ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกอย่างง่าย (Simple Harmonic Motion)

    การที่วัตถุเคลื่อนที่กลับไปมาซ้ำรอยเดิม ใช้สัญญลักษณ์ SHM การกระจัดของวัตถุซึ่งมีการเคลื่อนที่แบบนี้จะวัดจากตำแหน่งเดิมของวัตถุ เมื่อไม่ถูกแรงภายนอกใดๆ มากระทำ เรียกตำแหน่งนี้ว่า แนวสมดุล                                                   

ตัวอย่างของการเคลื่อนที่แบบนี้ได้แก่  เช่น การสั่นของสายไวโอลินเมื่อถูกสี

ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แบบ SHM

                                                                                                                1. แอมพลิจูด (A)   การกระจัดสูงสุดของการเคลื่อนที่วัดจากจุดสมดุลไปยังจุดปลาย มีค่าคงที่เสมอ หรือบางครั้งเรียกว่า ช่วงกว้าง

                                                                                2. คาบ (T)  ช่วงเวลาที่วัตถุเคลื่อนที่ครบหนึ่งรอบ มีหน่วยเป็ นวินาที ต่อรอบหรือวินาที                                                             

                                                                                3. ความถี่ (f)  จำนวนรอบที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็นรอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์ (Hz)                                       

                                                                                4. ณ ตำแหน่งปลาย x ,  F, a มีค่ามากที่สุด แต่ v = 0                                                                                                                                      

                                                                                5. สมการการเคลื่อนที่แบบซิมเปิ้ลฮาร์มอนิก

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

                ลักษณะสำคัญ   การเคลื่อนที่แบบฮาร์โมนิกจะมีความเร่งแปรผันตรง กับการ กระจัด  แต่มีทิศตรงกันข้าม โดยทิศของความเร่งจะเป็นทิศเดียวกับเเรง และแรงจะต้องเป็นแรงเข้าหา จุดสมดุลในณะที่การกระจัดมีทิศออกไปจากจุดสมดุล

ดังสัมการ

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

สมการการเคลื่อนที่แบบ SHM รูปทั่วไป   เมื่อ คือแอมพลิจูด

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

ตัวอย่าง  การสั่นสะเทือนของใบลำโพงเป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก ดังรูป  ถ้าวัดความถี่สูงสุด  f = 1.0 kHz   และแอมพลิจูด  A = 2.0 x10-4 m   จงหาความเร่งสูงสุดของใบลำโพง

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

เฉลย แผ่นไดอะแกรมของลำโพงให้ความถี่ของเสียง 1.0 kHz  

ตัวอย่าง            สัญญาณทางไฟฟ้าของหัวเข็มเกิดจากการสั่นสะเทือนกลับไปมาของหัวเข็ม ซึ่งเป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก )  จากการตรวจวัดพบว่าในขณะหนึ่งหัวเข็มมีความถี่ f = 1.0 kHz  ที่แอมพลิจูด A  = 8.0 x 10-6 m   จงหาอัตราเร็วสูงสุดของหัวเข็ม

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

เฉลย การสั่นของหัวเข็ม เป็นการเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์โมนิก

ที่ตำแหน่งสมดุล ของวัตถุที่ เคลื่อนที่ แบบ ฮา ร์ มอ นิ ก. อย่างง่าย ขนาดของ ความเร่ง คือ ข้อ ใด

Author: Tuemaster Admin

ทีมงานจากเว็บไซต์ติวกวดวิชาออนไลน์ที่ดีที่สุด !! สำหรับ การเรียนออนไลน์ ม.ปลาย (ม.4, ม.5, ม.6)