แฟรนไชส์ auntie annes ราคา

8 มิ.ย. 2021

สุชีพ ธรรมาชีพเจริญ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่ม Bakery & Beverage Cuisine บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จำกัด (Central 2 Restaurants Group) หรือ “CRG” เปิดเผยว่า

ธุรกิจร้านอาหารในปี 2564 ยังมีความเสี่ยงสูงเช่นเดียวกับปีที่ผ่านมา แต่เริ่มมีสัญญาณที่ดีขึ้น โดยจะเห็นได้จากความคึกคักของตลาดเบเกอรี จากการฮอตฮิตของขนมครัวซองต์ ทำให้อุตสาหกรรมเบเกอรีมีการเปลี่ยนแปลงแบบมีนัยยะสำคัญ

โดยในปี 2563 มูลค่าตลาดเบเกอรีรวมสูงเฉียด 30,000 ล้านบาท
แบ่งเป็น ขนมปัง 53% ขนมเค้ก 22% และขนมอบ (เช่น พาย ครัวซองต์ คุ้กกี้) 25%
ซึ่งคาดว่าครัวซองต์ ทำให้สัดส่วนขนมอบ เพิ่มมูลค่ามากขึ้น

ส่วนตลาดกาแฟ แม้จะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์โควิด ส่งผลให้ตลาดรวมกาแฟในไทยคงที่ ไม่ได้เติบโต
หากให้แยกประเภทตลาดกาแฟ ที่มีมูลค่ารวม 60,000 ล้านบาท นี้
แบ่งเป็น ตลาดกาแฟในบ้าน 33,000 ล้านบาท ที่ได้อานิสงส์จากโควิด เติบโตราว 10%
และตลาดกาแฟนอกบ้าน 27,000 ล้านบาท เติบโตลดลง 30-40%

สำหรับภาพรวมของกลุ่ม Bakery & Beverage Cuisine ซึ่งประกอบด้วย 4 แบรนด์อาหารชั้นนำ ได้แก่ มิสเตอร์ โดนัท (Mister Donut), อานตี้ แอนส์ (Auntie Anne’s), โคล สโตน ครีมเมอรี่ (Cold Stone Creamery) และอาริกาโตะ (Arigato) รวมกับ 1 โรงงาน คือ ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง (CRGM)

ด้วยผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด ต่อเนื่องมาจากปีก่อนหน้า
ส่งผลให้ยอดขายของกลุ่มในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2564 ที่ประมาณการรายได้ไว้อยู่ที่ 1,200 ล้านบาท
จึงปรับแผนให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ อาทิ

การบริหารจัดการงบประมาณที่จำกัด เน้นการลงทุนที่จะต้องได้ผลลัพธ์ที่มีประสิทธภาพสูงสุด
การปรับกลยุทธ์ทางการตลาด เพิ่มช่องทางการขายมากขึ้น โดยเฉพาะช่องทางออนไลน์และดิลิเวอรี

เนื่องด้วยยอดการสั่งดิลิเวอรีของมิสเตอร์ โดนัท และ อานตี้ แอนส์ ในช่วงโควิด ที่ผ่านมา
มียอดการสั่งเติบโตจากก่อนโควิด มากกว่า 300% ในปี 2564 (ปี 2563 เติบโต 210%)
จึงได้วางเป้ายอดขายจากช่องทางดิลิเวอรีรวมกว่า 500 ล้านบาท

พร้อมเดินหน้าจัดกลยุทธ์รับพฤติกรรมผู้บริโภคยุคปัจจุบัน ได้แก่ New format เร่งเพิ่มโมเดลรุกหาลูกค้าเต็มพิกัด ด้วยโจทย์หลักของยุคนี้ คือ ทำอย่างไร จึงจะสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ในทุกที่และให้บริการได้ง่ายที่สุด
เพื่อเร่งสร้างยอดขาย และตอบเทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภคที่เดินทางหรือออกนอกบ้านน้อยลง

จึงเพิ่มหลากหลายโมเดล และขยายสาขาโมเดลใหม่ ที่เข้าถึงไลฟ์สไตล์ลูกค้า
เน้นการมองหาพื้นที่ใหม่ ๆ ขยายสาขาได้คล่องตัว เข้าถึงกลุ่มลูกค้าในสถานที่และแหล่งชุมชนต่าง ๆ
และเอื้ออำนวยต่อธุรกิจในรูปแบบใหม่ ซึ่งก็คือดิลิเวอรีและออมนิชาแนล

1)Shop Standalone
ที่มีความสวยงามโดดเด่น สร้างความน่าสนใจและความน่าดึงดูดให้กับลูกค้า
พร้อมทั้งยังเป็นจุดศูนย์กลางของช่องทางการขายแบบดิลิเวอรีอีกด้วย

2)Delco
มีแผนการขยายธุรกิจ 50-70 สาขา โดยจะเน้นการเปิดสาขาให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นในปั๊มน้ำมัน, ไทวัสดุ เป็นต้น

3)Mobile Tuk Tuk
เน้นขยายช่องทางการจำหน่ายใหม่ ๆ และเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าตลาดใหญ่ ๆ โรงเรียน มหาวิทยาลัย ในแต่ละพื้นที่ในระยะทาง 10-20 กิโลเมตร

ขณะเดียวกัน ก็ดำเนินการอย่างใกล้ชิดกับพาร์ตเนอร์ โปรโมชันพิเศษที่ดึงดูดใจ เพื่อกระตุ้นยอดขาย
และจัดสินค้าพิเศษ (Exclusive Product) เฉพาะกลุ่มลูกค้า เพื่อสร้างความแตกต่าง

-New business model การขยายธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส์
โดยแบรนด์ มิสเตอร์ โดนัท และ อานตี้ แอนส์ มีแผนมีจะขยายสาขา โดยการขยายธุรกิจในรูปแบบแฟรนไชส์ เพื่อเป็นช่องทางในการเพิ่มยอดขาย
และเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนทั่วใป ที่สนใจได้เข้ามาร่วมการเป็นส่วนหนึ่งในธุรกิจ ของ 2 แบรนด์

โดยตั้งเป้าว่า มิสเตอร์ โดนัท จะสามารถเปิดขายแฟรนไชส์ ได้ในปีนี้ ช่วงไตรมาส 3 และ อานตี้ แอนส์ ในไตรมาส 4

สำหรับค่าแฟรนไชส์ ต้องติดตามทางแบรนด์ ออกมาเปิดเผยอย่างเป็นทางการในเร็ว ๆ นี้
ซึ่งคาดว่า ค่าแฟรนไชส์ของ มิสเตอร์ โดนัท อาจไม่ถึง 1 ล้านบาท ก็สามารถเปิดแฟรนไชส์ได้
ส่วนอานตี้ แอนส์ จะมีค่าแฟรนไชส์สูงกว่านั้น

-New channel ช่องทางการขายใหม่ สู่ช่องทางออนไลน์ และเจาะกลยุทธ์ดิจิทัลมาร์เก็ตติง
อาทิ โฟกัสออมนิชาแนล ซื้อสินค้า ซื้อดีลต่าง ๆ สั่งอาหาร ได้ทั้งแบบดิลิเวอรี และคลิก แอนด์ คอลเลก (click and collect) บน Line OA

เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผ่านมาร์เก็ตเพลส (Marketplace) และระบบแพลตฟอร์มชอปปิงออนไลน์ชั้นนำอย่าง Shopee Mall ซึ่งได้รับการตอบรับเป็นอย่างดี มีลูกค้าให้ความสนใจในผลิตภัณฑ์เป็นจำนวนมาก
จึงมีแผนที่จะขยายตลาดเพิ่มไม่ว่าจะเป็น Lazada, JD Central และ Line shopping ต่อไปในอนาคต

รวมไปถึงช่องทาง C2C หรือ Customer to Customer ซึ่งเป็นช่องทางใหม่ที่น่าสนใจ เพราะเป็นโมเดลธุรกิจอีคอมเมิร์ซ แบบผู้บริโภคไปยังผู้บริโภค ที่สามารถขยายและต่อยอดการขายในวงกว้างมากขึ้น

โดยใช้กลยุทธ์เปิดร้านขายบนแพลตฟอร์มของตัวแทนจำหน่ายที่ได้รับสิทธ์จาก CRG ทั้งการขายปลีกและการขายส่ง

-New occasion ส่งมอบประสบการณ์ความอร่อยหลากหลายเมนู ที่เข้าถึงได้ในทุกช่วงโอกาส โดยพัฒนาและต่อยอดเมนูเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย และเข้าถึงง่าย อาทิ เมนูแกร็บ แอนด์ โก (Grab & Go), เทกโฮม (Take home) และสินค้าพร้อมทาน (RTE product)

ด้านผลการดำเนินงานในปี 2564 กลุ่ม Bakery & Beverage Cuisine ตั้งเป้าสามารถสร้างรายได้กว่า 2,900 ล้านบาท หรือเติบโต กว่า 18-20%

แฟรนไชส์ Mister Donut ไม่ถึงล้านก็เป็นเจ้าของได้ อีกกลยุทธ์รุกตลาดของกลุ่มเซ็นทรัล (วิเคราะห์)

CRG พอร์ตธุรกิจอาหารของกลุ่มเซ็นทรัลที่มีแบรนด์ในเครือ 16 แบรนด์

4 กลุ่ม คือ  ไก่ทอด KFC, Bakery & Beverage Cuisine, ร้านอาหารญี่ปุ่น และร้านอาหารไทย-จีน

โฟกัสเฉพาะกลุ่มธุรกิจเบเกอรี่และเครื่องดื่ม (Bakery & Beverage Cuisine)

ที่มีสาขารวมกว่า 630  สาขา กับ 4 แบรนด์คือ มิสเตอร์ โดนัท, อานตี้ แอนส์, โคล สโตน ครีมเมอรี่ และ อาริกาโตะ รวมกับ 1 โรงงาน คือ ซีอาร์จี แมนูแฟคเจอริ่ง (CRGM)

ปีที่ผ่านมามีรายได้ 2,430 ล้านบาท

ปีนี้ปรับกลยุทธ์ใหม่รุกทุกช่องทางหวังปั้นรายได้ปีนี้ให้เติบโต 18-20% มีรายได้กว่า 2,900 ล้านบาท

หนึ่งในโมเดลที่น่าจับตาคือ การเปิดขายแฟรนไชส์ ‘มิสเตอร์ โดนัท-อานตี้ แอนส์’

แฟรนไชส์ auntie annes ราคา

สุชีพ ธรรมาชีพเจริญ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ กลุ่ม Bakery & Beverage Cuisine บริษัท เซ็นทรัล เรสตอรองส์ กรุ๊ป จำกัด หรือ CRG เล่าว่า ความท้าทายของธุรกิจเบเกอรี่นั้นหากมองเป็นกลุ่ม QSR เบเกอรี่ได้รับผลกระทบน้อยกว่าร้านอาหารที่นั่งรับประทาน

แม้จะกระทบน้อยกว่าแต่ก็ต้องมีช่องทางใหม่ ๆ มาต่อเป็นจิ๊กซอว์สร้างรายได้

จากเดิมที่ 90% คือสาขาที่มีอยู่ตามห้างศูนย์การค้า ปีนี้จะปรับออกมาโตขยายสาขานอกห้าง

โมเดลใหม่ที่จะเกิดขึ้นในไตรมาส 3 และ 4 ของปีนี้คือ การขายแฟรนไชส์แบรนด์เรือธงอย่าง ‘มิสเตอร์ โดนัท-อานตี้ แอนส์

ประกอบกับเห็นโอกาสจากความสนใจลงทุนของคนบางกลุ่มที่อยากหารายได้เสริมอย่างเช่น นักบิน แอร์โฮสเตส ที่เป็นกลุ่มคนที่มีเงินออมอยู่แล้ว

สำหรับราคาค่าแฟรนไชส์นั้นตอนนี้ยังไม่ได้มีข้อสรุปแบบชัดเจน แต่เบื้องต้นคาดว่าราคาแฟรนไชส์ของมิสเตอร์โดนัทต่ำกว่าหนึ่งล้านบาท

ส่วนอานตี้ แอนส์ อาจจะมีราคาสูงขึ้นมาเล็กน้อย ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับโมเดลรูปแบบ โดยแฟรนไชส์นี้จะมีในทุกฟอร์แมต

ภายในปีนี้จะมีร้านแฟรนไชส์ไม่น้อยกว่า 20 ร้าน

2-3 ปีแรก จะมีสัดส่วนแฟรนไชส์ 20-30%

และภายใน 5 ปีจะเพิ่มเป็น 40%

แฟรนไชส์ auntie annes ราคา

แล้วนอกจากนี้ ธุรกิจเบเกอรี่และเครื่องดื่มของ CRG ปรับกลยุทธ์เพื่อเติบโตอย่างไร

New format

ด้วยโจทย์หลักของยุคนี้ คือทำอย่างไรจึงจะสามารถเข้าถึงลูกค้าได้ในทุกที่และให้บริการได้ง่ายที่สุด เพื่อเร่งสร้างยอดขาย และตอบเทรนด์พฤติกรรมผู้บริโภคที่เดินทางหรือออกนอกบ้านน้อยลง จึงเพิ่มหลากหลายโมเดล

และเอื้ออำนวยต่อธุรกิจในรูปแบบใหม่ซึ่งก็คือเดลิเวอรี่และออมนิชาแนลทั้ง

– Shop Standalone

– Delco  มีแผนการขยายธุรกิจ 50-70 สาขา โดยจะเน้นการเปิดสาขาให้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นในปั๊มน้ำมัน, ไทวัสดุ เป็นต้น

– Mobile Tuk Tuk เน้นขยายช่องทางการจำหน่ายใหม่ ๆ และเพื่ออำนวยความสะดวกในการเข้าถึงกลุ่มลูกค้าตลาดใหญ่ ๆ โรงเรียน มหาวิทยาลัย

New channel

รุกช่องทางออนไลน์และเจาะกลยุทธ์ดิจิทัลมาร์เก็ตติ้ง

โฟกัส O2O เพิ่มช่องทางการจำหน่ายผ่านอีคอมเมิร์ซและระบบแพลตฟอร์มช้อปปิ้งออนไลน์ชั้นนำต่าง ๆ เช่น JD Central, Shopee และ LAZADA

รวมไปถึงช่องทาง C2C หรือ Customer to Customer ซึ่งเป็นช่องทางใหม่ แบบผู้บริโภคไปยังผู้บริโภคที่สามารถขยายและต่อยอดการขายในวงกว้างมากขึ้น โดยใช้กลยุทธ์เปิด ร้านขายบนแพลตฟอร์มของตัวแทนจำหน่ายที่ได้รับสิทธิ์จาก ซีอาร์จี ทั้งการขายปลีกและการขายส่ง

โดยเริ่มจากพนักงานในเครือของ CRG  ก่อน

New occasion

ต่อยอดเมนูเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย และเข้าถึงง่าย อาทิ เมนู Grab & Go, เทคโฮม และสินค้าพร้อมรับประทาน

แฟรนไชส์ auntie annes ราคา

แฟรนไชส์ auntie annes ราคา

อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ 
Website : Marketeeronline.co / Facebook : www.facebook.com/marketeeronline



อัพเดตข่าวสารการตลาดทุกวันได้ที่ Website: Marketeeronline.co
Facebook: www.facebook.com/marketeeronline

ติดตาม Marketeer Online ทาง Line@ : @marketeer

แฟรนไชส์ auntie annes ราคา
แฟรนไชส์ auntie annes ราคา