คุณลักษณะ ความ งาม ใน ธรรมชาติ

คณุ ค่าความงามในธรรมชาติ
คุณคา่ ความงามในศลิ ปะ

คณุ คา่ ความงามในธรรมชาติ

ประสบการณ์จากการสัมผัสธรรมชาติด้วยประสาททั้ง 5 ทาให้เราเรียนรู้ความงามเบ้ืองต้น
การสัมผสั ธรรมชาติ ทาใหเ้ ราเกดิ ความพงึ พอใจ สบายใจ อิม่ ใจ และดีใจ คอื
เห็นความงาม (Beauty) ความแปลกหูแปลกตา (Picture squeness) และความนา่ ทึ่ง (Sublimity)

สอนให้มีประสบการณ์ในการตัดสินคุณค่าทางสุนทรียภาพ คือ แบ่งระดับของส่ิงสัมผัสได้
เป็นการสัมผัส ระดับสูง เสียงท่ีไพเราะ ภาพที่งดงาม กิริยาท่ีนุ่มนวล เป็นต้นแบบของความเป็น

เอกภาพ (Unity)
ความสมบูรณ์ (Complexity)
และความเขม้ ข้นทางความรู้สึก (Intensity)

คุณคา่ ความงามในธรรมชาติ

ความงามของธรรมชาติเป็นความงามท่ีเกิดขึ้นจริง เป็นสมบัติของธรรมชาติ เราอาจจะ
เกิดความประทับใจในคุณสมบัติของธรรมชาติบางขณะ และเม่ือกาลเวลาผ่านไป ความ
ประทับใจในคุณสมบัติน้ันอาจจะเปล่ียนไป แต่ความจริงคุณสมบัติของธรรมชาติตรงส่วนน้ัน
มิได้เปลี่ยนไป เราควรจะเข้าใจว่า สมบัติสุนทรียะเฉพาะของวัตถุ ต้นไม้ และวัตถุทุกชนิด ท่ี
ปลูกหรอื วางในบรเิ วณส่วนย่อมน้ันมีผิวพรรณ มีสัดส่วน มีขนาด รูปร่าง รูปทรง ล้วนแต่น่ามอง
นั่นเพราะวา่ คุณสมบตั ิของธรรมชาตแิ ละวัตถุมอี งค์ประกอบดา้ นต่าง ๆ ดังนี้

ความสมบูรณ์ กิรยิ าอาการ ความแตกตา่ ง
ความแปลกใหม่
ลั ก ษ ณ ะ อั ต ร า ค ว า ม จากส่วนประกอบย่อย
เจริญเติบโต การเจริญพันธ์ุของพรรณ ด้ า น รู ป ร่ า ง ห น้ า ต า แ ว ว ต า ท่ี เป็นความงามที่แปรเปล่ียน
ไม้เป็นอย่างดี ประกอบกับการดูแล แ ส ด ง อ อ ก โ น้ ม น้ า ว ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ไปตามกาลเวลา ฤดูกาล คุณลักษณะ
บารุงรักษาให้ต้นไม้สมบูรณ์ ไม่ทรุด สนใจ ไปยังกิริยาบางอย่างของส่ิง เด่น ลักษณะด้อยท่ีแอบแฝง หรือ
โทรม หรือคุณค่าของวัตถุท่ีมีลวดลาย เป็นธรรมชาติน้ัน ได้แก่ กิริยาของ แตกตา่ งไปจากพนั ธุกรรมเดิม เช่น งูมี
สีสันผิวพ้ืนท่ีปราศจากตาหนิ และ ธรรมชาติ กาลังเคลื่อนไหวด้วย ลวดลายท่ีผิวหนังสวยงาม แตกต่าง
รักษาดแู ลให้คงทีเ่ ป็นเวลายาวนาน กิริยาทางกายภาพ หรือเคล่ือนไหว จากงูธรรมดา ท่ีมีสีขาวเผือก ผิดไป
ด้วยความเปลี่ยนแปลงของสิ่งรอบ จากพันธุกรรมเดิม หรือแมวสีขาวมีตา
ข้างของกายภาพ เช่น แสง เงา สฟี ้าหนึ่งขา้ ง สีเหลอื งอกี หน่ึงข้าง
ความหนาแน่นของมวลอากาศ

ความเปน็ ระเบยี บ ความสดใสสะพรัง่ ความยิง่ ใหญ่
ของช่วงระยะอ่มิ ตัว
เรียงรายเปน็ ลาดับ ลดหล่ัน ความงามของธรรมชาติ
เ ป็ น จั ง ห ว ะ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ถ ด ถ อ ย ความสดใสสะพรั่งของ เป็ น ส่ิ ง ท่ี ท า ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม น่ า ท่ึ ง
ก้ า ว ห น้ า เ ป็ น แ ถ ว เ ป็ น แ น ว ใ ห้ ช่วงระยะอ่ิมตัวให้ความรู้สึกสดชื่น มีอานาจดึงดูด ให้ความรู้สึก เท่ห์ สง่า
ความรู้สึกเรียบร้อย ไม่สะดุดตา เช่น ตื่นตา เช่น ดอกไม้ทอดดอกขยาย น่าเกรงขาม เช่น ความยิ่งใหญ่ของ
ลดหลน่ั ความสูง ขนาด เป็นลาดับ กลีบ สีสดใสบานสะพร่ังอยู่ในช่วง ภเู ขา ตน้ ไม้ ใหญ่ ลูกสนุ ัขพนั ธุ์ตา่ ง ๆ
ระยะหนึ่ง

ความงามของธรรมชาติ เมื่อครบกาหนดอายุก็เริ่มสลายโรยรา เช่น สีที่เคยให้ความสดใส อ่ิมเอิบ นุ่มนวล ชุ่มฉ่า ก็อาจ
แปรเปล่ียนเป็นเจ้าแห้ง แข็งกรอบ ไปตามกาลเวลา ความงามของธรรมชาติ จึงเป็นแหล่งวัตถุดิบท่ีให้คุณค่าทางความงาม เบ้ืองต้น
ที่มนษุ ย์สืบคน้ หาความหมายของความงาม ใหก้ บั รูปแบบต่างๆ

คุณคา่ ความงามในศิลปะ

ความงามของศิลปะ เป็นส่ิงท่มี นุษย์สร้างสรรค์ขึ้นจากแรงบันดาลใจ
ที่ได้จากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม ซ่ึงมเี กณฑ์ความงาม ที่ควรพจิ ารณา
ด้านต่าง ๆ ดังน้ี

1. ตอ้ งใหค้ ุณคา่ ความเพลิดเพลิน
ความงามในศิลปะมาจากความเพลิดเพลิน เพราะความงามโดยไม่นาส่ิงอ่ืนเป็นเกณฑ์

ตัดสิน วิพากษ์วิจารณ์ เก่ียวกับความงาม ส่งออกมาปะทะความรู้สึกคร้ังแรก เช่น เม่ือเราได้ยิน
เสียงเพลงทาให้เราเกิดความวูบวาบ และชอบในความรู้สึกลึกๆ แล้วค่อยเอ่อล้นออกมาอย่างไร้
เหตุผล ประดุจการมองผลงาน ศิลปกรรมแบบไร้เดียงสาของเดก็ เปน็ ต้น

คณุ ค่าความงามในศลิ ปะ

2. สามารถค้นหาคุณค่าความงามตามระบบเหตุผลเชิงกฎเกณฑ์ได้ เช่น ความถูกต้อง แม่นยา
แจ่มชัด กลมกลืน เช่น ท่ามาตรฐานของนาฏศิลป์ และการเรียบเรียง เสียงประสานตามกฎเกณฑ์
ทางดนตรี เป็นตน้
3. ต้องรู้จักมองและเลือกเน้นลักษณะเด่น ซึ่งมีเสน่ห์ดึงดูดใจ ทาใหเ้ กิดการหยั่งรู้ ลึกซ้ึงย่ิงขึ้น เช่น
รูปร่างหน้าตาของภาพบุคคลในงานศิลปกรรม สามารถโน้มน้าวจิตใจให้คล้อยตาม ซึ่งแสดงถึง
รายละเอียดทสี่ าคัญ
4. คุณค่าทางเทคนิค เป็นคุณค่าของการใช้วัสดุเคร่ืองมือต่างๆ ท่ีนามาใช้สร้างสรรค์ผลงาน
ศิลปกรรม เช่น ความงามจากการทอผ้าไหมของไทย การใช้แสง สี เสียงในเทคนิคทางนาฏศิลป์
หรอื การใช้อเี ล็คโทรนิคทางดนตรเี ข้าช่วยในการบรรเลงดนตรี

คณุ ค่าความงามในศิลปะ

5. คุณค่าขององค์ประกอบทางศิลปะท่ีมีอยู่ในงานศิลปะ เช่น จังหวะของเส้น ปริมาตรของรูปทรง
ระยะทเี่ ว้นวา่ ง แสง เงาและสี หรอื ลีลา จังหวะและทานองเพลง เป็นต้นการใชส้ สี นั

6. ความละเอียด ประณีต ผลงานศิลปกรรมจะต้องแสดงความละเอียด ประณีต เช่น ได้ความรู้สึก
ว่าใช้เส้นละเอียด พิถีพิถัน แนบเนียน เป็นต้น จากเกณฑ์ท่ีกล่าวมา ความงามทางด้านศิลปกรรม
เป็นความสานึกในคุณค่าทางความงามท่ีศิลปินนามาแสดงออก และสร้างสมสืบทอดต่อเน่ืองเป็น
มรดกทางชาตติ ่อ ๆ มา

ฉะน้ันประสบการณ์ด้านความงามที่ได้จากการสัมผัสรับรู้จึงขึ้นอยู่กับคุณค่าทางศิลปะที่
ผูส้ รา้ งหรอื ศิลปนิ ถ่ายทอดโดยสัมพันธก์ ับรสนิยมของผู้รบั รเู้ ปน็ สาคัญ

Thanks !


                 3.5 ความกลมกลืน ( Harmomies) ความกลมกลืนในที่นี้หมายถึงพิจารณาในส่วนรวมทั้งหมดแม้จะมีบางอย่างที่แตกต่างกันการใช้สีที่ตัดกันหรือการใช้ผิว ใช้เส้นที่ขัดกัน ความรู้สึกส่วนน้อยนี้ไม่ทำให้ส่วนรวมเสียก็ถือว่าเกิดความกลมกลืนกันในส่วนรวม ความกลมกลืนในส่วนรวมนี้ถ้าจะแยกก็ได้แก่ความเน้นไปในส่วนมูลฐานทางศิลปะอันได้แก่ เส้น แสง-เงา รูปทรง ขนาด ผิว สี นั่นเอง