ข้อ ควร ปฏิบัติ ใน งานเชื่อมด้วยลวดเชื่อมหุ้ม ฟ ลัก ซ์ 5 ข้อ

การเช่ือมไฟฟา้ ด้วยลวดเช่อื มห้มุ ฟลกั ซ์

ครผู ูส้ อน สนธยา บุปผาพนั ธุ์

หวั ขอ้ เรื่อง (Topics)
1. กระบวนการเชื่อมไฟฟา้ โดยใช้ลวดเชื่อมห้มุ ฟลกั ซ์
2. องค์ประกอบของงานเชื่อมไฟฟ้า
3. การเร่มิ ต้นอารก์

แนวคดิ สาคัญ (Main Idea)
การเชอ่ื มไฟฟา้ ด้วยลวดเชอื่ มหมุ้ ฟลกั ซเ์ ปน็ กระบวนการต่อโลหะให้

ตดิ กนั โดยอาศยั ความรอ้ นจากการอารก์ ระหว่างชิ้นงานกับลวดเชอ่ื ม ดังนน้ั ลวด
เชือ่ มท่ใี ชถ้ อื วา่ มีความสาคญั และเปน็ องค์ประกอบของการเช่อื มไฟฟ้า

เน้ือหาสาระ (Content)

1. กระบวนการเชือ่ มไฟฟา้ โดยใชล้ วดเชอื่ มหมุ้ ฟลกั ซ์

การเช่อื มแบบนี้ลวดเช่ือมจะมีฟลกั ซห์ ุ้มภายนอกแกนลวด และ
กระแสไฟฟ้าจะถกู สง่ ผา่ นแกนลวดเชอื่ มไปยังส่วนปลายกระแสไฟฟา้ ทมี่ ีทง้ั ชนดิ
กระแสตรง (DC) และชนดิ กระแสสลบั (AC) การเลอื กใช้งานควรเปน็ ไปตาม
คาแนะนาของผ้ผู ลิตลวดเชือ่ มโดยปกตจิ ะมีพมิ พ์ไวข้ ้างกล่องลวด โดยจะมีการบง่ ช้ี
เชน่ ย่หี อ่ เกรดของลวดเชอ่ื ม ขนาด x ความยาวลวด ชนดิ กระแสไฟฟา้ ทแ่ี นะนา
ให้ใช้งานในแต่ละท่าเชอื่ ม ชนิดฟลกั ซ์ห้มุ เปน็ ต้น

1.1 ลวดเช่อื มไฟฟา้ (Electrode)

การเชือ่ มโลหะด้วยไฟฟา้ ทเ่ี กิดการหลอมละลายของลวดเชื่อมเตมิ ลงบน
รอยตอ่ ทาใหโ้ ลหะหลอมละลายตดิ กันไดน้ ้ัน จะใช้ลวดเชือ่ ม 2 ชนดิ คือ ลวดเช่ือม
เปลอื ย (Bare Electrode) และลวดเชื่อมทีม่ สี ารพอกหุ้ม (Flux Covered
Electrode) ซึง่ เปน็ ลวดเช่อื มท่ีใช้ในกระบวนการเชอ่ื มไฟฟา้ ลวดเชอื่ มไฟฟ้าทีม่ ี
สารพอกหุ้ม ประกอบด้วย แกนลวดเชือ่ ม (Core Wire) ซง่ึ มีส่วนผสมของธาตุ
ตา่ งๆ ตามคณุ สมบตั ิทีต่ อ้ งการ เชน่ คาร์บอน ซลิ ิคอน แมงกานีส ฟอสฟอรสั
เปน็ ต้น มหี นา้ ที่เป็นข้วั ไฟฟา้ และเตมิ เนอื้ โลหะลงในแนวเช่ือม

ฟลกั ซ์ (Flux) หรอื สารพอกห้มุ ประกอบด้วยธาตุและสารเคมหี ลาย
ชนดิ เชน่ ซลิ ิคอนไดออกไซด์ (Silicon Dioxide) แคลเซียมฟลูออไรด์ (Calcium
Fluoride) เซลลโู ลส (Cellulose) เปน็ ตน้

หนา้ ทข่ี องสารพอกห้มุ (Flux)
1. เม่อื เผาไหมจ้ ะกลายเปน็ ไอปกคลมุ แนวเชอ่ื มเพอื่ ปอ้ งกันการรวมตวั ของออกซิเจน

กนั แนวเชอื่ ม (Oxidation)
2. ทาให้การเร่ิมตน้ อาร์กงา่ ยขนึ้ และมกี ารอารก์ สมา่ เสมอ
3. มสี ว่ นผสมของผงเหล็กทาใหอ้ ตั ราการเติมน้าโลหะสูง
4. เตมิ ธาตตุ ่างๆ ทีท่ าใหแ้ นวเชือ่ มมคี ุณสมบตั ิดี
5. ช่วยใหแ้ นวเช่ือมเยน็ ตวั อยา่ งชา้ ๆ เพอื่ ลดการแตกรา้ วของแนวเชอ่ื ม
6. ควบคมุ รปู รา่ งของแนวเชื่อม
7. ชว่ ยขจดั สารมลพิษ (Impurities) ในแนวเช่ือม

สญั ลักษณม์ าตรฐานของลวดเชื่อมหมุ้ ฟลกั ซ์
แตล่ ะประเทศจะผลิตลวดเชอ่ื มหมุ้ ฟลกั ซ์ในลกั ษณะแตกต่างกนั ตามมาตรฐานของ

ตนเอง หากเป็นมาตรฐานสากลจะมลี ักษณะ ISO (International Organization Standard)
ประเทศสหรฐั อเมรกิ าซงึ่ ผลิตลวดเชือ่ มหมุ้ ฟลักซ์มาตรฐานท่นี ยิ มใชท้ ว่ั โลก ใชส้ ญั ลกั ษณ์ AWS
(American Welding Society) ประเทศญป่ี ุ่นใช้สญั ลกั ษณ์ JIS (Japanese Industry
Standard) ส่วนประเทศไทยใช้สัญลักษณ์ มอก. (มาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมไทย หรือ
TIS ซงึ่ มาจากคาวา่ Thailand Industries Standard)

2. องค์ประกอบของงานเช่อื มไฟฟา้

ประกอบดว้ ยกัน 5 ประการ คือ ลวดเชื่อม กระแสไฟ มมุ ลวดเช่อื ม
ระยะอาร์ก และความเร็วในการเคล่ือนทข่ี องลวดเชอ่ื ม

2.1 ลวดเช่อื ม (Electrode) จะตอ้ งเลือกให้เหมาะสมกับลกั ษณะงาน
สว่ นผสมของโลหะทจ่ี ะนามาเช่ือมวา่ เปน็ เหลก็ ชนดิ ใด

2.2 กระแสไฟ (Current) ทเ่ี ลอื กใชม้ ีความสาคัญกับการเช่ือม ซ่ึงการ
ปรบั กระแสไฟฟา้ กต็ ่างกันออกไป ชนิ้ งานบาง ชิ้นงานหนา หรอื เลอื กระบบไฟ
ระหว่าง AC และ DC การตัง้ กระแสไฟผิดทาใหแ้ นวเชอื่ มออกมาคุณภาพไมด่ ี
การท่ีต้งั กระแสไฟเท่าไรเพ่ือใช้ในการเชือ่ ม ผู้เช่อื มสามารถดไู ด้จากข้อมลู ทพี่ ิมพ์
ไว้ข้างกลอ่ งลวดเชอื่ ม

2.3 ระยะอาร์ก

ระยะอารก์ ท่เี หมาะสมจะเทา่ กับความโตของเสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางของ
ลวดเชอื่ ม การอาร์กทาให้เกดิ ความรอ้ นหลอมละลายโลหะ และลวดเชื่อมเป็นเน้อื
เดียวกัน เพราะฉะน้นั ตอ้ งควบคมุ ระยะอารก์ ใหถ้ กู ต้อง

2.4 มุมลวดเชอ่ื ม

มมุ ลวดเชอ่ื มท่กี ระทากบั ชนิ้ งานมผี ล เพราะถา้ ลวดเช่ือมทามมุ ไม่
ถกู ต้องกบั ชน้ิ งานตามลกั ษณะของรอยต่อและทา่ เชือ่ มแลว้ การหลอมละลายและ
การเตมิ นา้ โลหะของลวดเชื่อมกจ็ ะไม่ดดี ว้ ย มมุ ลวดเชื่อมจะมี 2 ลักษณะ คือ

1. มมุ นา จะมที ศิ ทางไปในทางเดียวกบั การเดนิ แนวเชือ่ ม มมุ ของลวด
เชื่อมทามุมประมาณ 60 – 70 องศา

2. มุมด้านข้าง (Side Angle) คือ มมุ ท่ีลวดทามมุ กับชนิ้ งานโดยมอง
ทางดา้ นขา้ งจะมีมมุ 90 องศา โดยวดั เข้าหาตัวผู้เช่อื ม ถา้ เป็นท่าขนานนอน มมุ
ลวดเช่อื มดา้ นขา้ งจะทามุม 45 องศา

2.5 ความเร็วในการเคลอื่ นท่ขี องลวดเช่อื ม

ต้องมคี วามสัมพันธ์กบั กระแสไฟเช่อื มและขนาดความโตของแนว
เชื่อมทีต่ ้องการ

3. การเริ่มตน้ อารก์

การเริม่ ต้นอารก์ สาหรบั ผเู้ ร่ิมฝกึ จะเกดิ ปัญหาคอื ลวดเชอ่ื มมักจะติดกับ
ชนิ้ งาน และเมื่อบดิ ลวดเชอื่ มออกฟลักซ์ทีห่ ุ้มลวดเชื่อมกแ็ ตกตรงบริเวณปลาย
ลวดจงึ ทาให้เกดิ การอาร์กยากมากข้ึน มีวิธอี ยู่ 2 แบบ คอื

3.1 แบบแตะสัมผัส (Tapping Method)

หรือเรียกวา่ วิธีการเคาะ โดยใช้ลวดเชอ่ื มแตะลงบนผวิ ของช้ินงาน
แล้วยกขึน้ เพ่ือใหเ้ กิดการอาร์ก จากน้นั กดลวดเชื่อมลงใหไ้ ด้ระยะอารก์ ที่ถูกต้อง

3.2 แบบเขย่ี สมั ผสั (Scratch Method)

หรอื เรยี กว่าการขีด ลวดเชอ่ื มจะไมค่ ่อยติดกบั ชน้ิ งาน แต่จะทาให้
การเรมิ่ ต้นอาร์กไมต่ รงจุดทีจ่ ะเชื่อม

การสา่ ยลวดเชือ่ ม (Waving with Electrode)

การเชอ่ื มโลหะนั้นจะต้องใหร้ อยเช่ือมโตกว่าลวดเชือ่ ม จึงตอ้ งสา่ ยลวด
เชื่อมซง่ึ จะดีกวา่ การเชื่อมแบบลากไปตรงๆ การสา่ ยลวดเชือ่ มหมายถึงการลาก
ลวดเช่อื มไปทางด้านข้าง เพื่อให้รอยเช่อื มกวา้ งข้นึ โดยทวั่ ไปแล้วความกว้างของ
รอยเชือ่ มไม่เกิน 3 เทา่ ของลวดเช่อื ม

การสา่ ยลวดเช่ือมนน้ั มีหลายแบบ ซึง่ จะให้ผลแตกตา่ งกันจะเห็นจดุ สดี า
ตามแนวด้านข้างรอยเช่อื ม ซง่ึ หมายถงึ จุดท่ีหยุดเตมิ ลวดเชือ่ ม เพือ่ ให้เติมลวด
เชื่อมท่แี นวด้านข้างมากกวา่ สว่ นอืน่ เพ่ือป้องกันรอยกัดข้าง (Under Cut) ทขี่ อบ
รอยเช่ือม