5 องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

๔.๑ องค์ประกอบงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

องค์ประกอบท่ี ๑ การจดั ทาปา้ ยชอ่ื พรรณไม้

หลักการ รชู้ ่ือ รลู้ กั ษณ์ รูจ้ กั

สาระการเรียนรู้
กาหนดขอบเขตพื้นท่ีศึกษา สารวจพรรณไม้ ทาและติดป้ายรหัสประจาต้น บันทึกภาพพรรณไม้

หรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ ตั้งชื่อหรือสอบถามข้อมูลพรรณไม้ ทาป้ายช่ือพรรณไม้ช่ัวคราว ทาผัง
แสดงตาแหน่งพรรณไม้ ศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.๗-๐๐๓) ทาตัวอย่างพรรณไม้ เปรียบเทียบ
ข้อมูลกับเอกสาร เรียนรู้ชื่อท่ีเป็นสากล ทาทะเบียนพรรณไม้ (ก.๗-๐๐๕) ตรวจสอบความถูกต้องของ
ทะเบียนพรรณไม้ และจัดทาป้ายช่อื พรรณไมส้ มบูรณ์ เพอ่ื ให้รจู้ ัก รู้ประโยชน์ของพรรณไม้
ลาดบั การเรียนรู้

๑. กาหนดพืน้ ที่ศึกษา
๒. สารวจพรรณไม้ในพ้นื ท่ศี ึกษา
๓. ทาและตดิ ป้ายรหัสประจาตน้
๔. ต้ังชือ่ หรือสอบถามช่ือ และศึกษาข้อมลู พื้นบา้ น (ก.๗-๐๐๓ หนา้ ๑)
๕. ทาผังแสดงตาแหนง่ พรรณไม้
๖. ศึกษาและบนั ทกึ ลกั ษณะทางพฤกษศาสตร์ (ก.๗-๐๐๓ หน้า ๒-๗)
๗. บันทกึ ภาพหรือวาดภาพทางพฤกษศาสตร์
๘. ทาตัวอยา่ งพรรณไม้ (แห้ง/ ดอง/ เฉพาะสว่ น)
๙. เปรยี บเทียบข้อมลู ท่ีสรุป (ก.๗-๐๐๓ หนา้ ๘) กับขอ้ มูลทส่ี บื ค้นจากเอกสาร แลว้ บันทึก

ใน ก.๗-๐๐๓ หน้า ๙ - ๑๐
๑๐. จดั ระบบข้อมูลทะเบียนพรรณไม้ (ก.๗-๐๐๕)
๑๑. ทาร่างป้ายชือ่ พรรณไม้สมบูรณ์
๑๒. ตรวจสอบความถูกตอ้ งทางวิชาการดา้ นพฤกษศาสตร์
๑๓.ทาป้ายชื่อพรรณไม้สมบูรณ์

องคป์ ระกอบท่ี ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรยี น

หลกั การ คลุกคลี เหน็ คุณ สุนทรยี ์
สาระการเรียนรู้

เรียนรพู้ ืชพรรณ และสภาพพืน้ ที่ วเิ คราะหพ์ ืน้ ที่ พิจารณาคุณ และสุนทรยี ภาพพรรณไม้ ทาผงั ภูมิ
ทศั น์ จดั หาพรรณไม้ ปลกู ดแู ลรักษา และออกแบบบนั ทึกการเปลย่ี นแปลง เพือ่ ให้เห็นคณุ รคู้ ่า ของพชื
พรรณ

ลาดบั การเรียนรู้
๑. ศกึ ษาขอ้ มูลจากผงั พรรณไมเ้ ดมิ และศึกษาธรรมชาตขิ องพรรณไม้
๒. สารวจ ศึกษา วิเคราะหส์ ภาพพ้ืนที่
2.1 สารวจ สภาพพ้นื ที่ ตามผังพรรณไม้เดิม เพ่ือให้ทราบธรรมชาติของพืน้ ท่ี
- พ้ืนที่ ที่ราบ ลุ่ม ลาดเอยี ง ชุ่มนา้ (พรุ)
- ดิน ดินร่วน ดินเหนียว ดนิ ทราย หนิ กรวด หรืออินทรยี ์วัตถุ
- แสง แสงท่ีเขา้ มากระทบ
- อากาศ ทศิ ทางลม
2.2 สารวจ สภาพพรรณไม้เดมิ ลักษณะวสิ ัย ไม้ตน้ ไม้พ่มุ ไม้ลม้ ลกุ ไมเ้ ลอ้ื ย
๓. พจิ ารณาคุณ และสุนทรยี ภาพของพรรณไม้
สุนทรยี ภาพ น.
ความงามในธรรมชาตหิ รืองานศิลปะ ทแ่ี ต่ละบุคคลสามารถเขา้ ใจและรู้สึกได้ ความ

เขา้ ใจและความรูส้ กึ ของแต่ละบุคคลทีม่ ี ตอ่ ความงามในธรรมชาติหรอื งานศิลปะ
๔. กาหนดการใช้ประโยชน์ในพ้นื ที่
เชน่ ให้รม่ เงา ปอ้ งกันเสยี ง ปอ้ งกนั ฝุ่นละออง ป้องกนั แสง ปอ้ งกนั กระแสลม ดึงดูด ชีวภาพอนื่ ๆ

เชน่ เปน็ ที่อยอู่ าศยั แหลง่ อาหาร หรือชว่ ยในการดารงเผ่าพันธุ์ ใชป้ ระโยชนใ์ นด้านตา่ งๆ อนรุ ักษ์และใช้
เปน็ พชื ศึกษาในด้านต่างๆ

๕. กาหนดชนิดพรรณไมท้ ่ีจะปลูก
- กาหนดพืช ท่เี ป็น ไมต้ ้น-ไม้พุ่ม ในการใหร้ ม่ เงา ป้องกันเสียง ฝ่นุ ละออง แสง
และกระแสลม
- กาหนดพืช ทีเ่ ปน็ ไม้ดอก ไม้ประดับ ในการดึงดูด ชีวภาพอน่ื ๆ
เช่น เปน็ ที่อยูอ่ าศัย แหลง่ อาหาร หรือช่วยในการผสมพนั ธุ์
- กาหนดพชื ทีเ่ ป็น พชื สมนุ ไพร เพ่ือการใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นต่างๆ

- กาหนดพืช ท่ีมคี วามสาคัญในท้องถ่ิน เพอื่ อนุรกั ษ์และใช้เปน็ พชื ศกึ ษา
๖. ทาผังภมู ิทัศน์

ลักษณะภูมิทัศน์ เป็นพื้นท่ี ท่ีมีลักษณะเด่นชัด แสดงถึงความกลมกลืนขององค์ประกอบใน
ธรรมชาติ บริเวณใดทม่ี ลี กั ษณะภูมิทศั น์ท่ีมีความกลมกลืนมาก ก็จะเป็นท่ีภิรมย์แก่ผู้พบเห็นซึ่งเราวัดกัน
ได้ด้วย คุณภาพ ทีเ่ รยี กวา่ ความงาม ซึ่งหมายถึงความสมั พนั ธ์ที่กลมกลืนขององค์ประกอบต่างๆ คุณภาพ
ของงานภูมิทัศน์ มวี ธิ กี ารปกปอ้ งรักษา ดงั น้ี

- ขจดั สว่ นประกอบทไ่ี มก่ ลมกลนื ออกไป

- นาสว่ นประกอบที่เหมาะสมเข้ามาช่วยเนน้ ความสาคญั

- มกี ารใช้ประโยชน์จากภูมทิ ัศน์อย่างเหมาะสม และไมท่ าลายธรรมชาติ
๗. จัดหาพรรณไม้ วัสดุปลกู
๘. การปลูก และดูแลรกั ษา
๙. ศึกษาคุณของพชื พรรณที่ปลกู ออกแบบบันทึกการเปลี่ยนแปลง

องค์ประกอบที่ ๓ การศกึ ษาข้อมลู ด้านตา่ งๆ

หลกั การ รู้การวิเคราะห์ เห็นความตา่ ง รคู้ วามหลายหลาก

สาระการเรียนรู้
การนาทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นปัจจัยในการเรียนรู้ โดยการใช้ปัจจัยหลายปัจจัยในชนิด

เดยี วกันหรือต่างชนิดกัน เพื่อให้เห็นความต่าง เม่ือเห็นความต่าง ก็จะเกิดจินตนาการอันจะนาไปสู่การใช้
ประโยชนใ์ นงานแต่ละด้าน

ลาดับการเรยี นรู้
๑. การศึกษาพรรณไม้ในสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน(ก.๗-๐๐๓) ครบตามทะเบยี นพรรณไม้
๑.) การมสี ว่ นร่วมของผ้ศู กึ ษา
๒.) การศกึ ษาข้อมลู พน้ื บา้ น
๓.) การศึกษาขอ้ มลู พรรณไม้
๔.) การสรุปลกั ษณะและขอ้ มลู พรรณไม้
๕.) การสบื ค้นข้อมูลพฤกษศาสตร์
๖.) การบันทึกข้อมลู เพ่ิมเติม
๗.) การตรวจสอบผลงานเปน็ ระยะ
๘.) ความเปน็ ระเบยี บ ความตงั้ ใจ
๒. การศึกษาพรรณไม้ทสี่ นใจ
๑.) การศึกษาลักษณะภายนอก ภายในของพชื แต่ละส่วนโดยละเอยี ด
๒.) การกาหนดเร่ืองท่จี ะเรียนรใู้ นแตล่ ะส่วนของพืช
๓.) การเรียนรู้แตล่ ะเร่ือง แตล่ ะสว่ นขององค์ประกอบย่อย
๔.) การนาข้อมลู มาเปรยี บเทยี บความตา่ งในแต่ละเร่ือง ในชนิดเดยี วกัน

องคป์ ระกอบท่ี ๔ การรายงานผลการเรยี นรู้

หลักการ รสู้ าระ รูส้ รปุ รู้สื่อ
สาระการเรียนรู้

รวบรวมผลการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ เรยี บเรยี งสาระ จัดระเบียบข้อมลู สาระแต่ละด้าน จดั ลาดับสาระ
หรอื กลุ่มสาระ เรยี นรู้รูปแบบการเขยี นรายงาน วิธกี ารรายงานผลในรปู แบบตา่ งๆ เพ่อื ส่อื ผลการเรียนรู้
อยา่ งเปน็ ระบบ

ลาดับการเรยี นรู้
๑. รวบรวมผลการเรียนรู้
๒. คัดแยกสาระสาคัญ และจัดให้เปน็ หมวดหมู่
๒.๑ วเิ คราะห์ เรียบเรยี งสาระ
๒.๒ จัดระเบียบขอ้ มูลสาระแตล่ ะด้าน
๒.๓ จัดลาดับสาระหรือกล่มุ สาระ
๓. สรุปและเรียบเรียง
๔. เรียนรู้รูปแบบการเขียนรายงาน
๔.๑ แบบวิชาการ
๔.๒ แบบบรู ณาการ
๕. กาหนดรปู แบบการเขยี นรายงาน
๖. เรยี นรูว้ ธิ กี ารรายงานผล
๖.๑ เอกสาร เช่น หนงั สอื แผน่ พบั
๖.๒ บรรยาย เชน่ การเลา่ นิทาน อภปิ ราย สมั มนา
๖.๓ ศิลปะ เช่น การแสดงศิลปะพ้ืนบ้าน ละคร ร้องเพลง ภาพวาดทางพฤกษศาสตร์
๖.๔ นิทรรศการ
๗. กาหนดวธิ ีการรายงานผล

องค์ประกอบท่ี ๕ การนาไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา

หลกั การ นาองคค์ วามรู้ ท่ีเป็นวิทยาการ เผยแพร่เพื่อใหเ้ กิดองค์ความร้ใู หม่

สาระการเรียนรู้
การบูรณาการสู่การเรียนการสอนในกล่มุ สาระ และสาขาวิชาต่างๆ การเผยแพรอ่ งคค์ วามรู้

การสร้าง การใช้ การดูแลรกั ษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ เพื่อการใช้ประโยชนอ์ งค์ความร้ใู นวงกว้าง

ลาดบั การเรยี นรู้
๑. การนาสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี นบูรณาการส่กู ารเรียนการสอน
๑.๑ การจัดทาหลกั สูตรและการเขียนแผนการสอน
๑.๒ การจัดเกบ็ ผลการเรียนรู้
๒. การเผยแพร่องคค์ วามรู้
๒.๑ การบรรยาย
๒.๑.๑ การสนทนา
๒.๒.๒ การเสวนา
๒.๒.๓ สัมมนา/อภปิ ราย
๒.๒ การจัดแสดง
๒.๒.๑ จัดแสดงนิทรรศการ
๒.๒.๒ นิทรรศการประกอบบรรยายสรปุ
๒.๒.๓ จดั นิทรรศการเฉพาะเรื่อง/ประเภท
๓. การจดั สร้างแหลง่ เรียนรู้
๓.๑ การจดั แสดงพพิ ิธภณั ฑ์
๓.๒ การจัดแสดงพิพธิ ภณั ฑ์เฉพาะเร่ือง
๓.๓ การจดั แสดงพิพธิ ภัณฑ์ธรรมชาติวิทยา
(หมายเหตุ : จัดสร้างแหลง่ เรียนรูต้ ามศกั ยภาพ)
๔. การใช้ การดูแลรกั ษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้

การเรียนรธู้ รรมชาติแหง่ ชีวติ

หลกั การ ร้กู ารเปลีย่ นแปลง รู้ความแตกตา่ ง รู้ชวี ิต
สาระการเรียนรู้

การเรยี นรู้วงจรชวี ิตของชีวภาพนัน้ ๆ ได้ข้อมลู การเปลี่ยนแปลงและความแตกตา่ งด้านรปู ลักษณ์
คุณสมบัติ และพฤติกรรม แล้วนามาเปรียบเทยี บตนเองกับชีวภาพรอบกายเพ่ือประยกุ ต์ใช้ในการดาเนิน
ชีวติ

ลาดับการเรยี นรู้
๑. สมั ผสั เรยี นรูว้ งจรชีวิตของชีวภาพ
๑.๑ ศึกษาด้านรปู ลักษณ์ ได้ข้อมลู การเปลี่ยนแปลงและความแตกตา่ งด้าน
รปู ลกั ษณ์
๑.๒ ศกึ ษาด้านคณุ สมบตั ิ ได้ขอ้ มลู การเปลย่ี นแปลงและความแตกต่างดา้ น
คุณสมบตั ิ
๑.๓ ศึกษาด้านพฤตกิ รรม ไดข้ ้อมูลการเปลีย่ นแปลงและความแตกตา่ งด้าน
พฤติกรรม
๒. เปรยี บเทียบการเปล่ียนแปลงและความแตกตา่ ง
๒.๑ รูปลกั ษณก์ บั รูปกายตน
๒.๒ คณุ สมบตั กิ ับสมรรถภาพของตน
๒.๓ พฤติกรรมกับจติ อารมณ์และพฤติกรรมของตน
๓. สรุปองค์ความรู้ทไี่ ด้จากการศึกษาธรรมชาติแหง่ ชีวิต
๔. สรปุ แนวทางเพ่อื นาไปสกู่ ารประยุกต์ใช้ในการดาเนินชวี ติ

การเรียนรู้สรรพสิ่งล้วนพนั เกยี่ ว

หลกั การ รสู้ ัมพนั ธ์ รู้ผกู พัน รดู้ ุลยภาพ
สาระการเรียนรู้

การวิเคราะห์องคค์ วามรู้ธรรมชาตขิ องปัจจัยหลกั การเรยี นรธู้ รรมชาตขิ องปัจจยั ที่เขา้ มาเกยี่ วข้อง
การเรียนรธู้ รรมชาติของความพันเก่ียวระหวา่ งปัจจยั การวเิ คราะห์สัมพันธภาพระหว่างปจั จัย เพ่ือเข้าใจ
ดลุ ยภาพและความพนั เกย่ี วของสรรพส่ิง

ลาดับการเรยี นรู้
๑. รวบรวมองคค์ วามรทู้ ีไ่ ด้จากการเรียนร้ธู รรมชาติแหง่ ชีวติ
๒. เรยี นรู้ธรรมชาติของปัจจัยชวี ภาพอื่นทีเ่ ข้ามาเก่ียวขอ้ งกบั ปจั จยั หลัก
๒.๑ เรียนรู้ด้านรปู ลักษณ์ คณุ สมบตั ิ พฤตกิ รรม
๒.๒ สรปุ ผลการเรยี นรู้
๓. เรยี นรู้ธรรมชาติของปัจจัยกายภาพ (ดิน น้า แสง อากาศ)
๓.๑ เรยี นรู้ด้านรปู ลกั ษณ์ คุณสมบตั ิ
๓.๒ สรปุ ผลการเรียนรู้
๔. เรียนรู้ธรรมชาติของปัจจัยอนื่ ๆ (ปจั จัยประกอบ เช่น วัสดุอปุ กรณ์ อาคารสถานท่)ี
๕. เรยี นรู้ธรรมชาติของความพันเกย่ี วระหวา่ งปัจจยั
๕.๑ เรียนรู้ วิเคราะห์ให้เหน็ ความสัมพนั ธแ์ ละสมั พันธภาพ
๕.๒ เรียนรู้ วิเคราะหใ์ ห้เหน็ ความผูกพัน
๖. สรปุ ผลการเรยี นรู้ ดลุ ยภาพของความพันเก่ยี ว

การเรียนรู้ประโยชนแ์ ทแ้ กม่ หาชน

หลกั การ รศู้ ักยภาพ รู้จินตนาการ รปู้ ระโยชน์
สาระการเรียนรู้

เรยี นรู้ การวิเคราะหศ์ ักยภาพของปัจจัยศกึ ษา จินตนาการเห็นคณุ สรรคส์ ร้างวธิ กี าร เพื่อ
ประโยชน์แท้แก่มหาชน

ลาดับการเรียนรู้

๑. เรียนรู้การวิเคราะหศ์ กั ยภาพของปัจจยั ศกึ ษา
๑.๑ พจิ ารณาศกั ยภาพด้านรูปลกั ษณ์
๑.๒ วิเคราะห์ศกั ยภาพดา้ นคุณสมบตั ิ
๑.๓ จนิ ตนาการศักยภาพด้านพฤติกรรม

๒. เรียนรู้ จินตนาการเห็นคุณของศักยภาพ ของปจั จัยศึกษา
๒.๑ จนิ ตนาการจากการวิเคราะหศ์ ักยภาพ
๒.๒ เรียนร้สู รปุ คณุ ของศักยภาพ ทไ่ี ดจ้ ากจินตนาการ

๓. สรรคส์ รา้ งวิธกี าร
๓.๑ พจิ ารณาคณุ ท่ีเกิดจากจินตนาการ
๓.๒ สร้างแนวคดิ แนวทาง วิธีการ

๔. สรุปผลการเรียนรู้ ประโยชนแ์ ทแ้ ก่มหาชน

การเรียนรู้ผนั สู่วถิ ีใหม่ในฐานไทย บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

หลกั การ รู้ฐานไทย ร้พู ฒั นา บนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น
สาระการเรียนรู้

เรยี นรคู้ วามเป็นไทย วิถไี ทย ภมู ิปัญญาไทย ความเป็นชุมชน วถิ ชี ุมชน ภมู ปิ ัญญาชุมชน
ความเป็นโรงเรยี น วถิ ีโรงเรียน ภมู ปิ ญั ญาของโรงเรยี น วเิ คราะห์ศักยภาพบนฐานงานสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรยี น จนิ ตนาการจากศกั ยภาพทเี่ ลอื ก สรรคส์ ร้างสิง่ ใหม่ วถิ ีใหม่ โดยใช้ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
กากบั

ลาดับการเรยี นรู้
๑. เรยี นรู้ความเป็นไทย วถิ ไี ทย ภมู ปิ ญั ญาไทย
๒. เรยี นร้คู วามเปน็ ชุมชน วิถชี ุมชน ภูมปิ ญั ญาชุมชน โดยรอบโรงเรียน
๓. เรยี นรูค้ วามเป็นโรงเรียน วถิ ีโรงเรยี น ภมู ิปัญญาของโรงเรยี น
๔. วเิ คราะห์ฐานงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น ของโรงเรยี น
๕. วเิ คราะหศ์ ักยภาพบนฐานงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน
๖. จนิ ตนาการจากศักยภาพที่เลือก
๗. สรรค์สรา้ งสิ่งใหม่ วิถใี หม่ โดยใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง กากับ

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนมีทั้งหมดกี่องค์ประกอบ

องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้ องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน « หน้าที่แล้ว 12หน้าถัดไป »

สวนพฤกษศาสตร์มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

5 องค์ประกอบ.
องค์ประกอบที่ ๑ การจัดทำป้ายชื่อพรรณไม้.
องค์ประกอบที่ ๒ การรวบรวมพรรณไม้เข้าปลูกในโรงเรียน.
องค์ประกอบที่ ๓ การศึกษาข้อมูลด้านต่างๆ.
องค์ประกอบที่ ๔ การรายงานผลการเรียนรู้.
องค์ประกอบที่ ๕ การนำไปใช้ประโยชน์ทางการศึกษา.

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คืออะไร

งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ งานสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากรชีวภาพ และกายภาพ โดยมีการสัมผัส การเรียนรู้ การสร้างและปลูกฝังคุณธรรม การเสริมสร้างปัญญาและภูมิปัญญา วัตถุประสงค์ของการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เพื่อสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากร

ข้อใดเป็นปัจจัยหลักในงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน

สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน คือ ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่ในโรงเรียน ที่ใช้เพื่อการเรียนรู้โดยมีพืชเป็น ปัจจัยหลัก ชีวภาพอื่นเป็นปัจจัยรอง กายภาพเป็นปัจจัยเสริม และวัสดุอุปกรณ์เป็นปัจจัยประกอบ