หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

หลายคนมีอาการใจสั่น แล้วเกิดข้อสงสัยว่าเกิดจากสาเหตุอะไร บางคนมีความรู้สึกว่าหัวใจเต้นเร็วมาก จะเป็นโรคหัวใจหรือเปล่า ศูนย์หัวใจวิชัยเวช 24 ชั่วโมง รพ.วิชัยเวชฯ​หนองแขม ไขข้อสงสัยเรื่องนี้แบบเข้าใจง่าย ๆ

ทำความรู้จักหัวใจของคนเราก่อน
หัวใจของคนเราจะมีขนาดเท่ากำปั้น อยู่บริเวณช่องอก เยื้องไปทางด้านซ้ายเล็กน้อย มีหน้าที่ในการบีบตัว สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย

อัตราการการเต้นของหัวใจ

  • หัวใจเต้น 60-100 ครั้งต่อนาที  : ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • หัวใจเต้นเกิน 100 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว
  • หัวใจเต้นเกิน 150 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็วมากเข้าขั้นอันตราย

สาเหตุของอาการใจสั่นหรือหัวใจเต้นเร็ว แบ่งออกเป็น

1. หัวใจเต้นเร็วเพราะหัวใจถูกกระตุ้น ไม่ได้เกิดจากความผิดปกติของไฟฟ้าหัวใจ เช่น อยู่ในภาวะตกใจ หรือไปออกกำลังกาย เสียเลือดมากจนซีด ขาดน้ำ ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ หรือเกิดภาวะไทรอยด์เป็นพิษ การดื่มชา กาแฟ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งก็จะส่งผลให้หัวใจเต้นเร็วได้

2. หัวใจเต้นเร็วเพราะระบบไฟฟ้าในหัวใจผิดปกติ แบ่งออกได้เป็น

  • จุดกำเนิดหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะที่หัวใจห้องบน Supraventricular Tachycardia หรือที่เรียกว่า SVT เกิดจากทางเดินของกระแสไฟฟ้าหัวใจเพิ่มขึ้นจากปกติ ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าลัดวงจรและไปกระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วจากภาวะปกติ
  • จุดกำเนิดหัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะที่หัวใจห้องล่าง Ventricular Tachycardia หรือที่เรียกว่า VT เกิดจากการมีจุดกำเนิดที่ทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นในหัวใจห้องล่าง

ทำความรู้จักหัวใจเต้นเร็ว

หัวใจเต้นเร็วรูปแบบนี้จะมีลักษณะจำเพาะ โดยที่หัวใจจะเต้นเร็วขึ้นมาอย่างฉับพลันจากภาวะปกติ เช่น จากที่หัวใจเต้น 80 ครั้งต่อนาทีอยู่ดี ๆ ก็เพิ่มขึ้นเป็น 140 ครั้งต่อนาที ภายในเวลาชั่วพริบตา ทำให้รู้สึกถึงอาการใจสั่น และก็จะสามารถลดลงกลับมาอยู่ในภาวะปกติได้อย่างทันที ซึ่งระยะเวลาที่หัวใจเปลี่ยนจังหวะการเต้นอย่างฉับพลันขึ้นอยู่กับสภาพการณ์ของแต่ละบุคคล

อาการหัวใจเต้นเร็ว แบ่งออกเป็น
1. อาการไม่รุนแรง อาการที่สามารถพบได้

  • ใจสั่นแบบทันทีทันใด
  • ใจหวิว
  • มึนงง
  • อาจมีอาการแน่นหน้าอก หรือจุกบริเวณลำคอ
  • มีอาการเกิดขึ้นภายในไม่กี่นาทีและสามารถหายได้เอง

2. อาการแบบรุนแรง มีอาการหัวใจเต้นเร็วนานหลายนาที หรือหลายชั่วโมง บางรายมีอาการหน้ามืด เป็นลม หมดสติ หัวใจวาย หรือเสียชีวิตทันที

การออกกำลังกายที่ได้ผลลัพท์และตรงเป้าหมายถือว่าเป็นสิ่งที่ดี แต่ก่อนที่จะไปออกกำลังกาย เรามาเข้าใจอัตราการเต้นหัวใจไปพร้อมๆกัน เพื่อค้นหาโปรแกรมออกกำลังกายที่ตรงกับเป้าหมายที่สุด โดยบทความนี้จะพาเพื่อนๆไปทำความรู้จักกับอัตราการเต้นของหัวใจ ว่าทำไมเราต้องควบคุมโซนอัตราการเต้นของหัวใจ และควรรักษาระดับให้อยู่ในโซนไหน ?

 

 

ข้อดีของการควมคุมอัตราการเต้นของหัวใจ ?
  • รู้ความหนัก-เบาของการออกกำลังกาย
  • กำหนดเป้าหมายของตัวเราได้ถูกต้อง
  • เผาผลาญและลดไขมันได้มีประสิทธิภาพ
  • พัฒนาร่างกายได้อย่างต่อเนื่อง
  • เพิ่มความแข็งแรงของร่างกาย
  • ฟื้นฟูและกระตุ้นร่างกาย
  • พัฒนาระบบหัวใจ
  • ควมคุมการหายใจได้ดีขึ้น

ถ้าเรารู้ข้อดีแล้ว.. มาโฟกัสให้ตรงจุดกันดีกว่า

 

 

5 โซนอัตราการเต้นของหัวใจ แบ่งได้ดังนี้

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

 

Zone 1 : บางเบา เหมือนนั่งอยู่เฉยๆ (50% - 60%)

  • ช่วยให้เลือดไหลเวียนดี ฟื้นฟูหลังจากออกกำลังกายหนักๆ
     

Zone 2 : เบาๆ ไว้อยู่แล้ว (60% - 70%)

  • โซนนี้จะเผาผาญคาร์โบไฮเดรตที่เพิ่งกินไปและหลังจากนั้น
  • จะเริ่มเผาผาญไขมันได้อย่างดี ควรออกกำลังกายติดต่อ 40-60 นาที
     

Zone 3 : ปานกลาง ไว้ก็ไปต่อ (70% - 80%)

  • โซนนี้ใช้เวลาปานกลางตามชื่อเลย 10 - 30 นาที
  • เช่นเต้น อาราบิค และช่วยชลอความล้าจากกรดแลคคิต
     

Zone 4 : หนัก แต่ยังไม่สุด (80% - 90%)

  • ใช้เวลาสั้นๆแต่ได้ใจความ 2 - 10 นาที
  • เพิ่มความทนให้กับกล้ามเนื้อและการออกกำลังกาย
     

Zone 5 : หนักสุด มีเท่าไหร่ใส่ให้หมด (90% - 100%)

  • (ไม่เกิน 5 นาที)
  • เหมาะสำหรับการฝึกซ้อมนักกีฬาที่เตรียมแข่งขัน เพื่อพัฒนาศักยภาพสูงสุด

 

 

วิธีหาอัตราการเต้นหัวใจ

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

หลักๆแล้วเราควรรู้ว่าอัตราการเต้นหัวใจ ถูกแบ่งออกได้ 5 โซน ซึ่ง 5 โซนจะเริ่มตั้งแต่หัวใจเต้นเบาจนไปถึงหัวใจเต้นหนักสุด โดยมีวิธีคำนวณง่ายๆ แบบไม่ปวดหัวดังนี้

 

1. หาอัตราการเต้นหัวใจหนักสุด 100 % 

วิธีนี้เป็นวิธีหาค่าอัตราการเต้นหัวใจที่พื้นฐานที่สุด โดยคำนวญจากอายุ (*220 - อายุ = อัตราเต้นหัวใจ 100 %)

เช่น อายุ 28 (220 - 28 = 192)

  • 192 : อัตราการเต้นหัวใจสูงสุด 100% ของคนอายุ 28
  • 96 : อัตราการเต้นหัวใจ  50% ของคนอายุ 28 (นำค่าสูงสุดมาหารสอง)

แต่วิธีนี้จะเป็นเพียงการคำนวณหา ค่าสูงสุด และ ต่ำสุด เท่านั้น ในขณะออกกำลังกายจำเป็นต้องตรวจอัตราการเต้นหัวใจ เพื่อทำให้ถึงเป้าหมายที่ต้องการ

 

 

2. วัดอัตราการเต้นของหัวใจจากนาฬิกาออกกำลังกาย

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

วิธีนี้เป็นวิธีที่สะดวกและรวดเร็วที่สุด เพียงสวมใส่นาฬิกาออกกำลังกาย โดยกรอกข้อมูล อายุ, น้ำหนัก, ส่วนสูง และเพศ ก่อนเริ่มใช้งาน นาฬิกาออกกำลังกายก็จะคำนวณและแสดงผลได้ทันที สามารถดูผลได้ตลอด 24 ชั่วโมง และออกกำลังกายได้ง่ายขึ้น

ตัวอย่างในรูปจะเป็นนาฬิกาออกกำลังกายรุ่น Garmin VENU 2

วิธีใช้งาน

  • กรอกข้อมูลสุขภาพก่อนเริ่มใช้งานนาฬิกา
  • เลื่อนดูข้อมูลจากหน้าปัดนาฬิกา
  • นาฬิกาจะแสดงข้อมูลอัตราการเต้นหัวใจปัจจุบัน และกราฟค่าเฉลี่ยสูง/ต่ำ

 

เตือนอัตราการเต้นหัวผิดปกติ

นอกจากนี้สำหรับใครที่ต้องการให้นาฬิกาแจ้งเตือนเมื่อ "อัตราการเต้นหัวผิดปกติ" ในชีวิตประจำวัน  Garmin VENU 2 ก็มีคุณสมบัติให้ได้เปิดใช้งาน โดยนาฬิกาจะสั่นเตือนให้ทราบเมื่อหัวใจเต้นสูง/ต่ำกว่ากว่าเกณฑ์ที่ผิดปกติ

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

 

 

ออกกำลังกายด้วยโซนอัตราการเต้นหัว

สำหรับเพื่อนๆที่ยังไม่เคยใช้งานนาฬิกาออกกำลังกายมาก่อน แนะนำให้ลองใช้งานคุณสมบัตินี้ เมื่อเราเข้าโหมดออกกำลังกาย นาฬิกาจะวัดอัตราการเต้นหัวให้อัตโนมัติ พร้อมผลแสดงโซนของหัวใจ ทำให้เราเข้าใจได้อย่างง่ายว่าในขณะนั้นเราได้ควบคุมโซนอัตราการเต้นหัวได้ถูกต้องหรือไม่

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

 

และไม่ต้องกังวัลว่าจะลืมดูโซนอัตราการเต้นหัวใจ เพราะนาฬิกาออกกำลังกายสามารถตั้งต่าให้แจ้งเตือนเมื่อหลุดออกโซนหัวใจจากที่ได้ตั้งค่าไว้ 

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

 

สามารถกำหนดเป็นโซน 1 - 5 (สูง/ต่ำ) และตั้งต่าอัตราการเต้นหัวใจตามที่ต้องการ เพื่อออกกำลังกายได้อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด นาฬิกาจะสั่นแจ้งเตือนให้ทราบทุกครั้งเมื่อหลุดออกจากอัตราการเต้นหัวใจที่ได้ตั้งไว้

หลัง ออก กํา ลังกา ย หัวใจเต้นเร็ว

 

แนะนำสำหรับเพื่อนๆที่เริ่มต้นออกกำลังกายลดน้ำหนัก ควรอยู่ ที่ Zone 2 ถ้าออกกำลังสักระยะแล้วอาจจะอยู่ที่ Zone 2 และขยับไปที่ Zone 3 สลับกันแบบสั้นๆ เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ร่างกายเผาผลาญอย่างต่อเนื่อง สุดท้ายสำหรับคนที่ลดน้ำหนักแนะนำให้ลองวัดอัตราเต้นหัวใจจากนาฬิกาสุขภาพ หรือสายคาดหน้าอก เพื่อออกกำลังกายควมคุมอัตราเต้นหัวใจให้อยู่ที่ Zone 2 (60% -70%) เป็นเวลา 40-60 นาที ทำต่อเนื่องอาทิตล่ะ 3-4วัน รับรองเป้าหมายของคุณอยู่ไม่ไกลแน่ๆ เพื่อนๆที่กำลังสนใจสนนาฬิกาออกกำลังกาย สามารถเลือกชมสินค้าที่เหมาะได้ที่ Tsmactive.com หรือแอดไลน์มาสอบถามเพิ่มเติมที่ Line: @TSMACTIVE

ออกกําลังกายหัวใจเต้นเท่าไร

โดยคำนวณจาก ชีพจรสูงสุดของแต่ละอายุ = 220 – อายุ ตัวอย่างเช่น : อายุ 40 ปี ชีพจรสูงสุดของคนอายุ 40 ปี = 220 - 40 = 180 ครั้ง/นาที ต้องการออกกำลังกายที่ 60-80% ของชีพจรสูงสุด สามารถคำนวณได้ดังนี้ ชีพจรเป้าหมาย ( Target Heart Rate ) 60% = 60/100*180 = 108 ครั้ง/นาที

ทำไมออกกำลังกายแล้วหัวใจเต้นเร็วขึ้น

ขณะออกกำลังกาย หัวใจจะเต้นเร็วขึ้น เพื่อเพิ่มการสูบฉีดของเลือด การหยุดออกกำลังกายอย่างกะทันหันจะทำให้เลือดที่ไหลมาเลี้ยงหัวใจ ลดน้อยลงแต่หัวใจยังคงสูบฉีดเลือดได้ ในปริมาณเท่าเดิมอยู่ จึงส่งผลให้เกิดอาการวิงเวียน หน้ามืด หรือในบางคนอาจจะวูบหมดสติไปเลยก็ได้ ซึ่งเราสามารถสังเกตอาการของเราได้ หากมีอาการเหล่านี้ แปลว่า เรา ...

อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดที่เหมาะสมในการออกกําลังกาย คือเท่าใด

อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด(Maximum Heart rate) =220-อายุ ตัวอย่าง นาย มงคล มีอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด 200 ครั้งต่อนาที ต้องการออกกำลังกายในช่วง 60-80% จะสามารถคำนวณช่วงของอัตราการเต้นของหัวใจได้ดังนี้ได้ดังนี้ จากสูตร อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุดของเรา x (เปอร์เซ็นต์ในช่วงที่ต้องการ / 100)

หัวใจเต้น170ผิดปกติไหม

หัวใจเต้น 60-100 ครั้งต่อนาที : ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติ หัวใจเต้นเกิน 100 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว หัวใจเต้นเกิน 150 ครั้งต่อนาที : มีภาวะหัวใจเต้นเร็วมากเข้าขั้นอันตราย