ความร่วมมือกัน 6 ด้าน เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of Southeast Asian Nations)

ประชาคมอาเซียน

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community)

     ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม ในกรอบอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือด้านต่างๆ เช่น เยาวชน การศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสนเทศ กิจการพลเรือน ตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพติด การจัดการภัยพิบัติ สิทธิมนุษยชน และมูลนิธิอาเซียน ซึ่งจะมีคณะทำงานอาเซียนรับผิดชอบการดำเนินความร่วมมือในแต่ละด้าน

     ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ปี 2546 ที่บาหลี ผู้นำประเทศอาเซียนได้แสดงเจตนารมณ์ใน Bali Concord II เห็นชอบให้จัดตั้งประชาคมอาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ประกอบด้วยความร่วมมือสามเสาหลัก ได้แก่ ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์ให้อาเซียนเป็นสังคม ที่เอื้ออาทรและมีความมั่นคง ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมเอกลักษณ์ของอาเซียน โดยในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ปี 2547 ผู้นำประเทศสมาชิกอาเซียนได้เห็นชอบต่อแผนปฏิบัติการประชาคมสังคม-วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Plan of Action) ที่ระบุอยู่ในแผนปฏิบัติการเวียงจันทน์ (Vientiane Action Programme-VAP) ซึ่งเน้น 4 ด้านหลัก ได้แก่
     (1) การสร้างประชาคมแห่งสังคมที่เอื้ออาทร
     (2) แก้ไขผลกระทบต่อสังคมอันเนื่องมาจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
     (3) ส่งเสริมความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมและการจัดการดูแลสิ่งแวดล้อมอย่างถูกต้อง และ
     (4) ส่งเสริมความเข้าใจระหว่างประชาชนในระดับรากหญ้า การเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม รวมทั้งรับรู้ข่าวสารเพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงเอกลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity) ซึ่งจะเป็นรากฐานที่จะนำไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียน ต่อมา ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 12 ผู้นำประเทศอาเซียนได้ลงนามใน Cebu Declaration on the Acceleration of the Establishment of an ASEAN Community by 2015 เร่งรัดการเป็นประชาคมอาเซียนให้เร็วขึ้นอีก 5 ปี คือ ปี 2558 (ค.ศ. 2015)

     อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จากการรวมตัวกัน เืพื่อให้ประชาชนมีการอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ มีสิ่งแวดล้อมที่ดีและมีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียว โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (functional cooperation) ภายใต้ประเด็นเชิงสังคม และวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายด้าน ได้แ่ก่เยาวชน การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพติด และการจัดการภัยพิบัติื สิทธิมนุษยชน โดยมีคณะทำงานอาเซียนรับผิดชอบการดำเนินความร่วมมือในแต่ละด้าน

     อาเซียนได้ตั้งเป้าการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในปี 2558 โดยมุ่งหวังในเป็นประในเป็นประชาคม ที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เือื้ออาทร และแบ่งปันประชากรอาเซียน มีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity)

     

เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่
     (1) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)
     (2) การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (SocialWelfare and Protection)
     (3) สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)
     (4) ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability)
     (5) การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity)
     (6) การลดช่องว่างการพัฒนา (Narrowing the Development Gap)
โดยมีกลไกการดำเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขา (Sectural) ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Officials Meeting) และระดับรัฐมนตรี (Ministerial Meeting) คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Council) รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการด้านสังคมและวัฒนธรรม (Senior officials Committee for ASEAN Socio-Cultural Community)

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน

(ASEAN Socio-Cultural Community)

          อาเซียนมุ่งหวังประโยชน์จาการรวมตัวกันเพื่อทำให้ประชาชนมีการอยู่ดีกินดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีความรู้สึกเ็ป็นอันหนึ่งอันเดียว โดยมีความร่วมมือเฉพาะด้าน (funtional cooperation) ภายใต้ประเด็นเชิงสังคมและวัฒนธรรมที่ครอบคลุมในหลายด้านได้แก่ เยาวชน การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สิทธิมนุษยชน สาธารณสุข วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม สตรี แรงงาน การขจัดความยากจน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา วัฒนธรรมและสารนิเทศ กิจการพลเรือน การตรวจคนเข้าเมืองและกงสุล ยาเสพติด และการจัดการภัยพิบัติ สิทธิมนุษยชน โดยมีคณะทำงานอาเซียนรับผิดชอบการดำเนินความร่วมมือในแต่ละด้าน

          อาเซียนได้ตั้งเป้าการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนในปี 2558 โดยมุ่งหวังให้เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มีสังคมที่เือื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนรวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียน (ASEAN Identity)

          เพื่อรองรับการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียได้จัดทำแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community Blueprint) ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่

          1.  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development)

          2.  การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection)

          3.  สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)

          4.  ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้่อม (Environmental Sustainability)

          5.  การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Narrowing the Development Gap)

          โดยมีกลไกลดำเนินงาน ได้แก่ การประชุมรายสาขา (Sectoral) ระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Offcials Meeting) ระดับรัฐมนตรี (Ministerial Meeting) คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio Cultural Community Council) รวมทั้งการประชุมคณะกรรมการด้านสังคมและวัฒนธรรม (Senior officials Comittee for ASEAN Socio-Cultural Community)

ที่มา: https://moac2aec.moac.go.th/ewt_news.php?nid=47

YouTube Video


วีดีทัศน์  ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ASCC

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ ในด้านใดบ้าง

กรอบความร่วมมือภายใต้เสาประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วย 15 สาขา ดังนี้ การศึกษา กีฬา วัฒนธรรมและศิลปะ สารสนเทศ แรงงาน เยาวชน สตรี เด็ก ราชการพลเรือน สวัสดิการสังคมและการพัฒนา การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากชน สาธารณสุข การจัดการภัยพิบัติ มลพิษจากหมอกควันข้ามแดน และสิ่งแวดล้อม

แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประกอบด้วยความร่วมมือกี่ด้านอะไรบ้าง

- แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community. Blueprint) ประกอบด้วยความร่วมมือใน 6 ด้าน ได้แก่1. การพัฒนามนุษย์(Human Development) 2. การคุ้มครอง และสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Rights)

เป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนได้แก่อะไรบ้าง

3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community หรือASCC) มีเป้าหมายให้อาเซียนเป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีและมีการพัฒนาในทุกด้านเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัต ...

อาเซียนบวก 6 มีอะไรบ้าง

กรอบความร่วมมืออาเซียน +6 (ASEAN+6) เป็นกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศสมาชิก อาเซียน 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนาม และ พม่า ร่วมกับประเทศนอกกลุ่มอาเซียน 6 ประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และอินเดีย เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของกลุ่มในการลงทุน ...

ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนประกอบด้วยความร่วมมือ ในด้านใดบ้าง แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมประกอบด้วยความร่วมมือกี่ด้านอะไรบ้าง เป้าหมายสำคัญของการเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนได้แก่อะไรบ้าง อาเซียนบวก 6 มีอะไรบ้าง แผนการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 6 ด้าน แผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประกอบด้วยความร่วมมือกี่ด้าน การร่วมมือกันของอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม จะมีผลดีต่ออาเซียนอย่างไร ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม ความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรม มีผลดีต่อประเทศไทยอย่างไร ความร่วมมือของอาเซียนในด้านต่างๆ