พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

รัตนโกสินทรศก  ตัวย่อ   ร.ศ.   คือ   รูปแบบของศักราชบอกปีชนิดหนึ่ง   ซึ่งเริ่มนับตั้งแต่ปีที่ก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์เป็นปีแรก   รัตนโกสินทรศกเริ่มมีการใช้ครั้งแรกเมื่อจุลศักราช  1250  (พ.ศ. 2432)  และวันเริ่มต้นปีคือวันที่  1  เมษายน  ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงกำหนดให้เป็นวันขึ้นปีใหม่และประกาศใช้รัตนโกสินทรศกอย่างเป็นทางการ จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการใช้พุทธศักราชอ้างอิงประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการใช้งานรัตนโกสินทรศกตามประกาศเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก 131 (พ.ศ. 2455) โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้พุทธศักราชแทนที่ 

วิธีแปลงพุทธศักราชเป็นรัตนโกสินทรศก ให้นำเลขปีของพุทธศักราชลบด้วย 2324 จะได้เลขปีของรัตนโกสินทรศก  รัตนโกสินทรศกเริ่มนับเป็น 1 ตั้งแต่ พ.ศ. 2325 ดังนั้นจึงไม่มีรัตนโกสินทรศก 0

���ͧ�ҡ��͹˹�ҹ���ա�����ѡ�ҪẺ��ҧ� ���������º���ǡѹ��С�����ѵ���Թ��ȡ �ѧ����дǡ㹡�������Ƕ֧�˵ء�ó��͹���ҧ��ا�ѵ���Թ���

�¡�͹���л�С����“�ط��ѡ�Ҫ” ����ѹ����� ��������� “����ѡ�Ҫ” ��� “����ѡ�Ҫ” �ҡ�͹ �����ǡѺ�ҳҨѡ������§���ҹ���

 “����ѡ�Ҫ” �������Ҷ֧�¡�͹�ѡ�Ҫ��� ��ҡ���������Ҩ��֡�ͧ��ا��⢷��������Ҩ��֡�ͧ�ҳҨѡ������§����ǹ�˭� ��������������ԡ��㹻� 2112 ����ѡ�Ҫ�ç�Ѻ�ط��ѡ�Ҫ 621 ���ѹ��� 29 �չҤ� ���ѹ��鹻�����

 ����¾����һ���ҷ�ͧ �ç�ǹ����ź����ѡ�Ҫ�͡ 3 �� ����¹�� “�ѡ�Ҫ�������”   ����ź�շ���դӷӹ����Ҩ��Դ�˵����� ����������蹴������������Ѻ���������֧��Ѻ�������ѡ�Ҫ���ҧ���������Ҩ��֧���¡�ا�ѵ���Թ���

 “����ѡ�Ҫ” ������������� “�.�.” ���ѡ�Ҫ������������ͻվط��ѡ�Ҫ 1181 ��˹��ѹ��� 16 ����¹ ���ѹ��鹻����� ���ҵ�������������⢷�� ��ʹ���¡�ا�����ظ�� ����ѵ���Թ���

�ط��ѡ�Ҫ ���� �.�. ��� ��ǧ��˹����ҫ�觡�˹���һշ���оط�����ʴ稴Ѻ�ѹ���ԹԾ�ҹ�繻��������㹡�á�˹��Ѻ ��觾ط��ѡ�Ҫ����������»���ȷ������ʹҾط�����ʹ���ѡ�ͧ�����

�� 㹻������������Ѻ����;�оط���һ�ԹԾ�ҹ���� 1 �� ��㹻���Ⱦ�����л���ȡ���٪� �Ѻ㹻շ���оط���һ�ԹԾ�ҹ �� 㹻�������繻� 2548 ��㹾�����С���٪��� 2549 ��ǹ㹻��������ѧ�Ҩ�����¹�ѡ�Ҫ��ѹ���Ң�٪�

��������ա�û�С�����ѧ�Ѻ���ùѺ���繾ط��ѡ�Ҫ��蹴Թ��кҷ���稾�����د�������������� (�Ѫ��ŷ�� 6) ���зç�վ���Ҫ�������

������������ͧ�ط���ʹҤ�÷�����ط��ѡ�Ҫ (�.�.) ��з�駹����������ʹ���ͧ�Ѻ����ȷ��Ѻ��;ط���ʹҷ������ ��觵�ҧ����ط��ѡ�Ҫ����

�͡�ҡ��� �ѧ��ҡ���Ǿ���Ҫ����㹡������¹���� �.�. �����С��ŧ�ѹ��� 21 ����Ҿѹ�� �ѵ���Թ��ȡ 131 �������

“…�ç����Ҫ������Ҿ�оط��ѡ�Ҫ�����������Ҫ��÷������� ��Ҩ�������оط��ѡ�Ҫ᷹���ѵ���Թ��ȡ���� ����繡���дǡ����ʹյ㹾���Ǵ�âͧ��ا�����ҡ��觢��…���… �֧�ç��С�س��ô����� ������оط��ѡ�Ҫ��Ҫ��÷�駻ǧ�����”

�ѧ��� �ҧ�Ҫ��è֧�������С���ԸչѺ��͹ �� � �.�.2455 �����������ѹ��� 1 ����¹���ѹ��鹻����� ����¹���� �.�. (�ط��ѡ�Ҫ) ����� �.�.2456 �繵���

คือ ช่วงกำหนดเวลาซึ่งกำหนดเอาปีที่พระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพานเป็นปีเริ่มต้นในการกำหนดนับ ซึ่งพุทธศักราชได้นำไปใช้ในหลายประเทศที่มีศาสนาพุทธเป็นศาสนาหลักของประเทศ เช่น ในประเทศไทยเริ่มนับเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว 1 ปี

แต่ในประเทศพม่าและประเทศกัมพูชานับในปีที่พระพุทธเจ้าปรินิพพานเลย เช่น ในประเทศไทยเป็นปีพ.ศ. 2548 แต่ในพม่าและกัมพูชาเป็น พ.ศ. 2549 ส่วนในประเทศศรีลังกาจะเปลี่ยนศักราชในวันวิสาขบูชา

ประเทศไทยมีการประกาศให้บังคับใช้การนับปีเป็นพุทธศักราชในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) เพราะทรงมีพระราชดำริว่าประเทศไทยเป็นเมืองพุทธศาสนาควรที่จะใช้พุทธศักราช (พ.ศ.) และทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องกับประเทศที่นับถือพุทธศาสนาทั้งหลาย ซึ่งต่างก็ใช้พุทธศักราชด้วย นอกจากนี้ ยังปรากฏในแนวพระราชดำริในการเปลี่ยนมาใช้ พ.ศ. ตามประกาศลงวันที่ 21 กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทรศก 131 ความว่า

“…ทรงพระราชดำริว่าพระพุทธศักราชนั้นได้เคยใช้ในราชการทั่วไปไม่ ถ้าจะให้ใช้พระพุทธศักราชแทนปีรัตนโกสินทรศกแล้ว ก็จะเป็นการสะดวกแก่การอดีตในพงศาวดารของกรุงสยามมากยิ่งขึ้น…ฯลฯ… จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ใช้พระพุทธศักราชในราชการทั้งปวงทั่วไป”

ดังนั้น ทางราชการจึงเริ่มประกาศวิธีนับเดือน ปี ใน พ.ศ.2455 และได้ถือเอาวันที่ 1 เมษายนเป็นวันขึ้นปีใหม่ เปลี่ยนมาใช้ พ.ศ. (พุทธศักราช) ตั้งแต่ พ.ศ.2456 เป็นต้นมา

และต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระอนันทมหิดล รัชกาลที่ 8 ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนวันขึ้นปีใหม่ โดยเริ่มนับตามแบบสากล คือ วันที่ 1 มกราคม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483.เป็นต้นมา

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

รัตนโกสนทรศก ตัวย่อคือ ร.ศ.

คือ รูปแบบของศักราช บอกปีชนิดหนึ่ง ซึ่งเริ่มนับตั้งแต่ปีที่ก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นปีแรก โดยปีรัตนโกสินทรศก 1 เทียบกับปี พ.ศ. 2325 รัตนโกสนทรศกเริ่มมีการใช้ครั้งแรกเมื่อปี จุลศักราช 1250 (เทียบเท่า พ.ศ. 2431) และวันเริ่มต้นปี คือวันที่ 1 เมษายน จนกระทั่งในสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเล็งเห็นประโยชน์และสะดวกในการอ้างอิงในด้านประวัติศาสตร์ จึงได้มีการยกเลิกการงานโดยมีประกาศไว้เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์รัตนโกสินทรศก 131 (เทียบเท่า พ.ศ. 2455) โดยหนังสือราชการทั้งหมดได้เปลี่ยนมาใช้พุทธศักราชแทนที่

เริ่มใช้ในสมัยรัชกาลที่ 5 ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2432 เป็นวันที่ 1 เมษายน ร.ศ. 108 เมื่อครั้งกรุงรัตนโกสินทร์ครบ 200 ปี ในปี พ.ศ. 2525 บางเหตุการณ์ที่เกิดในปีนั้น ได้บันทึกว่าเกิดใน ร.ศ. 200

ปัจจุบันการแปลงรัตนโกสนทรศก เป็นพุทธศักราช ให้นำ 2324 มาบวก ก็จะได้ปีพุทธศักราช

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

จุลศักราช หรือ จ.ศ.

เป็นศักราชที่เริ่มเมื่อ พ.ศ. 1182 (ค.ศ. 639) นับรอบปีตั้งแต่ 16 เมษายน ถึง 15 เมษายน (ผู้กำหนดให้ใช้จุลศักราช คือ พระยากาฬวรรณดิศ เมื่อคราวประชุมกษัตริย์ในล้านนา) ที่ได้ทำการประชุมเหล่ากษัตริย์ทำการลบศักราชปีมหาศักราช แล้วตั้งจุลศักราชขึ้นมาแทน

เดิมเข้าใจกันว่าเป็นศักราชของพม่า ปรากฏอยู่ตามตำราโหราศาสตร์ แต่ทว่าปีที่ตั้งจุลศักราชนั้น เป็นเวลาก่อนปีที่พระเจ้าอโนรธามังช่อ จะประสูติ เมื่อไทยอโยธยารับศักราชนี้ไปใช้ เลยเกิดความเชื่อกันว่าเป็นศักราชของชาวพม่า จุลศักราชถูกนำมาใช้แพร่หลายทั้งในอาณาจักรล้านนา อาณาจักรสุโขทัยสมัยหลัง และอาณาจักรอยุธยา

ในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ทรงตัดปีจุลศักราช และใช้ปีศักราชจุฬามณีแทน เป็นผลทำให้ปีนักษัตรคลาดเคลื่อนไปสามปี ต่อมา จึงได้เปลี่ยนกลับไปใช้ปีจุลศักราชตามเดิม และตกทอดมาถึงปัจจุบัน

ในเอกสารโบราณของไทยจำนวนไม่น้อย นิยมอ้างเวลา โดยใช้จุลศักราช โดยใช้ควบคู่กับปีนักษัตร หรือ ระบุเฉพาะเลขตัวท้ายของจุลศักราช และปีนักษัตร ทำให้สามารถระบุปี ได้ในช่วงกว้างถึงรอบละ 60 ปี (มาจาก ครน. ของรอบ 10 ปีจากเลขท้ายของจุลศักราช และรอบ 12 ปีของปีนักกษัตร)

ปัจจุบันการแปลงจุลศักราช เป็นพุทธศักราช ให้เอา 1181 บวกก็จะได้ปี พุทธศักราช (เว้นแต่ในช่วงต้นปีตามปฏิทินสุริยคติที่ยังไม่เถลิงศกจุลศักราชใหม่)

ในระบบการเรียกศกตามเลขท้ายปีจุลศักราช นิยมเรียกด้วยศัพท์บาลี ดังนี้

  1. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 1 เรียก “เอกศก”
  2. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 2 เรียก “โทศก”
  3. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 3 เรียก “ตรีศก”
  4. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 4 เรียก “จัตวาศก”
  5. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 5 เรียก “เบญจศก”
  6. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 6 เรียก “ฉศก”
  7. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 7 เรียก “สัปตศก”
  8. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 8 เรียก “อัฐศก”
  9. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 9 เรียก “นพศก”
  10. ปีจุลศักราชที่ลงท้ายเลข 0 เรียก “สัมฤทธิศก”

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

คริสต์ศักราช หรือ ค.ศ.

เริ่มนับศักราชที่ ๑ โดยนับเมื่อพระเยชูศาสนาของศาสนาคริสต์ประสูติหลังพุทธศักราช ๕๔๓ ปีเป็นศักราชที่ใช้กันแพร่หลายทั่วโลกอันเนื่องมาจากประเทศมหาอำนาจ เช่น อังกฤษ และฝรั่งเศสใช้คริสต์ศักราชเมื่อเข้าไปจับจองอาณานิคมจึงนำคริสต์ศักราชเข้า ไปดินแดนนั้นด้วยหลักฐานที่ปรากฏ เช่น หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษ แล ประเทศสยาม คริสต์ศักราช ๑๘๒๖  และหนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอเมริกา แล ประเทศสยาม คริสต์ศักราช ๑๘๓๓ เป็นต้น

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

มหาศักราช หรือ ม.ศ.

เป็นศักราชที่ใช้ตามปีครองราชย์ของพระเจ้ากนิษกะ กษัตริย์ที่ปกครองอาณาจักรกุษาณะ บ้างก็ว่า พระเจ้าสลิวาหนะ ศากยะวงศ์องค์หนึ่ง ที่มีอาณาเขตยิ่งใหญ่ปกครองอาณาเขตถึงบริเวณที่ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ อินเดียส่วนเหนือ อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถานและส่วนตะวันตกของจีน ปีมหาศักราชนั้นในหนังสือไทยจะอ้างถึงปีที่เริ่มครองราชย์คือ พ.ศ. 621(ค.ศ. 78) ในขณะที่หนังสือต่างประเทศกล่าวว่าครองราชย์ในปี ค.ศ. 127 (พ.ศ. 670) ด้านสารานุกรมบริเตนนิการะบุว่าไม่ทราบปีครองราชย์ที่แน่นอน คาดว่าอยู่ในช่วง ค.ศ. 78 – 144

มหาศักราชแพร่เข้ามายังเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทำให้จารึกต่าง ๆ ในสมัยสุโขทัยและอาณาจักรใกล้เคียง ต่างใช้มหาศักราชเป็นส่วนใหญ่ คาดว่าไทยเลิกใช้มหาศักราชในปี พ.ศ. 2112โดยเปลี่ยนไปใช้    จุลศักราชแทน อย่างไรก็ตามมีการใช้มหาศักราชอยู่บ้างหลังจากนั้น ดังปรากฏในจารึกวัดไชยวัฒนาราม (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา)

ปัจจุบันการแปลงมหาศักราช เป็นพุทธศักราช ให้เอา 621 บวกปี มหาศักราชนั้นจะได้ปี พุทธศักราช

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

ศักราชจุฬามณี

เป็นคำระบุศักราช สันนิษฐานว่า เกิดในสมัยของพระเจ้าปราสาททอง ปรากฏศักราชชนิดนี้ในตำราหนังสือไทยเก่าๆ ในบานแผนกกฎหมาย ทำให้บางตำราเรียก ศักราชจุฬามณี ว่า ศักราชกฎหมาย

ปัจจุบันการแปลงศักราชจุฬามณี เป็นพุทธศักราช ให้นำเอา 923 มาบวกก็จะได้ปีพุทธศักราช

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

ฮิจเราะห์ศักราช หรือ ฮ.ศ.

เป็นการนับศักราชที่ประเทศส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม เริ่มนับฮิจเราะห์ศักราชที่ ๑ในปีที่ท่านนบีมูฮำมัดพร้อมกับสาวกอพยพจากเมืองเมกกะไปอยู่ที่เมืองเมดินะ ฮิจเราะห์ศักราช มีเคาะลีฟฮ์ โอมาร์ หรือกาหลิบ โอมาร์ เป็นผู้ก่อตั้ง ชาวมุสลิมทั่วโลกใช้ฮิจเราะห์ศักราชในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาของตน

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

รัชศักราช หรือ รัชศก

นับตามปีที่กษัตริย์แต่ละพระองค์ขึ้นครองราชย์ เช่น ปีที่ 1 ในรัชกาลของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ หรือปีที่ 5 ในรัชกาลของพระจักรพรรดิถังไท่จง เป็นต้น

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

กลียุคศักราช หรือกลียุคกาล (ก.ศ.) 

เป็นศักราชจากชมพูทวีป และเป็นศักราชที่เก่าที่สุดที่ปรากฏในบันทึกของไทย

เกิดก่อนพุทธศักราชถึง 2,558 ปี

วิกรมาทิตย์ศักราช(ว.ศ.) หรือวิกรมสังวัต

เป็นศักราชจากชมพูทวีป แต่ไม่มีปรากฏในบันทึกของไทย


เกิดหลังพุทธศักราช 785 ปี

เป็นกษัตริย์องค์หนึ่งของอินเดีย  มีพระชนม์ชีพอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 9 - 10 พระองค์เป็นกษัตริย์ผู้กล้าหาญ ทรงคุณธรรม เป็นนักปกครองผู้ยอดเยี่ยม ครองราชย์อยู่ที่กรุงอุชเชนี ทางตะวันตกของประเทศอินเดีย ได้ทำสงครามขับไล่พวกศกะ ที่เข้ามาครองอินเดียทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ทำให้อาณาจักรของพระองค์แผ่ออกไปอย่างกว้างขวาง

ในทางประวัติศาสตร์ มีหลักฐานว่า กษัตริย์องค์ที่สาม ของราชวงศ์คุปตะ พระนาม จันทรคุปต์ ที่สอง นั้นคือ พระเจ้าวิกรมาทิตย์ ครองราชระหว่างปี พ.ศ.918 - 956 ในครั้งนั้นราชวงศ์คุปตะ เจริญสูงสุด


พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

ศักราชพระเจ้าเหลือง(ล.ศ.) 

เป็นศักราชที่ถือกำเกิดโดยพระเจ้าเหลืองมหาราช ของดินแดนที่เป็นประเทศจีนในปัจจุบัน

เกิดก่อนพุทธศักราช 2,154 ปี

ในปัจจุบันมีข้อถกเถียงว่า ตัวเลขของศักราชนี้อาจมีค่ามากเกินไป 60 ปี เช่นเดียวกับ พ.ศ. และหรืออาจนับเอา ล.ศ. 0 เป็นปีตั้งศักราชด้วยก็ได้

พ.ศ.2455 เปลี่ยนใช้ศักราชใหม่เป็น พุทธศักราช

ความหมาย ทศวรรษ สตวรรษ สห้สวรรษ

1. ทศวรรษ คือ ช่วงเวลาในรอบ 10 ปี เริ่มนับที่ 0 จบด้วย 9 ซึ่งร่วมระยะเวลา 10 ปี จะนิยมบอกศักราช
เป็นคริสต์ศักราช

ตัวอย่าง ทศวรรษที่ 60 นับตั้งแต่ ช่วงระหว่าง คริสต์ศักราช 1960 – 1969

2. ศตวรรษ คือ ช่วงเวลาในรอบ 100 ปี เริ่มนับที่ 1 จบด้วย 100 ซึ่งร่วมระยะเวลา 100 ปี จะบอกศักราชได้ทั้ง
พุทธศักราช และ คริสต์ศักราช

ตัวอย่าง พุทธศตวรรษที่ 21 นับตั้งแต่ ช่วงเวลา พุทธศักราช 2001 - 2100
คริสต์ศตวรรษที่ 21 นับตั้งแต่ ช่วงเวลา คริสต์ศักราช 2001 – 2100

3. สหัสวรรษ คือ ช่วงเวลาในรอบ 1000 ปี เริ่มนับที่ 1 จบด้วย 1000 ซึ่งร่วมระยะเวลา 1000 ปี สหัสวรรษเพิ่งเริ่มใช้เมื่อตอนเปลี่ยนสหัสวรรษที่ 2 เป็นสหัสวรรษที่ 3 เพิ่งเริ่มใช้เมื่อพุทธศักราช 2543และ คริสต์ศักราช 2000 จะบอกศักราชได้ทั้ง พุทธศักราช และ คริสต์ศักราช

ตัวอย่าง สหัสวรรษที่ 2 นับตั้งแต่ ช่วงเวลา พุทธศักราช 1001 - 2000
สหัสวรรษที่ 2 นับตั้งแต่ ช่วงเวลา คริสต์ศักราช 1001 - 2000

ทั้ง ร.ศ., จ.ศ., ค.ศ., ม.ศ., ศักราชจุฬามณี, ฮ.ศ. มีเหตุการณ์ที่สำคัญๆ มากมายในแต่ละช่วงแห่งกาลเวลา ซึ่งได้ทำให้เราได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ แล้วทำความเข้าใจกับเรื่องราวเหล่านั้น เพื่อนำมาปรับปรุงและแก้ไข แล้วนำมาใช้กับปัจจุบันและอนาคตต่อไป..ผู้เห็นการเรียนรู้ไม่มีสิ้นสุด คือผู้เห็นความก้าวหน้าและอนคตของตน..

Cr. wordpress.com, matichonweekly.com, วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

มีอาการเมื่อยล้าอ่อนเพลียง่าย ปวดเมื่อยตามร่างกาย นอนไม่ค่อยหลับ ภูมิต้านทานน้อย เส้นเลือดตีบ แนะนำ..โปร-เอ็กบี Pro-xB.. สกัดจากธรรมชาติ เห็นผลดีขึ้นตั้งแต่สัปดาห์แรก..ผู้ที่เป็นเบาหวาน ความดัน ทานได้..

ศักราชใดที่เริ่มใช้เป็นทางการตั้งแต่ พ.ศ. 2455 เป็นต้น

วันนี้ในอดีต 21 กุมภาพันธ์ .. 2455. รัชกาลที่ 6 ทรงประกาศใช้ "พุทธศักราช" (..) เป็นศักราชประจำชาติ แทน "รัตนโกสินทร์ศก" (ร..) .

เหตุใดรัชกาลที่ 6 จึงทรงใช้พุทธศักราชแทนการใช้รัตนโกสินทรศก

วันนี้ เมื่อ ๑๐๙ ปีก่อน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๖) ทรงมีพระราชดำริให้ใช้ "พุทธศักราช" (พ.ศ.) เป็นศักราชประจำชาติ แทน "รัตนโกสินทร์ศก" (.ศ.) เนื่องจากประเทศไทยเป็นเมืองพุทธศาสนา และเพื่อให้สอดคล้องกับประเทศต่างๆ ที่นับถือพุทธศาสนา จึงได้มีการประกาศเมื่อวันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ รัตนโกสินทร์ศก ๑๓๑ (พ. ...

ประเทศไทยมีการเปลี่ยนมาใช้พุทธศักราชอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. ใด

แต่เมื่อมาถึง ..2454 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) โปรดเกล้าฯให้เลิกใช้รัตนโกสินทรศก ให้ใช้พุทธศักราชแทน ก็เลยโปรดเกล้าฯให้ถือวันที่ 1 เมษายน เป็นวันเปลี่ยนพุทธศักราชด้วย

วิธีแปลงจุลศักราชเป็นพุทธศักราชจะคิดแบบใด

จากจุลศักราชเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นำ จ.ศ. บวก 1181 ตัวอย่างเช่น จ.ศ. 1130 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนำ 1181 มาบวก ( 1130 + 1181 ) ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2311. จากรัตนโกสินทร์ศกเปลี่ยนเป็นพุทธศักราช ให้นำ ร.ศ. บวก 2324 ตัวอย่างเช่น ร.ศ. 132 เปลี่ยนเป็น พ.ศ. โดยนำ 2324 มาบวก ( 123 + 2324 ) ปี พ.ศ. ที่ได้คือ 2456.