐานที่ไม่น่าเชื่อถือออกไปการวิพากษ์ข้อมูลหรือวิพากษ์ภายในการวิพากษ์ข้อมูล (internal criticism) คือ การพิจารณาเนื้อหาหรือความหมายที่แสดงออกในหลักฐาน เพื่อประเมินว่าน่าเชื่อถือเพียงใด โดยเน้นถึงความถูกต้อง คุณค่า ตลอดจนความหมายที่แท้จริง ซึ่งนับว่ามีความสำคัญต่อการประเมินหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพราะข้อมูลในเอกสารมีทั้งที่คลาดเคลื่อน และมีอคติของผู้บันทึกแฝงอยู่ หากนักประวัติศาสตร์ละเลยการวิพากษ์ข้อมูลผลที่ออกมาอาจจะผิดพลาดจากความเป็นจริงวิธีการประเมินหลักฐานทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 2 กรณีคือ

1. การประเมินหลักฐานภายนอก - เป็นการประเมินตัวหลักฐานจากภายนอก ว่าใครเป็นผู้บันทึกหลักฐานนั้น มีสถานภาพใดในขณะนั้น บันทึกโดยจุดมุ่งหมายใด มีความเป็นกลางเพียงใด
2. การประเมินหลักฐานภายใน - เป็นการประเมินเนื้อหาของข้อมูลที่ปรากาฏในหลักฐานนั้นๆ ว่าน่าเชื่อถือ และมีอคติหรือไม่ ตรงกับข้อเท็จจริงหรือมีการบิดเบือนข้อมูลหรือไม่

การประเมินหลักฐานภายนอก กับ การประเมินหลักฐานภายใน ต่างกันอย่างไรคะ?

คำตอบ

✨ คำตอบที่ดีที่สุด ✨

การประเมินหลักฐานภายนอก เป็นการที่เราดูว่าหลักฐานนี้จริงหรือปลอม ส่วนการประเมินหลักฐานภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่มีอยู่บนหลักฐาน เช่น รูปภาพ ตัวอักษร ว่ามีความน่าเชื่อถือมั้ย ค่า

แสดงความคิดเห็น

การประเมินคุณค่าของหลักฐานภายนอก

ข้อสงสัยของคุณเคลียร์แล้วหรือยัง?

เมื่อดูคำถามนี้แล้ว
ก็จะเจอคำถามเหล่านี้ด้วย😉

สมุดโน้ตแนะนำ

การประเมินคุณค่าของหลักฐานภายนอกภายในต่างกันอย่างไร

การประเมินหลักฐานภายนอก เป็นการที่เราดูว่าหลักฐานนี้จริงหรือปลอม ส่วนการประเมินหลักฐานภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่มีอยู่บนหลักฐาน เช่น รูปภาพ ตัวอักษร ว่ามีความน่าเชื่อถือมั้ย ค่า 5. แสดงความคิดเห็น

อะไรบ้างที่ควรนำมาพิจารณาในการประเมินภายนอก

1. การประเมินภายนอกหรือการวิพากษ์ภายนอก เป็นการพิจารณาตรวจสอบหลักฐานที่ได้คัดเลือกไว้ แต่ละชิ้นว่ามีความน่าเชื่อถือเพียงใด เป็นการประเมินลักษณะทั่วไปของหลักฐานนั้น เพื่อดูว่าเป็นของจริงหรือ ของปลอม โดยพิจารณา เช่น ใครเป็นผู้ท าหรือเขียน ท าหรือเขียนขึ้นเมื่อใด ท าหรือเขียนขึ้นท าไม ท าหรือ เขียนขึ้นที่ไหน ทั้งนี้ การ ...

การประเมินคุณค่าของหลักฐานหมายถึงอะไร

การประเมินคุณค่าของหลักฐาน คือ การประเมินหลักฐานผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะใช้ในการตรวจหลักฐานว่ามีคุณค่าและความน่าเชื่อถือเพียงพอหรือไม่ก่อนที่จะนำมาใช้ศึกษาประวัติศาสตร์

การประเมินคุณภาพภายนอก คืออะไร

การประเมินคุณภาพภายนอก คือการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม การตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษา ซึ่งกระทำโดย สมศ. หรือผู้ประเมินภายนอกที่ได้รับการรับรองจาก สมศ. เพื่อมุ่งให้มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น หลักการสำคัญของการประเมินคุณภาพภายนอก