4. ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ผู้เขียนได้แสดงความคิดเห็นในเรื่องราวที่บันทึกข้อมูล เรียกว่าอะไร

5 การแยกแยะหลักฐานทางประวัติศาสตร์

4. ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่ผู้เขียนได้แสดงความคิดเห็นในเรื่องราวที่บันทึกข้อมูล เรียกว่าอะไร

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  เรื่องราวที่จดบันทึกไว้เรียกว่า  ข้อมูล  เมื่อจะใช้ข้อมูลควรต้องดาเนินการ ดังนี้

  1. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็น  ข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์นั้นจะมีทั้งข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน  ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง  ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลจากหลักฐานต่าง ๆ ซึ่งอาจตรงกันบ้าง ไม่ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง  แต่ความคิดเห็น เป็นส่วนที่ผู้เขียน  ผู้บันทึก  หรือผู้แต่ง   ผู้ใช้หลักฐาน  คิดว่าข้อมูลที่ถูกต้องน่าจะเป็นอย่างไร

  2. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริงข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เรียกว่า ข้อเท็จจริง คำว่า ข้อเท็จจริง แยกออกเป็น ข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึงประกอบด้วย  ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความจริง เช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยา ครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2112) การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ( พ.ศ. 2310 ) ความจริง คือ ไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. 2112  และ พ.ศ. 2310 ส่วนข้อเท็จจริง  คือ  ข้อมูลที่เป็นคำอธิบายที่ปรากฏในหลักฐานทั้งหลายว่า  ทำไมไทยจึงเสียกรุงศรีอยุธยา  เช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม  ผู้น่าอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน  ทหารมีจำนวนน้อย  มีอาวุธล้าสมัยและมีจำนวนไม่พอเพียง ข้าศึกมีผู้นำที่เข้มแข็งและมีความสามารถสูง  มีทหารจำนวนมากกว่าและมีอาวุธดีกว่า คำอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง  ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง  ดังนั้นจึงเรียกคำอธิบายหรือเหตุผลว่า  ข้อเท็จจริง ดังนั้น  ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์  นักเรียนจึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐานหลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม  เพื่อจะได้สามารถแยกแยะว่าเรื่องใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็นข้อเท็จจริง  เรื่องนี้ยังเป็นประโยชน์ในการรับรู้  รับฟังข้อมูลหรือเรื่องราวทั้งหลายในชีวิตประจำวันว่าเรื่องใดควรเชื่อ  และเรื่องใดไม่ควรเชื่อ

ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์

ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

ขั้นการกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก

ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม

ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน

�����ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�� �繢������ʹյ����ѧ����ҡ���������й������繢������ ����֡�� �˵ء�ó����Դ����ʹյ����Ң����ػ�����������ԧ�ҡ����ش �Ѵ���������»����� ��
��� ����觵���ؤ���� (��ѡ�ҹ��͹����ѵ���ʵ�� ��ѡ�ҹ���»���ѵ���ʵ��)
�����觵���ѡɳС�úѹ�֡ (��ѡ�ҹ��� �����ѹ�֡������ѡɳ��ѡ�� �����ѡ�ҹ���ѹ�֡�� ����ѡɳ��ѡ��)
��� �觵��ਵ������ͧ �������Ǣ�ͧ (��ѡ�ҹ�����·ʹ�����ਵ�� ��ѡ�ҹ�����·ʹ ��ਵ��)
��� �觵���س�����Фس���ѵԢͧ��ѡ�ҹ
��� 1. ��ѡ�ҹ��鹵� (primary sources) ���¶֧ ��ѡ�ҹ���ѹ�֡��к͡�����¼������Ǣ�ͧ �µç �����������˵ء�ó��鹴��µ��ͧ
��� 2. ��ѡ�ҹ����ͧ (secondary sources) ���¶֧ ��úѹ�֡����ͧ��ǵ�ҧ � �ͧ������Ѻ��Һ �˵ء�ó�ҡ�Ӻ͡���Ңͧ�ؤ��˹���ա���˹�� ��������˹ѧ��ͷҧ����ѵ���ʵ�����ռ����¹��� ������� ��ѡ�ҹ��鹵�
����»���ѵ���ʵ����觵���ѡɳС�úѹ�֡����¡���� 2 ���������
��� 1. ��ѡ�ҹ����������ѡɳ��ѡ�� ���¶֧ ��ѡ�ҹ����繵��˹ѧ��� �� ��ѡ���Ҩ��֡ ����Ǵ�� �ӹҹ �������˵� �ѹ�֡�����ç�� ��ó���� �͡��÷ҧ�Ԫҡ�� ��ǻ���ѵ� ˹ѧ��;���� �Ե���� �ѹ�֡����������͡�������ɳ� ����͡����Ҫ��� ��ѡ�ҹ��������� �Ѻ�� ��鹰ҹ����Ӥѭ㹡���֡�һ���ѵ���ʵ����
��� 2. ��ѡ�ҹ���������������ѡɳ��ѡ�� ���� ��ѡ�ҹ�ҧ��ҳ��� ������������ ����ǡѺ �ç���ҧ����Ѳ����� ������������� 2 ���������
��� (1) ��ҳ�ѵ�� �� ��оط��ٻ ���ٻ �ѭ�ѡɳ�ҧ��ʹ� �������ͧ��дѺ ����ͧ��� ����ͧ��
��� (2) ��ҳʶҹ ���� ��觡�����ҧ �½��������������Դ�Ѻ��鹴Թ �� ��ᾧ���ͧ �����ͧ �ٹ�� �Ѵ ਴��� ����ҷ ��� ��й��

Ref : http://www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008