แนวทางการเก็บข้อมูล

:: ���й�����ҧʶԵ� >> ��ɮ�����º�Ը�ʶԵ� >�Ƿҧ������͡�Ըա�����Ǻ���������1.7 �Ƿҧ������͡�Ըա�����Ǻ���������

��÷������͡���Ը���Ը�˹����������������ش㹡�����Ǻ��������Ź�鹨е�ͧ�Ԩ�óҶ֧��ǻ�Сͺ����Ӥѭ���仹�� ���
•  �ѡɳТͧ�����ŷ����Ǻ���
•  �س�Ҿ�ͧ�����ŷ����������дѺ�����١��ͧ���Ͷ����ͧ�����ŷ�����ҡ�����Ը�����º�Ѻ������ͧ���
•  ���º��º��ʹ� ������¢ͧ�����Ը�
•  ��������ö㹡�û�Ժѵԧҹ�ͧ�����Ը�
•  ���ҷ��е�ͧ����㹡�����Ǻ�����������С�û����ż�
•  ������ҳ����ѵ�ҡ��ѧ������

1. �Ըա�������ɳ�ҡ������ӵͺ�µç (Personal interview ���� Face to face interview) ���Ըա�÷�������˹�ҷ�����;�ѡ�ҹ�͡������ɳ������ӵͺ ��кѹ�֡�ӵͺŧ�Ẻ��Ͷ�� �Ըչ�������ѹ�ҡ㹡�÷������������Ǩ ��੾�����ҧ��觡Ѻ��Ҿ��ó�ͧ������� ���Ըա�÷��з����������ŷ�������´ ��ѡ�ҹ�����ɳ�����ö���ᨧ����͸Ժ����� ���ͺ����㹤Ӷ���� ��������Ѻ�ӵͺ�ç����ѵ�ػ��ʧ�� ���÷��������ӵͺ���� ���ͧ�������Ѻ�Ѩ������� �� ���������ö�ͧ���ͺ�������㨤Ӷ�� �������㨢ͧ���ͺ��Ф����ب�Ե㨷������ӵͺ ��������ö�ͧ��ѡ�ҹ ���������ɳ������ҧ�����´�ú��ǹ ��кѹ�֡�ӵͺ���ҧ�١��ͧ ��з���Ӥѭ����ش��� ���������ѵ���ب�Ե�ͧ��ѡ�ҹ�����ɳ��������͡�������ͧ ���㹷ҧ��Ժѵԡ�͹���������˹�ҷ�����;�ѡ�ҹ�͡任�Ժѵԧҹ �е�ͧ�ӡ��ͺ�����ᨧ������㨶֧��鹵͹��������ɳ� ��ʹ���ѵ�ػ��ʧ��ͧ�ç��� �ӨӡѴ�������ͤ������¢ͧ�ӵ�ҧ� ������Ẻ��Ͷ�� ��á�͡Ẻ��Ͷ�� �����������´��ҧ� ����ҹ�� ���˹����㹤����͡�û�Ժѵԧҹ���Ǻ���������

2. �Ըա�������ɳ�ҧ���Ѿ�� (Enumeration by telephone) ���Ըա�÷���Ҩ�������ҧ�Ǵ���� ��з�蹤������� ��������ͧ�Թ�ҧ ���բͺࢵ�ӡѴ �������੾�м���������Ѿ����ҹ�� �Ӷ��������е�ͧ���������㨧��� �Ըչ��֧��㹡�����Ǻ��������¡�â�Ͷ������ҡ�ѡ ����ҳ 1 � 2 ��¡�� �֧�ѡ�������Ѻ�Ը���� ������㹡�÷ǧ����Ẻ��Ͷ�� �����ͺ����������������բ��ʧ��� ����ǡѺ�ӵͺ ����������Ѻ�ӵͺ㹺ҧ��¡�� �����Ҩ��㹡�õ�Ǩ�ͺ��÷ӧҹ�ͧ��ѡ�ҹ

3. �Ըա����龹ѡ�ҹ价ʹẺ��������ͺ��͡�������ͧ (Self enumeration) �Ըչ�龹ѡ�ҹ�й�Ẻ��Ͷ����ͺ������Ѻ���ͺ ��͸Ժ�¶֧�Ըա�á�͡��ҷ����� ���ͺ�е�ͧ��͡Ẻ ��Ͷ���ͧ ��ѡ�ҹ�С�Ѻ��ѺẺ��Ͷ������͡������������ѹ����˹� 㹢�����ǡѹ��ѡ�ҹ�е�ͧ�ӡ�õ�Ǩ�ͺ�����١��ͧ ��Ф����ú��ǹ�ͧ�����ŷ���͡���� ��ҼԴ��Ҵ���� ���ú��ǹ�е�ͧ�����ɳ�������� �Ըչ������з�����Ѻ����� �ա���֡�Ҿͷ�����ҹ ��¹ ���㨤Ӷ���� ����Ѻ��������дѺ����֡����С��������������ͧ͢��Ъҡ��ѧᵡ��ҧ�ѹ�ҡ �й�鹨֧�������������Ѻ�ҹ�ҧ�ç�����ҹ�� Ẻ��Ͷ���������Ըչ��е�ͧ�դӶ��������㨧��� �դ�͸Ժ�����ҧ�Ѵਹ ��С�á�͡Ẻ��Ͷ����ͧ�������ҡ

การเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับงานวิจัย เป็นอีกหนึ่งขั้นตอนสำคัญที่สามารถทำให้เราทราบถึงข้อมูลทั้งหมดที่เรามี และสามารถประเมินได้ว่าข้อมูลที่เรามีนั้น เพียงพอหรือไม่ และตอบโจทย์งานวิจัยที่เราตั้งไว้ได้หรือเปล่า เพราะฉะนั้นจะการเก็บข้อมูลเป็นอีกหนึ่งขั้นตอนที่สำคัญ และสามารถเติมเต็มงานวิจัยของเราให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้

การเก็บรวบรวมข้อมูล คืออะไร
การเก็บรวบรวมข้อมูล  หมายถึง กระบวนการที่จะได้ข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ของการวิจัย  ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล และการรวบรวมข้อมูล การเก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้เครื่องมือหลากหลายรูปแบบในการให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ต้องการ

ประเภทของข้อมูล

ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัย อาจแบ่งจำแนกได้หลาย ๆ วิธี ที่นิยมใช้กันมาก คือ 1) จำแนกตามลักษณะของข้อมูล และ 2) จำแนกประเภทตามวิธีการเก็บรวบรวม

ลักษณะของข้อมูล

ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับตัวแปรที่สำรวจโดยใช้วิธีการวัดแบบใดแบบหนึ่ง โดยทั่วไปจำแนกตามลักษณะของข้อมูลได้เป็น 2 ประเภท คือ

1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่บอกเป็นตัวเลขหรือนำมาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถวัดออกมาเป็นค่าตัวเลขที่นำมาใช้เปรียบเทียบขนาดได้โดยตรง เช่น จำนวนนักศึกษา คะแนน น้ำหนัก ระยะทาง เป็นต้น

2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนำไปวิเคราะห์ทางสถิติ แต่จะบอกในลักษณะคำพูด หรือบรรยายที่แสดงคุณลักษณะที่แตกต่างของตัวแปรต่างๆ โดยพยายามแยกเป็นกลุ่มตามคุณสมบัติ เช่น อาชีพ ศาสนา สถานภาพ สมรส เพศ เป็นต้น

ที่มาของข้อมูล จำแนกตามวิธีการเก็บรวบรวม  แบ่งเป็น 2 ประเภท

1) ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary source) คือ ข้อมูลที่ผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูล หรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง เป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมขึ้นใหม่จากแหล่งกำเนิดของข้อมูลโดยตรงไม่มีการเปลี่ยนรูปหรือเปลี่ยนความหมาย เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสอบถาม การสัมภาษณ์ การสังเกต และข้อมูลที่ได้จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ เป็นต้น  ข้อมูลปฐมภูมิเป็นข้อมูลที่มีรายละเอียดตรงตามที่ผู้ใช้ต้องการ แต่มักจะเสียเวลาในการจัดหาและมีค่าใช้จ่ายสูง

2) ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary source) คือ ข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลโดยตรง แต่ได้มาจากข้อมูลที่ผู้อื่นเก็บรวบรวมไว้แล้ว เป็นข้อมูลที่ไม่สามารถเก็บรวบรวมจากแหล่งกำเนิดของข้อมูลได้โดยตรง แต่ได้จากแหล่งที่รวบรวมข้อมูลไว้แล้ว เช่น ข้อมูลสถิติต่างๆ ที่มีการบันทึกไว้แล้ว ข้อมูลจากรายงานการวิจัย บันทึกการนิเทศ เป็นต้น ซึ่ง อาจมีการเปลี่ยนรูป หรือมีข้อเท็จจริงที่คลาดเคลื่อนไปจากความเป็นจริงได้ การนาเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้เป็นการประหยัดเวลา และค่าใช้จ่าย แต่ในบางครั้งข้อมูลอาจจะไม่ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ หรือมีรายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนาไปวิเคราะห์

ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล

ในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำแนกเป็นขั้นตอนดังนี้

1) กำหนดข้อมูลและตัวชี้วัด เป็นการกำหนดว่าข้อมูลที่ต้องการมีอะไรบ้าง โดยการศึกษาและวิเคราะห์จากวัตถุประสงค์หรือปัญหาของการวิจัยว่ามีตัวแปรอะไรบ้างที่เป็นตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม และตัวแปรที่เกี่ยวข้อง และจะใช้อะไรเป็นตัวชี้วัดจึงจะได้ข้อมูลที่สอดคล้องกับสภาพความเป็นจริง

2)กำหนดแหล่งข้อมูล เป็นการกำหนดว่าแหล่งข้อมูลหรือผู้ให้ข้อมูลเป็นใครอยู่ที่ไหน มีขอบเขตเท่าไร ที่จะต้องกำหนดให้ชัดเจน และเป็นแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิ แล้วจะต้องพิจารณาว่าแหล่งข้อมูลนั้น ๆ สามารถที่จะให้ข้อมูลได้อย่างครบถ้วนหรือไม่

3) กำหนดกลุ่มตัวอย่าง เป็นการเลือกใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างเหมาะสม และขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสม

4) เลือกวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล จะต้องเลือกใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่เหมาะสม (แหล่งข้อมูล/ขนาดกลุ่มตัวอย่าง/การวิเคราะห์ข้อมูล) ประหยัด ได้ข้อมูลอย่างครบถ้วนมีมากเพียงพอและเป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้

5) นำเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลไปทดลองใช้ เป็นการทดลองใช้เครื่องมือที่สร้างขึ้นหรือนำของคนอื่นมาใช้กับกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพที่จะต้องปรับปรุงและแก้ไขให้อยู่ในสภาพที่สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพมไว้และปรับเปลี่ยนวิธีการตามสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง เพื่อให้ได้รับข้อมูลกลับคืนมา มากที่สุด

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล อาจแบ่งเป็นวิธีการใหญ่ๆ ได้ 3 วิธี คือ

1) การสังเกตการณ์ (Observation) ทั้งการสังเกตการณ์แบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วม ( Non-participant Observation) หรืออาจจะแบ่งเป็น การสังเกตการณ์แบบมีโครงสร้าง (Structured Observation) และการสังเกตการณ์แบบไม่มีโครงสร้าง ( Unstructured Observation)

2) การสัมภาษณ์ ( Interview) นิยมมากในทางสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะการสัมภาษณ์โดยใช้แบบสอบถาม ( Questionnaire) การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (In-depth Interview) หรืออาจจะจำแนกเป็นการสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล และการสัมภาษณ์เป็นกลุ่ม เช่น เทคนิคการสนทนากลุ่ม ( Focus Group Discussion) ซึ่งนิยมใช้กันมาก

3) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร เช่น หนังสือ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ บทความ สิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น

ประเภทของเครื่องมือรวบรวมข้อมูล

ตัวอย่างเช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบประเมินค่าและมาตรวัดเจตคติ และแบบวัดอื่นๆ

อ้างอิง

https://www.gotoknow.org/posts/203303

https://rforvcd.wordpress.com/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%9A%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2/4-3-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B8%A5/

วิธีการเก็บข้อมูลมีอะไรบ้าง

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล.
การสัมภาษณ์โดยตรง.
การสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์.
การตอบแบบสอบถาม.
การส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์.
การนับและการวัด.

แนวทางในการเก็บรวบรวมข้อมูลคืออะไร

การเก็บรวบรวมข้อมูล” หมายถึง กระบวนการที่จะทำให้ได้ข้อมูลมาเพื่อตอบสนองตามวัตถุประสงค์ การเก็บรวบรวบข้อมูลเริ่มต้นจากการวางแผนการเก็บเสียก่อน นักสถิติจำเป็นที่จะต้องเก็บข้อมูล หรือค้นคว้าด้วยตัวเอง แล้วจึงทำการเก็บรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่ เพื่อนำไปวิเคราะห์ข้อมูลได้สะดวกรวดเร็ว

วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลมีกี่ประเภท

3.การเก็บรวบรวมข้อมูล จะมีวิธีเก็บ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. เก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ และ 2. เก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ

การเก็บรวบรวมข้อมูลมีเทคนิคและวิธีการหลายวิธี อย่างไรบ้าง

โดยทั่วไปสามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้หลากหลายวิธี ได้แก่ การสำรวจ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งข้อมูลโดยตรง สามารถมีได้หลายรูปแบบ เช่น การสัมภาษณ์โดยตรง, การใช้แบบสอบถาม, การทำโพล (Poll) เป็นต้น การทดลอง เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการปฏิบัติจริงและสามารถกำหนดตัวแปรที่ควบคุมสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาได้