แหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย

แหล่งอารยธรรมในทวีปเอเชีย มัธยมศึกษาปีที่2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ by

แหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย

Show

1. บทที่ 1 แหล่งอารยธรรมจีน

1.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1.1.1. สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมจีนได้

1.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

1.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

1.3. เนื้อหาบทเรียนที่ 1 อารยธรรมจีนสมัยก่อนประวัติศาสตร์

1.3.1. ยุคหินเก่า

1.3.2. ยุคหินกลาง

1.3.3. ยุคหินใหม่

1.3.4. ยุคโลหะ

1.4. เนื้อหาบทเรียนที่ 2 อารยธรรมจีนสมัยประวัติศาสตร์

1.4.1. สมัยราชวงศ์ชาง

1.4.2. สมัยราชวงศ์โจว

1.4.3. สมัยราชวงศ์ฉินหรือจิ๋น

1.4.4. สมัยราชวงศ์ฮั่น

1.4.5. สมัยราชวงศ์ถัง

1.4.6. สมัยราชวงศ์ซ่งหรือซ้อง

1.4.7. สมัยราชวงศ์หงวน

1.4.8. สมัยราชวงศ์หมิง

1.4.9. สมัยราชวงศ์ชิง

1.4.10. สมัยสาธารณรัฐประชาธิปไตยและสาธารณรัฐ ประชาชน (คอมมิวนิสต์)

1.5. สรุปเนื้อหาบทเรียน

1.6. แบบทดสอบหลังเรียน

1.6.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

2. บทที่ 2 แหล่งอารยธรรมอินเดีย

2.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

2.1.1. สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมอินเดียได้

2.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

2.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

2.3. เนื้อหาบทเรียนที่ 1 อารยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศาสตร์

2.3.1. ยุคหินเก่า

2.3.2. ยุคหินกลาง

2.3.3. ยุคหินใหม่

2.3.4. ยุคโลหะ

2.4. เนื้อหาบทเรียนที่ 2 อารยธรรมอินเดียสมัยประวัติศาสตร์

2.4.1. สมัยราชวงศ์เมารยะ

2.4.2. สมัยราชวงศ์คุปตะ

2.4.3. สมัยแตกแยกและอ่อนแอ

2.4.4. สมัยสุลต่านแห่งเดลีหรือราชวงศ์มัมลูก

2.4.5. สมัยอังกฤษปกครองอินเดีย

2.4.6. สมัยอินเดียได้รับเอกราช

2.4.7. สมัยแบ่งออกเป็นบังกลาเทศ

2.5. สรุปเนื้อหาบทเรียน

2.6. แบบทดสอบหลังเรียน

2.6.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

3. บทที่ 3 แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมีย

3.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

3.1.1. สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียได้

3.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

3.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

3.3. เนื้อหาบทเรียน อารยธรรมเมโสโปเตเมียสมัยประวัติศาสตร์

3.3.1. สมัยอาณาจักรสุเมเรีย

3.3.2. สมัยอาณาจักรบาบิโลเนียเก่า

3.3.3. สมัยจักรวรรดิอัสซีเรีย

3.3.4. สมัยอาณาจักรคาลเดียนหรือมาบิโลเนียใหม่

3.4. สรุปเนื้อหาบทเรียน

3.5. แบบทดสอบหลังเรียน

3.5.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

4. บทที่ 4 แหล่งอารยธรรมอิสลาม

4.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

4.1.1. สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมอิสลามได้

4.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

4.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

4.3. เนื้อหาบทเรียน พัฒนาการของจักรวรรดิอิสลาม

4.3.1. สมัยกาหลิบ 4 พระองค์แรก

4.3.2. สมัยราชวงศ์อุมัยยะฮ์

4.3.3. สมัยราชวงศ์อับบาซียะฮ์

4.4. สรุปเนื้อหาบทเรียน

4.5. แบบทดสอบหลังเรียน

4.5.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

5. บทที่ 5 อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชีย

5.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

5.1.1. สามารถวิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบันได้

5.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

5.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

5.3. เนื้อหาบทเรียนอิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชีย

5.3.1. ด้านศาสนาและลัทธิความเชื่อ

5.3.2. ด้านอักษรศาสตร์

5.3.3. ด้านศิลปวิทยาการและภูมิปัญญา

5.4. สรุปเนื้อหาบทเรียน

5.5. แบบทดสอบหลังเรียน

5.5.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

6. บทที่6 มรดกโลกทางวัฒนธรรมของทวีปเอเชีย

6.1. วัตถุประสงค์การเรียนรู้

6.1.1. สามารถระบุความสำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชียได้

6.2. แบบทดสอบก่อนเรียน

6.2.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 5 ข้อ

6.3. เนื้อหาบทเรียนที่ 1แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในเอเชียตะวันออก

6.3.1. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในจีน

6.3.2. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในญี่ปุ่น

6.3.3. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในเกาหลีใต้

6.4. เนื้อหาบทเรียนที่ 2 แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในเอเชียใต้

6.4.1. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในอินเดีย

6.4.2. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในปากีสถาน

6.4.3. แหล่งมรดกโลกในเนปาล

6.4.4. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในศรีลังกา

6.5. เนื้อหาบทเรียนที่ 3 แหล่งมรดกโลกาทงวัฒนธรรมในเอเชียตะวันตกเฉียงใต้

6.5.1. แหล่งมรดกโลกในจอร์แดน

6.5.2. แหล่งมรดกโลกในอิรัก

6.5.3. แหล่งมรดกโลกในอัฟกานิสถาน

6.6. เนื้อหาบทเรียนที่ 4 แหล่งมรดกโลกทางวัฒนธรรมในเอเชียกลาง

6.6.1. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในอาร์เมเนีย

6.6.2. แหล่งมรดกโลกในอาเซอร์ไบจาน

6.6.3. ตัวอย่างแหล่งมรดกโลกในจอร์เจีย

6.6.4. แหล่งมรดกโลกในคาซัคสถาน

6.7. สรุปเนื้อหาบทเรียน

6.8. แบบทดสอบหลังเรียน

6.8.1. แบบทดสอบปรนัย จำนวน 10 ข้อ

7. การวิเคราะห์ Analye

7.1. กลุ่มผู้เรียน

7.1.1. นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

7.2. ปัญหาที่เกิดจากการเรียนการสอน

7.2.1. นักเรียนไม่สามารถ วิเคราะห์ แยกเเยะ และอธิบายแหล่งอารยธรรมเอเชียได้

7.2.2. นักเรียนไม่สามารถระบุชื่อแหล่งมรดกโลกทางอารยธรรมนั้นได้

7.3. วัตถุประสงค์บทเรียน

7.3.1. บทที่ 1 สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมจีนได้

7.3.2. บทที่ 2 สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมอินเดียได้

7.3.3. บทที่ 3 สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียได้

7.3.4. บทที่4 สามารถระบุที่ตั้งและความสำคัญของแหล่งอารยธรรมอิสลามได้

7.3.5. บทที่ 5 สามารถวิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปัจจุบันได้

7.4. เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง

7.4.1. 1. แหล่งอารยธรรมจีน

7.4.2. 2. แหล่งอารยธรรมอิเดีย

7.4.3. 3. แหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมีย

7.4.4. 4. แหล่งอารยธรรมอิสลาม

7.4.5. 5. อิทธิพลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชีย

7.4.6. 6. มรดกโลกทางวัฒนธรรมของทวีปเอเชีย

8. ผู้จัดทำ

8.1. นาย จิระศักดิ์ นำสม

8.2. รหัสนักศึกษา 60031030128 คณะครุศาสตร์ สาขาสังคมศึกษา section02

อารยธรรมโบราณที่สําคัญของภูมิภาคเอเชียใต้คืออะไร

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับมรดกทางวัฒนธรรมที่สำคัญจาก 2 อู่อารยธรรมโบราณ ซึ่งก็คืออารยธรรมจีน และอินเดีย กล่าวโดยเฉพาะวัฒนธรรมที่เกี่ยวกับแนวคิด คติ และความเชื่อในเรื่องความเป็นจริงของโลก หรือก็คือศาสนา อารยธรรมอินเดียนับว่ามีอิทธิพลต่อภูมิภาคนี้มากที่สุด โดยศาสนาพราหมณ์ และศาสนาพุทธ ซึ่งมีต้นกำเนิดในอินเดีย ...

แหล่งอารยธรรมโบราณของภูมิภาคเอเชียใต้อยู่ในบริเวณใด

ภูมิภาคเอเชียใต้มีประวัติศาสตร์ความเป็นมายาวนาน อารยธรรมโบราณได้พัฒนาขึ้นในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำสินธุ ช่วงเวลาแห่งความรุ่งเรืองสูงสุดของภูมิภาคคือ ช่วงก่อนหน้าศตวรรษที่ 17 เมื่อราชวงศ์โมกุล ขยายพระราชอาณาจักรขึ้นสู่ภาคเหนือของอนุทวีป การล่าอาณานิคมของชาติยุโรปได้นำไปสู่การเข้ายึดครองของผู้รุกรานใหม่นำโดยโปรตุเกส ฮอลแลนด์ ...

แหล่งอารยธรรมเก่าที่สุดของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเกิดขึ้นบริเวณใด

กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านโบราณคดีระดับโลกร่วมกันประกาศยกย่องให้พื้นที่ในเมืองสุไหงบาตู รัฐเกดะห์ของมาเลเซีย เป็นจุดอารยธรรมเก่าแก่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการค้นพบอุปกรณ์ข้าวของเครื่องใช้ฝีมือมนุษย์ที่เก่าแก่ที่สุดอายุกว่า 2,500 ปี

ชาวเอเชียส่วนใหญ่มีวัฒนธรรมที่มีรากฐานมาจากอารยธรรมใด

หากพิจารณาบริบทของวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียอย่างลึกซึ้ง จะพบว่า ในภูมิภาคนี้ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่สำคัญ มาจากอารยธรรมที่สำคัญ 2 อารยธรรมของโลกตะวันออก กล่าวคือ อารยธรรมอินเดีย และอารยธรรมจีน ความคล้ายคลึงของวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นั้น สะท้อนถึงรากฐานทางความคิด และความเข้าใจที่ชาวเอเชีย รวมถึงชาวไทยมี ...