แผนการสอนวิทยาศาสตร์ ป.5 หลักสูตรใหม่ สสวท

แผนการจัดการเรยี นรู้

รายวชิ าวิทยาศาสตร์
ระดับชันประถมศึกษาปที 5

ภาคเรียนที 2

นางสาวจตุพร สวุ รรณประเสริฐ

ครผู สู้ อน

โรงเรียนวัดนราภริ มย์

สาํ นักงานเขตพนื ทีการศกึ ษานครปฐม เขต 2
สาํ นักงานการศึกษาขันพืนฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร

แผนการจดั การเรียนรู้ รายวิชาพนื้ ฐาน

วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

ตามมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ช้วี ดั (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2560)
กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551

คณะผู้เรยี บเรยี ง
กสุ มุ าลย์ ตลึงจติ ร
ฐาปกรณ์ คาหอมกุล

คณะบรรณาธกิ ารและผตู้ รวจ
ดร.อภิชาติ พยัคฆิน
วนั เฉลิม กลิ่นศรีสขุ
ปทิตตา ขาทัพ

สงวนลิขสิทธิต์ ามพระราชบัญญัติ

คานา

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และได้
กาหนดมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว้ ัดกลุม่ สาระการเรยี นรตู้ า่ งๆ เพื่อใหส้ ถานศึกษานาไปใช้เป็นกรอบทิศทาง
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา วางแผนจัดการเรียนการสอนและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความรู้ความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีกาหนดให้
พร้อมทั้งดาเนินการวัดประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพตามหลักการของหลักสูตร เพื่อให้เกิดผล
สาเรจ็ ตามเจตนารมณข์ องการปฏิรูปการศึกษาไทย ดังนั้น ข้ันตอนการนาหลักสูตรสถานศึกษาไปปฏิบัติจริงใน
ชั้นเรยี นของครูผ้สู อน จงึ จดั เป็นหัวใจสาคัญของการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียนใหบ้ รรลตุ ามเปา้ หมายของหลกั สูตร

บริษัท อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด จงึ ไดจ้ ดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เล่ม 2 เพ่ือให้ครูผู้สอนใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการเรียนรู้แก่ผู้เรียน โดยจัดทาเป็น
หนว่ ยการเรียนรู้อิงมาตรฐานและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการออกแบบย้อนกลับ (Backward
Design) ที่มุ่งเน้นกระบวนการคิดและการประกันคุณภาพผู้เรียน ช่วยให้ผู้ปกครองและหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง
กับการประเมินคุณภาพการศึกษา สามารถม่ันใจในผลการเรียนรู้และคุณภาพของผู้เรียนที่มีหลักฐาน
ตรวจสอบผลการเรียนรอู้ ยา่ งเป็นระบบ

คณะผู้จัดทาหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ได้ดาเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบท่ี
สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา (สวก.) กาหนดขน้ึ เพือ่ เปน็ เอกภาพเดยี วกันตามองคป์ ระกอบต่อไปน้ี

องคป์ ระกอบของหน่วยการเรียนร้อู ิงมาตรฐาน

หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เวลาเรยี น ช่วั โมง
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ชนั้

1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ัด

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

2.2 สาระการเรยี นร้ทู ้องถิน่ (ถา้ ม)ี

3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด
4. สมรรถนะสาคัญของผ้เู รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) )
)
6. การวัดและการประเมินผล
6.1 การประเมินช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
6.2 การประเมินก่อนเรียน
(ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ประจาหนว่ ยการเรียนรู้
6.3 การประเมินระหว่างการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
6.4 การประเมินหลงั เรียน
(ทาแบบทดสอบหลงั เรียน ประจาหน่วยการเรยี นรู้

7. กิจกรรมการเรยี นรู้

8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

องคป์ ระกอบของแผนการจดั การเรียนรู้

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ชน้ั ช่ัวโมง
เรอ่ื ง เวลาเรยี น

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชวี้ ัด

2. จุดประสงค์การเรยี นรู้

3. สาระการเรยี นรู้
3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง

3.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถิ่น (ถ้าม)ี

4. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด

5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์

6. กจิ กรรมการเรียนรู้

7. การวดั และประเมินผล
วิธีสอนและข้นั ตอนการจดั กิจกรรม

8. สอื่ /แหล่งการเรียนรู้

คานา (ต่อ)

ผู้สอนสามารถนาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ ไปเป็นคู่มือวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ประกอบการใช้หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เล่ม 1 ท่ีทางบริษัทจัดพิมพ์
จาหนา่ ย โดยออกแบบการเรยี นรู้ (Instructional Design) ตามหลกั การสาคัญ คือ

1 หลกั การจดั การเรียนรู้องิ มาตรฐาน

หนว่ ยการเรยี นรู้แตล่ ะหนว่ ย จะกาหนดมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชวี้ ดั * ไวเ้ ป็นเป้าหมายในการจัดการ
เรียนการสอน ผสู้ อนจะต้องศกึ ษาและวเิ คราะหร์ ายละเอียดของมาตรฐานตัวช้ีวัดทุกข้อว่า ระบุให้ผู้เรียนต้องมี
ความรคู้ วามเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องอะไร และต้องสามารถลงมือปฏิบัติอะไรได้บ้าง และผลการเรียนรู้ท่ีเกิดข้ึนกับ
ผู้เรียนตามมาตรฐานตัวช้ีวัดน้ีจะนาไปสู่การเสริมสร้างสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านใด
แก่ผู้เรียน

มาตรฐานการเรียนร้/ู ตวั ช้วี ดั ผ้เู รยี นร้อู ะไร

นาไปสู่ ผ้เู รยี นทาอะไรได้

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์

2 หลกั การจัดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ผ้เู รียนเป็นสาคัญ

เม่ือผู้สอนวิเคราะห์รายละเอียดของมาตรฐานตัวชี้วัดและได้กาหนดเป้าหมายการจัดการเรียนการสอน
เรียบรอ้ ยแลว้ จึงกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้และแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติ
ตามขั้นตอนของกิจกรรมการเรยี นร้ทู ีอ่ อกแบบไวจ้ นบรรลุตวั ช้วี ัดทกุ ข้อ

มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชว้ี ดั เป้าหมาย หลักการจดั การเรยี นรู้
การเรียนรู้
สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน และการพัฒนา เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ
คุณภาพ สนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล
คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ของผ้เู รยี น เนน้ พัฒนาการทางสมอง
ของผู้เรียน กระตุ้นการคดิ
เนน้ ความรคู้ คู่ ณุ ธรรม

3 หลักการบรู ณาการกระบวนการเรียนรูส้ ่มู าตรฐานตัวชวี้ ัด

เม่ือผู้สอนกาหนดขอบข่ายสาระการเรียนรู้ และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไว้แล้ว จึง
กาหนดรูปแบบการเรียนการสอนและกระบวนการเรียนรู้ ที่จะฝึกฝนผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้บรรลุผลตาม
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด โดยเลือกใช้กระบวนการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีเป็น
เป้าหมายในหน่วยน้นั ๆ เชน่ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการเรียนรู้
ด้วยตนเอง กระบวนการเผชิญสถานการณ์และการแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง
กระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคร าะห์อย่างมีวิจารณญาณ
กระบวนการทางสังคม ฯลฯ กระบวนการเรียนรู้ท่ีมอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติน้ันจะต้องนาไปสู่การ
เสรมิ สร้างสมรรถนะสาคัญ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนตามสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในแต่ละ
หน่วยการเรียนรู้

4 หลักการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน

การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน และกิจกรรมการเรยี นรู้ในแต่ละหน่วย ผู้สอนต้องกาหนดข้ันตอนและ
วิธีปฏิบัติให้ชดั เจน โดยเนน้ ให้ผ้เู รียนได้ลงมอื ฝกึ ฝนและฝกึ ปฏิบัติมากท่ีสุด ตามแนวคิดและวธิ กี ารสาคัญ คือ

1) การเรยี นรู้ เป็นกระบวนการทางสติปญั ญา ท่ผี เู้ รียนทุกคนต้องใช้สมองในการคิดและทาความเข้าใจ
ในสิ่งต่างๆ ร่วมกับการลงมือปฏิบัติ ทดลองค้นคว้า จนสามารถสรุปเป็นความรู้ได้ด้วยตนเอง และ
สามารถนาเสนอผลงาน แสดงองค์ความรู้ทีเ่ กดิ ขึ้นในแตล่ ะหน่วยการเรียนรูไ้ ด้

2) การสอน เป็นการเลือกวิธีการหรือกิจกรรมท่ีเหมาะสมกับการเรียนรู้ในหน่วยนั้นๆ และที่สาคัญคือ
ต้องเป็นวิธีการท่ีสอดคล้องกับสภาพผู้เรียน ผู้สอนจึงต้องเลือกใช้วิธีการสอน เทคนิคการสอน และ
รูปแบบการสอนอย่างหลากหลาย เพ่ือช่วยให้ผู้เรียนปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างราบรื่นจน
บรรลุตวั ช้วี ัดทกุ ขอ้

3) รูปแบบการสอน ควรเป็นวิธีการและข้ันตอนฝึกปฏิบัติที่ส่งเสริมหรือกระตุ้นให้ผู้เรียนสามารถคิด
อย่างเป็นระบบ เช่น รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) รูปแบบการสอนโดยใช้การคิด
แบบโยนิโสมนสิการ รูปแบบการสอนแบบ CIPPA Model รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการ
เรยี นรแู้ บบ 4MAT รปู แบบการเรยี นการสอนแบบรว่ มมือ เทคนิค JIGSAW, STAD, TAI, TGT เป็นตน้

4) วิธีการสอน ควรเลือกใชว้ ธิ กี ารสอนทีส่ อดคล้องกบั เนื้อหาของบทเรียน ความถนัด ความสนใจ และ
สภาพปัญหาของผูเ้ รยี น วิธสี อนทดี่ ีจะช่วยใหผ้ ู้เรียนสามารถบรรลุผลการเรียนรู้ตามตัวชี้วัดในระดับ
ผลสัมฤทธ์ิที่สูง เช่น วิธีการสอนแบบบรรยาย การสาธิต การทดลอง การอภิปรายกลุ่มย่อย การ
แสดงบทบาท สมมติ การใช้กรณีตัวอย่าง การใช้สถานการณ์จาลอง การใช้ศูนย์การเรียน การใช้
บทเรียนแบบโปรแกรม เป็นต้น

5) เทคนิคการสอน ควรเลือกใช้เทคนิคการสอนท่ีสอดคล้องกับวิธีการสอน และช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจ
เน้ือหาในบทเรียนได้ง่ายข้ึน สามารถกระตุ้นความสนใจและจูงใจให้ผู้เรียนร่วมปฏิบัติกิจกรรมการ
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการใช้ผังกราฟิก (Graphic Organizers) เทคนิคการเล่า
นิทาน การเล่นเกมเทคนิคการใช้คาถาม การใช้ตัวอย่างกระตุ้นความคิด การใช้สื่อการเรียนรู้ที่
น่าสนใจ เป็นต้น

6) สือ่ การเรยี นการสอน ควรเลือกใช้สื่อหลากหลายกระตุ้นความสนใจ และทาความกระจ่างให้เนื้อหา
สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุตัวชี้วัดอย่าง
ราบรน่ื เช่น สื่อสงิ่ พมิ พ์ เอกสารประกอบการสอน แถบวีดิทัศน์ แผ่นสไลด์ คอมพิวเตอร์ VCD LCD
Visualizer เป็นตน้ ควรเตรยี มสอื่ ใหค้ รอบคลุมทั้งส่ือการสอนของครแู ละส่ือการเรียนรู้ของผ้เู รยี น

5 การจัดกจิ กรรมตามวฏั จักรการเรียนรแู้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5Es)

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เป็นขั้นตอนการเรียนรู้ที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสร้างองค์
ความรู้ด้วยตนเองผ่านกระบวนการคิดและการลงมือทา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเครื่องมือสาคัญเพ่ือการ
พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ซึ่งผู้จัดทาได้นามาใช้เป็นแนวทาง
ออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตล่ ะหนว่ ยตามลาดับข้ันตอนการเรียนรู้ ดังนี้

กระตุน้ ควำมสนใจ
(Engagement)

ZX

ตรวจสอบผล สำรวจและคน้ หำ
(Evaluation) (Exploration)

ZX ZX

ขยำยควำมเขำ้ ใจ อธบิ ำยควำมรู้

(Elaboration) (Explanation)

ZX ZX

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es)

ข้นั ท่ี 1 กระตุ้นความสนใจ (Engagement)

เป็นข้ันที่ผู้สอนนาเข้าสู่บทเรียน เพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียนด้วยเร่ืองราวหรือเหตุการณ์ที่

น่าสนใจโดยใช้เทคนิควิธีการสอนและคาถามทบทวนความรู้หรือประสบการณ์เดิมของผู้เรียน เพื่อ

เช่ือมโยงผู้เรียนเข้าสู่ความรู้ของบทเรียนใหม่ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสรุปประเด็นสาคัญท่ีเป็นหัวข้อ

และสาระการเรยี นรู้ของบทเรยี นได้ จงึ เป็นข้ันตอนการสอนที่สาคัญ เพราะเป็นการเตรียมความพร้อม
และสรา้ งแรงจูงใจใฝ่เรยี นร้แู กผ่ เู้ รียน
ขน้ั ที่ 2 สารวจและค้นหา (Exploration)

เป็นขั้นที่ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนลงมือศึกษา สังเกต หรือร่วมมือกันสารวจ เพ่ือให้เห็น
ขอบข่ายของปัญหา รวมถึงวิธีการศึกษาค้นคว้า การรวบรวมข้อมูลความรู้ท่ีจะนาไปสู่ความเข้าใจ
ประเด็นปัญหานั้นๆ เม่ือผู้เรียนทาความเข้าใจในประเด็นหัวข้อท่ีจะศึกษาค้นคว้าอย่างถ่องแท้แล้ว ก็
ลงมอื ปฏบิ ัติเพ่อื เก็บรวบรวมข้อมูลความรู้ สารวจตรวจสอบ โดยวิธีการต่างๆ เช่น สัมภาษณ์ ทดลอง
อา่ นค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร แหลง่ ขอ้ มูลตา่ งๆ จนไดข้ ้อมูลความรูต้ ามทตี่ ัง้ ประเดน็ ศึกษาไว้

ขน้ั ที่ 3 อธิบายความรู้ (Explanation)
เป็นขน้ั ท่ผี สู้ อนมปี ฏิสัมพันธ์กับผู้เรียน เช่น ให้การแนะนา ตั้งคาถามกระตุ้นให้คิด เพ่ือให้ผู้เรียน

คน้ หาคาตอบ และนาข้อมูลความรู้จากการศึกษาค้นคว้าในขั้นท่ี 2 มาวิเคราะห์ สรุปผล และนาเสนอ
ผลท่ีได้ศึกษาค้นคว้ามาในรูปแบบสารสนเทศต่างๆ เช่น เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน์ เขียน
ความ-เรียง เขียนรายงาน เป็นต้น ในข้ันตอนนี้ฝึกให้ผู้เรียนใช้สมองคิดวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่าง
เปน็ ระบบ

ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
เป็นขั้นท่ีผู้สอนเลือกใช้เทคนิควิธีการสอนต่างๆ ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนนาความรู้ที่เกิดขึ้นไปคิดค้น

สืบค้นต่อๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้และการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ระดมสมองเพ่ือคิด
สร้างสรรค์ร่วมกัน ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีสร้างขึ้นใหม่ไปเช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิมโดยนา
ข้อสรุปที่ได้ไปใช้อธิบายเหตุการณ์ต่างๆ หรือนาไปปฏิบัติในสถานการณ์ใหม่ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับ
ชีวิตประจาวันของตนเอง เพื่อขยายความรู้ความเข้าใจให้กว้างขวางย่ิงข้ึน ในข้ันตอนน้ีฝึกสมองของ
ผเู้ รียนใหส้ ามารถคิดรเิ ริ่มสรา้ งสรรคอ์ ย่างมคี ุณภาพ เสรมิ สรา้ งวิสยั ทศั นใ์ หก้ วา้ งไกลออกไป

ขัน้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
เป็นขั้นทผ่ี ู้สอนประเมนิ มโนทัศน์ของผูเ้ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดท่ีเปล่ียนไปและความคิด

รวบยอดที่เกิดขึ้นใหม่ ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแก้ปัญหา การตอบคาถามรวบยอด
และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอ่ืน เพื่อการสร้างสรรค์ความรู้ร่วมกัน ผู้เรียน
สามารถประเมินผลการเรียนรู้ของตนเอง เพื่อสรุปผลว่ามีความรู้อะไรเพ่ิมข้ึนมาบ้าง เกิดความเข้าใจ
มากนอ้ ยเพียงใด และจะนาความร้เู หลา่ น้นั ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้เรื่องอ่ืนๆ ได้อย่างไร ผู้เรียนจะเกิด
เจตคตแิ ละเห็นคุณค่าของตนเองจากผลการเรียนรู้ท่เี กิดขึน้ ซ่ึงเปน็ การเรียนรู้ทมี่ คี วามสุขอยา่ งแท้จริง
การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) จึงเป็นรูปแบบการเรียน
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างแท้จริง เพราะส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนของ
กระบวนการสร้างความรู้ด้วยตนเอง และฝึกฝนให้ใช้กระบวนการคิดและกระบวนการกลุ่มอย่างชานาญ
ก่อให้เกิดทักษะชีวิต ทักษะการทางาน และทักษะการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ จึงส่งผลทาให้ผู้เรียนสามารถ

บรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนที่
หลักสตู รกาหนดไว้ต่อไป

6 หลกั การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบยอ้ นกลบั ตรวจสอบ

เมอื่ ผ้สู อนวางแผนออกแบบการจัดการเรียนรู้ รวมถึงกาหนดรูปแบบการเรียนการสอนไว้เรียบร้อยแล้ว
จึงนาเทคนิควิธีการสอน วิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และส่ือการเรียนรู้ไปลงมือจัดการเรียนการสอน ซึ่งจะนา
ผู้เรียนไปสู่การสร้างช้ินงานหรือภาระงาน เกิดทักษะกระบวนการและสมรรถนะสาคัญตามธรรมชาติวิชา
รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่เป็นเป้าหมายของหน่วยการ
เรียนรู้ ตามลาดับขนั้ ตอนการเรยี นรูท้ ่กี าหนดไว้ ดงั นี้

จากเปา้ หมายและหลักฐาน เปา้ หมายการเรียนร้ขู องหน่วย
คดิ ย้อนกลบั สู่จดุ เริ่มต้น
ของกิจกรรมการเรียนรู้ หลักฐานชนิ้ งาน/ภาระงาน
แสดงผลการเรียนรู้ของหน่วย
4 กจิ กรรม คาถามชวนคดิ

3 กิจกรรม คาถามชวนคิด จากกิจกรรมการเรียนรู้

2 กิจกรรม คาถามชวนคิด ทลี ะขั้นบันไดส่หู ลกั ฐาน

1 กจิ กรรม คาถามชวนคิด และเป้าหมายการเรียนรู้

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากจะเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงแล้ว จะต้อง
ฝึกฝนกระบวนการคิดทุกข้ันตอน โดยใช้เทคนิคการต้ังคาถามกระตุ้นความคิด และใช้ระดับคาถามให้สัมพันธ์
กับเน้ือหาการเรียนรู้ต้ังแต่ระดับความรู้ ความจา ความเข้าใจ การนาไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และ
การประเมินค่า นอกจากจะช่วยให้ผ้เู รยี นเกดิ ความเข้าใจบทเรียนอยา่ งลกึ ซง้ึ แลว้ ยงั เป็นการเตรียมความพร้อม
เพื่อสอบ O-NET ซึง่ เป็นการทดสอบระดับชาติที่เน้นกระบวนการคิดระดับวิเคราะห์ สังเคราะห์ด้วยและในแต่
ละแผนการเรียนรู้จึงมีการระบุคาถามเพ่ือกระตุ้นความคิดของผู้เรียนไว้ด้วยทุกกิจกรรม ผู้เรียนจะได้ฝึกฝน
วิธีการทาขอ้ สอบ O-NET ควบคูไ่ ปกบั การปฏบิ ตั กิ ิจกรรมการเรียนรู้ตามตวั ช้ีวัดทส่ี าคญั

การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละหน่วยจะครอบคลุมกิจกรรมการเรียนรู้ และการ
ประเมินผลด้านความรู้ความเข้าใจ (K) ด้านทักษะกระบวนการ (P) และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

ตามหลักสูตรแกนกลางฯ 2551 และหลักสูตรอนาคต สสวท. พร้อมทั้งออกแบบเคร่ืองมือการวัดและ

ประเมนิ ผล รวมทง้ั แบบบนั ทกึ ผลการเรยี นรู้ด้านต่างๆ ไว้ครบถ้วน สอดคล้องกับมาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
เช่น แบบบันทึกผลด้านการคิดวิเคราะห์ ด้านการอ่านและแสวงหาความรู้ ด้านสมรรถนะและคุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ตามหลักสูตร เป็นต้น ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ประกอบการ
จัดทารายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Reports) จึงมั่นใจอย่างย่ิงว่า การนาแผนการจัดการ
เรียนรู้ฉบับปรับปรุงใหม่ไปเป็นแนวทางจัดการเรียนการสอนตามแผนการสอนที่จัดทาเป็นรายคาบไว้อย่าง

ละเอียด จะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนให้สูงข้ึนตามมาตรฐานการศึกษาและการประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศึกษาทุกประการ

สารบญัคณะผู้จดั ทา

คณะผู้จัดทา

 การพัฒนาศกั ยภาพการคดิ ของผู้เรียน หน้า
 คาอธิบายรายวิชา
 โครงสร้างรายวชิ าพ้นื ฐาน พเิ ศษ 1-19
 โครงสร้างแผนการจดั การเรยี นรู้ พเิ ศษ 20-21
พเิ ศษ 22-28
พิเศษ 29-33

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 การเปลี่ยนแปลง 1
บทที่ 1
บทที่ 2 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ 21-56
บทที่ 3
การเปล่ียนแปลงทางเคมี 57-69
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 6
บทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงที่ผนั กลบั ไดแ้ ละผันกลับไมไ่ ด้ของสาร 70-82
บทที่ 2
แหล่งนา้ และลมฟา้ อากาศ 83
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 7
บทท่ี 1 แหลง่ นา้ เพ่ือชวี ิต 101-116

ปรากฏการณล์ มฟา้ อากาศ 117-167

ดาวบนท้องฟ้า 168

ท้องฟ้าและกลมุ่ ดาวฤกษ์ 182-221

การพฒั นาศกั ยภาพการคิดของผเู้ รียน

โดย เอกรนิ ทร์ สี่มหาศาล

1 การคดิ และกระบวนการคดิ

การคดิ เปน็ พฤตกิ รรมการทางานทางสมองของมนษุ ย์ในการเรียบเรียงข้อมูลความรู้และความรู้สึกนึกคิด
ที่เกิดจากกระบวนการเรียนรผู้ ่านการดู การอา่ น การฟัง การสังเกต การสมั ผัส และการดึงข้อมูลความรู้ที่บรรจุ
อยู่ในสมองเดิมตามประสบการณก์ ารเรียนรทู้ ่ีถกู ส่ังสมมา

ทักษะการคิดจึงเป็นพฤตกิ รรมที่มนษุ ยแ์ สดงการกระทาออกมาได้อย่างชัดเจนมองเห็นเป็นรูปธรรม เช่น
พฤติกรรมการสงั เกต แสดงออกดว้ ยการเพ่งดูอย่างพินิจพิเคราะห์ หรือพฤติกรรมการเปรียบเทียบ เป็นการนา
ลักษณะของสิ่งของตัง้ แตส่ องอย่างข้ึนไปมาเปรียบเทียบกัน เพอื่ แสดงให้เหน็ ถึงส่ิงเหมือนหรือสิ่งต่าง เป็นต้น

ดงั นัน้ การคิดจงึ เป็นพฤตกิ รรมซับซ้อนท่ีมลี กั ษณะแยกยอ่ ยแตกต่างกนั ไป เช่น การคิดวิเคราะห์ การคิด
สร้างสรรค์ การคิดไตร่ตรองโดยใช้วิจารณญาณ ซ่ึงล้วนเก่ียวข้องกับกระบวนการทางานของร่างกาย ประสาท
สมั ผสั ทั้ง 5 และการเช่ือมโยงระหว่างข้อมูลที่รับรู้เข้ามาใหม่กับข้อมูลเก่าท่ีถูกบรรจุอยู่ในคลังสมองของคนเรา
ตลอดเวลา

หากเปรียบเทียบการทางานของระบบคอมพิวเตอร์กับสมองมนุษย์หรืออาจเปรียบได้กับสมองคนกับ
สมองกลจะพบวา่ การทางานของสมองคน ประกอบด้วยความชาญฉลาด 3 ลกั ษณะ คอื

1. ความสามารถในการเรียนรู้และสืบค้น (Tactical Intelligence) ทั้งในรูปแบบการสังเกต การ
ค้นหา การซักถาม การทดลองปฏบิ ตั ิ เป็นต้น

2. ความสามารถในการแยกแยะคุณค่า (Emotional Intelligence) ทั้งในรูปแบบการตัดสิน การลงมติ
การแสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์ ด้วยอารมณ์ความรู้สึกที่เห็นด้วย หรือต่อต้าน หรือวางเฉย
เป็นตน้

3. ความสามารถในการประมวลเน้ือหาสาระ (Content Intelligence) จากเรื่องราวท่ีเรียนรู้ใหม่
ผสมผสานกับประสบการณ์เดิมที่ถูกจัดเก็บอยู่ในสมอง โดยผ่านกระบวนการกลั่นกรอง และ
สังเคราะห์เปน็ ความร้ใู หม่ ทีม่ ักประกอบไปด้วยความเข้าใจ เหตุผล และทัศนคติ ทั้งในเชิงบวกหรือ
เชิงลบ ซ่ึงความรู้สึกนึกคิดต่อเร่ืองราวต่างๆ น่ีเอง ท่ีสมองกลของคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้
เหมอื นสมองของมนษุ ย์

การฝกึ ฝนกระบวนการเรียนรแู้ กผ่ เู้ รยี นจึงตอ้ งกระตุ้นการทางานและเสริมสร้างความสามารถของสมอง
ทั้ง 3 ด้านท่ีกล่าวมา จึงจะบังเกิดผลการเรียนรู้ท่ีสมบูรณ์ คือ บังเกิดความรู้ความเข้าใจท่ีมีความชัดเจนย่ิงข้ึน
บังเกิดความชานาญในทักษะและการปฏิบตั ิไดค้ ล่องแคล่วขึน้ และทส่ี าคญั บงั เกิดค่านิยมคุณธรรมท่ีงอกงามข้ึน
ในจิตใจของผูเ้ รยี น

พิเศษ 1

1

2 การสร้างศักยภาพในการคดิ ของสมอง

การจัดการเรียนการสอนตามจุดหมายของการปฏิรูปการเรียนรู้ทศวรรษที่ 2 และเป้าหมายการเรียนรู้ของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 มีจุดมุ่งหมายสาคัญ คือ การฝึกฝนให้ผู้เรียนมีความสามารถใน
การคดิ และการเรียนรู้ ผู้สอนต้องจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ใหส้ ัมพนั ธก์ บั กระบวนการทางานทางสมองของผู้เรียน (Brain-
Based Learning : BBL) โดยฝึกฝนพฤติกรรมการคิดระดับต่างๆ ตามลาดับทักษะกระบวนการคิดที่เป็นแกนสาคัญ
(Core Thinking Processes) ดงั น้ี

1. การสงั เกตลักษณะของสิ่งต่างๆ
2. การสังเกตและระบุความเหมือน
3. การสงั เกตและจาแนกความแตกตา่ ง
4. การจดั หมวดหมู่สิง่ ของหรอื ตัวอยา่ งท่ีเข้าพวก
5. การระบสุ ิ่งของและจาแนกตวั อยา่ งทไี่ ม่เขา้ พวก
6. การเปรียบเทียบและระบขุ ้อมลู ความรไู้ ดถ้ ูกตอ้ ง
7. การคน้ หาสง่ิ ของทมี่ ีลกั ษณะหมวดหมู่เดยี วกัน
8. การรวบรวมและจดั ลาดับส่ิงของตามขนาด
9. การรวบรวมและจัดลาดับเหตกุ ารณ์ตามกาลเวลา
10. การยกตวั อย่างและการกลา่ วอ้าง
11. การสรุปความหมายจากสงิ่ ทอี่ ่านหรือฟงั
12. การสรปุ ความหมายจากสิง่ ทส่ี ังเกตและพบเหน็
13. การวิเคราะหเ์ ช่อื มโยงความสัมพันธ์
14. การวิเคราะหร์ ูปแบบและจดั ลาดบั ความสาคัญ
15. การวเิ คราะห์ข้อมลู และสรา้ งความรู้ความคดิ
16. การนาเสนอข้อมูลความรู้ความคดิ เป็นระบบ
17. การแยกแยะข้อเทจ็ จรงิ และรายละเอียดท่เี ป็นความคิดเห็น
18. การนยิ ามและการสรปุ ความ
19. การคน้ หาความเชอ่ื พน้ื ฐานและการอ้างอิง
20. การแยกแยะรายละเอยี ดท่ีเชื่อมโยงสมั พนั ธ์กนั และการใช้เหตุผล
21. การคดิ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ความร้จู ากเร่ืองที่อา่ นอย่างมีวิจารณญาณ
22. การต้งั สมมตฐิ านและการตัดสินใจ
23. การทดสอบสมมติฐาน อธิบายสาเหตุและผลทีเ่ กิดขึ้น
24. การพนิ ิจพิเคราะห์ ทาความกระจา่ ง และเสนอความคดิ ท่แี ตกตา่ ง
25. การคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์ การจดั ระบบและโครงสรา้ ง
26. การออกแบบสรา้ งสรรค์และการประยกุ ต์ดดั แปลง
รปู แบบการคดิ ท้งั 26 ประเภทน้ี ผู้สอนสามารถนามาสร้างเป็นจุดประสงค์การเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน
มอบหมายให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติและแสดงพฤติกรรมการคิดตามลาดับเน้ือหาการเรียนรู้ เหมาะสมกับวัยและจิตวิทยาการ
เรยี นรู้ ตั้งแต่ระดบั ช่วงชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 1-3 ประถมศึกษาปีที่ 4-6 และระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 ซ่ึงจะสะท้อนออกมา

พิเศษ 2

1

ไดอ้ ยา่ งชดั เจนวา่ ผู้เรยี นมคี วามสามารถคดิ คลอ่ ง คดิ ละเอยี ด คิดกว้าง คิดลกึ ซ้ึง คิดหลากหลาย และคิดสร้างสรรค์แตกต่าง
กนั ไปตามคุณลกั ษณะและภูมิหลงั ประสบการณ์การเรียนร้ทู สี่ งั่ สมอยู่ในสมองเดิมของผู้เรียนแต่ละคน

3 การพฒั นากระบวนการคิด

การคิดเป็น คิดคล่อง คิดได้ชัดเจน จนสามารถคิดเป็น ปฏิบัติเป็น และแก้ปัญหาได้ จะมีลักษณะเป็น
กระบวนการการพฒั นาการคดิ แกผ่ ูเ้ รยี น จงึ เป็นการสอนกระบวนการและฝึกฝนวิธีการอย่างหลากหลายที่เป็น
ปัจจยั ส่งเสรมิ เก้อื กูลกนั คอื

1. การสร้างความพรอ้ มดา้ นรา่ งกาย นับต้ังแต่การรบั ประทานอาหาร ดม่ื น้า การหายใจ การผ่อนคลาย
การฟังเสียงดนตรีหรอื ฟงั เพลง การบรหิ ารสมองด้วยการบรหิ ารร่างกายอย่างถูกวธิ ี

2. การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอื้ออานวยต่อการคิด การเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการ
เรยี นรแู้ ละพัฒนาตนเอง

3. การจดั กิจกรรมและการสร้างเนอื้ หาการเรียนรู้ที่เหมาะสมต่อการฝึกฝนวิธีการคิดรูปแบบต่างๆ โดย
ใช้การเรียนรกู้ ระตุ้นผา่ นการสอนและการฝึกทักษะการคิด

4. การจัดกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้เพ่ือส่งเสริมการคิดตามทฤษฎีต่างๆ ที่ผ่านการวิจัยและ
พัฒนามาแล้ว เช่น ทฤษฎีพหุปัญญา ทฤษฎีการสร้างความรู้ หลักเสริมสร้างความเป็นพหูสูตและ
หลักโยนิโสมนสิการของพุทธศาสนา การจัดกิจกรรมบูรณาการการสอนกับการฝึกทักษะการคิดใน
กล่มุ สาระตา่ งๆ และการเรยี นรู้ผ่านการทาโครงงาน เป็นตน้

5. การใชเ้ ทคนคิ วิธีการท่สี ง่ เสรมิ พัฒนาการคิดของผู้เรยี น สอดแทรกในบทเรียนต่างๆ เช่น เทคนิคการ
ใช้คาถาม การอภิปรายโดยใชเ้ ทคนิคหมวก 6 ใบ การทาผงั กราฟิก แผนภมู คิ วามรู้ ผังมโนทัศน์ และ
การใช้กิจกรรมบริหารสมอง (brain gym) เป็นตน้ ซง่ึ มผี พู้ ฒั นาเทคนคิ วิธีการเหล่านี้และได้รับความ
นิยมอยา่ งแพร่หลายในสถานศกึ ษาต่างๆ

หมายเหตุ : การสร้างศักยภาพการคิดผ่านการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการคิดให้แก่ผู้เรียนเป็น
หัวใจสาคัญอย่างย่ิงของการปฏิรูปการศึกษา และยังใช้เกณฑ์ประเมินวิทยฐานะครู รวมทั้งมาตรฐานการ
ปฏิบตั งิ านของวิชาชพี ครู โปรดศึกษาวิธีการออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด จากคู่มือครูและ
แผนการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และทุกรายวิชา ท่ีจัดพิมพ์เผยแพร่โดย
บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากัด และศกึ ษาคน้ ควา้ จาก www.aksorn.com ได้ตลอดเวลา

พิเศษ 3

1

จดุ เน้นการพฒั นาทกั ษะการคิดของผเู้ รียน

ตามนโยบายปฏริ ูปการศกึ ษาในทศวรรษท่สี อง (พ.ศ. 2552-2561)

ม.4-6 ทักษะการคิดแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรค์

ม.3 ทักษะกระบวนการคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ
ทกั ษะกระบวนการคดิ สรา้ งสรรค์

ม.2 ทักษะการสงั เคราะห์ ทักษะการประยกุ ต์ใช้

ความทรู้ กั ษะการคิด ม.1 ทกั ษะการคิดวิเคราะห์ ทกั ษะการประเมนิ
ขนั้ สงู ทกั ษะการสรุปลงความเหน็

ทกั ษะการคิด ป.6 ทกั ษะการสรุปอ้างอิง ทกั ษะการนาความรไู้ ปใช้
ขนั้ พืน้ ฐาน ป.5 ทกั ษะการแปลความ ทักษะการตีความ

ป.4 ทักษะการตงั้ คาถาม ทักษะการใหเ้ หตุผล

ป.3 ทักษะการรวบรวมข้อมลู ทักษะการเชื่อมโยง

ป.2 ทกั ษะการเปรยี บเทยี บ ทักษะการจาแนกประเภท

ป.1 ทักษะการสังเกต ทักษะการจัดกลุ่ม

ที่มา : สานกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนาจุดเนน้ การพัฒนาผเู้ รียนสกู่ ารปฏบิ ัต.ิ
กรงุ เทพมหานคร : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

พิเศษ 4

1

ทกั ษะการคิดท่ีนามาใช้ในการพฒั นาผเู้ รียนในแต่ละระดบั ชนั้

กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์

ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจค้นหา ทักษะการเปรียบเทียบ ทกั ษะการระบุ ทักษะการ

จาแนก ทักษะการต้งั สมมตฐิ าน ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน ทกั ษะการเชือ่ มโยง ทักษะการให้

ป.6 เหตุผล ทักษะการสรุปอา้ งอิง ทกั ษะการนาความรู้ไปใช้ ทกั ษะการสรา้ งความรู้ ทักษะการ

วิเคราะห์ ทกั ษะการสรุปลงความเห็น ทกั ษะการประยกุ ต์ใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการคิด

แก้ปัญหา ทกั ษะกระบวนการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ

ทกั ษะการสังเกต ทักษะการสารวจ ทกั ษะการสารวจค้นหา ทักษะการเปรยี บเทียบ ทกั ษะการ

ป.5 ระบุ ทักษะการจาแนก ทักษะการต้ังสมมตฐิ าน ทกั ษะการทดสอบสมมตฐิ าน ทักษะการ
เชอ่ื มโยง ทักษะการใหเ้ หตุผล ทักษะการสรปุ อ้างอิง ทักษะการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ทกั ษะ

การสรา้ งความรู้ ทักษะการวเิ คราะห์ ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ

ทกั ษะการสงั เกต ทักษะการสารวจ ทักษะการสารวจคน้ หา ทักษะการระบุ ทกั ษะการให้เหตุผล

ป.4 ทกั ษะการตั้งสมมตฐิ าน ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน ทกั ษะการสรา้ งความรู้ ทักษะการสรุป
อา้ งองิ ทกั ษะการจาแนก ทักษะการเชือ่ มโยง ทักษะการนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ทักษะการ

ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้

ทักษะการสงั เกต ทักษะการสารวจ ทกั ษะการสารวจค้นหา ทกั ษะการระบุ ทกั ษะการให้เหตุผล

ป.3 ทักษะการต้ังสมมตฐิ าน ทักษะการทดสอบสมมตฐิ าน ทกั ษะการจาแนก ทักษะการเชือ่ มโยง
ทักษะการสรุปอ้างองิ ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะการนาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ทกั ษะการ

ประยุกต์ใช้ความรู้ ทกั ษะการเปรียบเทยี บ ทักษะกระบวนการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ

ทกั ษะการสงั เกต ทักษะการสารวจ ทกั ษะการสารวจคน้ หา ทกั ษะการระบุ ทักษะการให้เหตผุ ล

ป.2 ทกั ษะการสรุปอ้างองิ ทักษะการจดั กลมุ่ ทักษะการจาแนก ทกั ษะการเปรยี บเทียบ ทักษะการ

เชื่อมโยง ทกั ษะการนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ป.1 ทักษะการสังเกต ทักษะการสารวจ ทักษะการเปรยี บเทียบ ทักษะการระบุ ทกั ษะการจดั ระเบยี บ
ทักษะการให้เหตุผล ทกั ษะการสรุปอ้างอิง ทกั ษะการจาแนก ทักษะการนาความรู้ไปใช้ ฯลฯ

ท่ีมา : สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน. 2553. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนา
ทักษะการคิดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์ ระดับประถมศกึ ษา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.

พิเศษ 5

1

จดุ เน้นการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน

ตามนโยบายปฏิรูปการศกึ ษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561)

นโยบายปฏริ ปู การศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561)

วสิ ยั ทัศน์ คนไทยไดเ้ รยี นร้ตู ลอดชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ
เปา้ หมาย ภายในปี 2551 มกี ารปฏิรูปการศกึ ษาและการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

ประเด็นหลกั ของเปา้ หมายปฏริ ูปการศกึ ษา
1. พฒั นาคณุ ภาพ มาตรฐานการศึกษา และการเรียนรขู้ องคนไทย
2. เพ่ิมโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้อยา่ งท่วั ถงึ และมคี ุณภาพ
3. สง่ เสรมิ การมีส่วนร่วมของทกุ ภาคส่วนในการบริหารและการจัดการศึกษา

กรอบแนวทางในการปฏริ ปู การศึกษา และการเรยี นรอู้ ย่างเปน็ ระบบ
1. พฒั นาคุณภาพคนไทยยคุ ใหม่
2. พฒั นาคุณภาพครยู คุ ใหม่
3. พฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษาและแหลง่ เรยี นร้ใู หม่
4. พฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการใหม่

หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษา จุดเน้นการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน
ข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551  ดา้ นความสามารถ ทักษะ และคุณลกั ษณะของผ้เู รยี น
 เป้าหมายหลกั สูตร/คุณภาพผู้เรียน
 การจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนจะต้องประกันได้ว่าผู้เรียนทุกคนมคี วามสามารถ ทักษะ และคุณลกั ษณะ
 การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ของผูเ้ รยี นตามจดุ เน้น

นโยบายด้านการศกึ ษาของรัฐบาลมงุ่ เน้น แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น
ใหผ้ ้เู รียน  ด้านการจัดการเรียนรู้

 มีความสามารถในการรับรู้ 1. โรงเรยี นจะต้องจัดการเรียนรู้ใหผ้ ้เู รยี นมคี วามสามารถ ทกั ษะ และคณุ ลักษณะทเ่ี ป็น
 รกั ท่จี ะเรยี นรูใ้ นรปู แบบที่หลากหลาย จุดเน้น พร้อมท้งั ผลักดัน สง่ เสรมิ ให้ครูผสู้ อนออกแบบและจดั การเรยี นรู้ตามความ
 สนุกกบั การเรยี นรู้ ถนดั ความสนใจ เตม็ ศกั ยภาพของผเู้ รียน
 มีโอกาสได้เรยี นร้นู อกหอ้ งเรยี น
2. การจดั การเรียนรู้พงึ จดั ใหเ้ ชอ่ื มโยงกบั วถิ ีชีวติ เนน้ การปฏิบัติจรงิ ทงั้ ในและนอก
อยา่ งสรา้ งสรรค์ ห้องเรียน โดยจดั กิจกรรมนอกหอ้ งเรยี นไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 30 ของเวลาเรียน

3. ใชส้ อื่ เทคโนโลยีท่หี ลากหลาย เพอื่ ให้ผเู้ รยี นสนกุ กับการเรยี น และเพมิ่ พูนความรู้
ความเข้าใจ

4. แสวงหาความรว่ มมอื จากชุมชน จัดแหลง่ เรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ มาร่วมในการจัด
การเรยี นรู้

5. ผบู้ ริหารต้องเป็นผูน้ าทางวชิ าการ ตลอดจนกากบั ดูแล นเิ ทศการจดั การเรียนรู้
อยา่ งสมา่ เสมอ และนาผลการนเิ ทศมาปรบั ปรุง พัฒนาการเรยี นการสอนของครู

 ดา้ นการวัดและประเมินผล
ครทู กุ คนวัดผลและประเมินผลผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคลตามจดุ เนน้ ดว้ ยวิธกี ารและ

เครือ่ งมอื ท่ีหลากหลาย เน้นการประเมนิ สภาพจรงิ ใชผ้ ลการประเมนิ พัฒนาผูเ้ รียนอยา่ ง
ต่อเนื่อง และรายงานคณุ ภาพผู้เรียนตามจดุ เนน้ อยา่ งเป็นระบบ

ที่มา : สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. 2553. แนวทางการนาจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่การปฏิบัติ .
กรุงเทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

พิเศษ 6

1

การขับเคล่ือนหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง
(พ.ศ. 2552-2561) ให้ประสบผลสาเร็จตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยให้ทุกภาคส่วนร่วมกัน
ดาเนนิ การ กระทรวงศึกษาธิการได้กาหนดจดุ เนน้ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี น ดังนี้

ทกั ษะความสามารถ คณุ ลกั ษณะ

ม.4-6 แสวงหาความรู้ เพ่ือแก้ปัญหา จดุ เน้นตามช่วงวยั คณุ ลกั ษณะตามหลกั สตู ร
ใชเ้ ทคโนโลยี เพ่ือการเรยี นรู้  มุ่งมัน่ ในการศึกษา
 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์
ใชภ้ าษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) และการทางาน  ซ่ือสตั ยส์ ุจริต
 อยู่อย่างพอเพยี ง  มีวนิ ัย
มีทกั ษะการคิดขั้นสูง ทกั ษะชีวติ ทักษะการ  ใฝเ่ รยี นรู้
 ใฝ่เรียนรู้  อยู่อยา่ งพอเพยี ง
สอื่ สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ตามช่วงวยั  มุ่งมัน่ ในการทางาน
 ใฝ่ดี  รักความเป็นไทย
แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง  มีจติ สาธารณะ
ม.1-3 ใช้เทคโนโลยี เพอ่ื การเรยี นรู้
มที กั ษะการคิดข้ันสงู ทกั ษะชีวิต ทกั ษะการ
ส่อื สารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวยั

ป.4-6 อา่ นคล่อง เขียนคล่อง คดิ เลข
คลอ่ ง ทักษะการคิดข้ันพื้นฐาน

ทักษะชีวติ ทักษะการสือ่ สารอยา่ งสร้างสรรค์

ตามชว่ งวยั

ป.1-3 อ่านออก เขยี นได้ คดิ เลขเป็น
มีทกั ษะการคดิ ข้ันพื้นฐาน ทักษะ

ชีวิต ทกั ษะการส่ือสารอยา่ งสรา้ งสรรคต์ าม

ชว่ งวยั

ที่มา : สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนาจุดเนน้ การพัฒนาผู้เรยี นสู่การปฏบิ ัต.ิ
กรงุ เทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร.

พิเศษ 7

1

แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน

การดาเนินการตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในการขับเคล่ือนหลักสูตร และการปฏิรูป
การศึกษาในทศวรรษท่ีสอง (พ.ศ. 2552-2561) สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาน้ัน ครูเป็นบุคลากรสาคัญที่สุดใน
การดาเนินการในระดับห้องเรยี นในการจัดการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผล เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายตาม
จุดเนน้ การพฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ดงั แผนภมู ิ

แนวทางการปฏบิ ัตริ ะดับสถานศกึ ษา

  นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ เปา้ หมายการพัฒนาผเู้ รยี น
ทาความเขา้ ใจใหก้ ระจ่าง  แนวทางการพฒั นาผ้เู รียนตามจุดเนน้
 บทบาทหน้าท่ีของผู้เกยี่ วข้อง
 ตรวจสอบ ทบทวน  การจัดการเรียนรู้ทห่ี ลากหลายทง้ั ในและนอกหอ้ งเรียน

วเิ คราะหจ์ ดุ เดน่ จุดพฒั นา  คุณภาพผเู้ รียนในภาพรวมของสถานศึกษา
 คณุ ภาพผ้เู รยี นแยกเปน็ รายวิชาและระดบั ชนั้
 กาหนดเปา้ หมาย  จุดเด่น จุดพัฒนาของสถานศึกษา
การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี น  จุดเด่น จดุ พัฒนาของผ้เู รียน
ตามจดุ เน้น
 ปีการศึกษา 2553 ระยะที่ 1
 กาหนดภาระงาน  ปกี ารศึกษา 2554 ระยะที่ 2, 3
การพัฒนาคุณภาพ  ปกี ารศึกษา 2555 ระยะที่ 4, 5
ตามจุดเน้น
 ทบทวน ออกแบบหลักสูตรการเรียนรู้
 ดาเนินการ  ทบทวน ปรับโครงสร้างเวลาเรียน ตารางเรียน
พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น  ออกแบบการเรยี นรู้ท้งั ในและนอกห้องเรยี น
ตามจุดเนน้  การวัดผลและประเมนิ ผลตามหลักสตู รและจดุ เน้น

 ตรวจสอบ  ดาเนินการพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตรท่ีออกแบบ
 นิเทศ กากับ ติดตาม และประเมนิ ระหวา่ งการปฏิบตั ิงานตาม
ปรับปรุง พฒั นา แผน
 วัดผลและประเมินผลผเู้ รียนตามจุดเนน้
 สรปุ และรายงานผล
การพัฒนาผเู้ รยี น  ตรวจสอบ ปรับปรงุ พฒั นา
 นาผลการตรวจสอบ ปรบั ปรงุ ไปใชพ้ ัฒนา

 ผลการดาเนินงาน
 ความภาคภมู ใิ จ และความสาเร็จ
 ปัญหา อปุ สรรค และแนวทางแก้ไข

พิเศษ 8

1

แนวทางการปฏิบัติระดับสถานศึกษา

ขัน้ ที่ ประเด็นที่เกย่ี วข้อง วิธกี าร ผลที่ได้รบั

1. ทาความ 1. นโยบาย จุดเนน้ ยุทธศาสตร์ และ 1. ประชมุ ชี้แจง 1. ผ้ทู ่ีเกี่ยวข้องมีความตระหนกั
เขา้ ใจให้ เป้าหมายการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น 2. ประชาสมั พนั ธผ์ ่าน เหน็ ความสาคัญในบทบาท
กระจา่ ง ตามจุดเน้น ของตนเอง
สื่อตา่ งๆ ทง้ั ใน
2. ตรวจสอบ 2. แนวทางการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น ระดับสถานศึกษา 2. มีความเข้าใจในการนา
ทบทวน ตามจดุ เนน้ และชุมชน จุดเน้นการพฒั นาคณุ ภาพ
วิเคราะห์ ผ้เู รยี นไปสกู่ ารปฏิบตั ิ
จุดเดน่ จดุ 3. บทบาทหนา้ ทข่ี องผู้เก่ียวข้องทัง้ ใน
พัฒนา และนอกโรงเรยี น 3. มคี วามร่วมมอื ในระดบั
องค์กรและชมุ ชน
3. กาหนด 4. แนวทางการออกแบบหลักสตู รและ
เปา้ หมาย ตารางการเรยี นรทู้ เี่ หมาะสมกับการ 4. ครูมีความรู้ ความเข้าใจ
การพฒั นา พฒั นาคุณภาพผู้เรยี น ตามจดุ เนน้ ในการออกแบบหลกั สตู ร
คุณภาพ และปรบั ตารางเรยี น
ผเู้ รยี นตาม 1. คุณภาพผ้เู รยี นในภาพรวมของ 1. ตรวจสอบเอกสาร ให้เหมาะสมกับจดุ เนน้
จุดเน้น สถานศกึ ษาทัง้ จุดเด่นและจดุ พัฒนา ข้อมลู ต่างๆ
เช่น ผลการประเมิน ในระดับชาติ 5. มกี ารปรบั พฤตกิ รรมการ
สมศ. เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา โรงเรียน 2. วิเคราะห์ขอ้ มูลท่ี เรียนการสอนตามแนวทาง
ฯลฯ เก่ยี วข้อง ปฏิรูปการศกึ ษารอบสอง

2. ผลการเรยี นของผเู้ รยี นแยกเปน็ 3. ประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ 1. ข้อมลู สารสนเทศ
ระดบั ชน้ั และรายวชิ า ระดบั 4. ประชมุ สมั มนา 2. จุดเด่น จดุ พฒั นาดา้ น
สถานศกึ ษา เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษา ฯลฯ
1. ประชมุ วางแผน คณุ ภาพผู้เรยี น สถานศึกษา
1. ตัวช้วี ดั ภาพความสาเรจ็ ของ 2. จัดทาแผนพฒั นา และครผู สู้ อน
สถานศกึ ษา ระยะท่ี 1
ภาคเรยี นที่ 2/2553 คุณภาพ เป้าหมายสถานศึกษา และมี
แผนการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น
2. ตัวช้ีวัดภาพความสาเรจ็ ของ ตามจุดเน้นในแตล่ ะระยะที่
สถานศกึ ษา ระยะท่ี 2 สอดคล้องกับบริบท และ
ภาคเรยี นที่ 1/2554 ศักยภาพของสถานศกึ ษา/
ผเู้ รยี น
3. ตวั ช้ีวัดภาพความสาเร็จของ
สถานศึกษา ระยะท่ี 3
ภาคเรยี นที่ 2/2554

พิเศษ 9

1

ขนั้ ที่ ประเด็นทเี่ กีย่ วข้อง วธิ กี าร ผลทไ่ี ด้รับ

4. ตวั ชว้ี ดั ภาพความสาเรจ็ ของ

สถานศกึ ษา ระยะท่ี 4

ภาคเรยี นที่ 1/2555

5. ตัวชว้ี ดั ภาพความสาเรจ็ ของ
สถานศกึ ษา ระยะท่ี 5
ภาคเรยี นท่ี 2/2555

4. กาหนด 1. ทบทวนจุดแข็ง จดุ ออ่ นของ 1. ประชมุ ทบทวน 1. สถานศึกษามีหลกั สตู รการ

ภาระงาน องค์ประกอบ เช่น วิสัยทัศน์ หลักสตู รฯ และ เรียนรทู้ ส่ี ่งเสริมการพัฒนา

การพฒั นา โครงสร้างเวลาเรียน การจดั รายวชิ า/ ปรับปรุงหลกั สตู ร คุณภาพผู้เรยี นตามจุดเน้น

คุณภาพตาม กจิ กรรมเพิม่ เตมิ การจดั ตารางเรยี น 2. ประชมุ ปฏบิ ตั ิการ 2. ตารางเรียนใหม่

จุดเน้น ฯลฯ ปรบั โครงสรา้ ง 3. ครผู สู้ อนมวี ธิ กี ารจดั การ
2. ออกแบบหลกั สตู รการเรียนรู้ที่
เวลาเรียน และจัดทา เรียนร้ทู ่ีหลากหลายตาม

สอดคล้องกบั การพฒั นาคุณภาพ แผนการเรียนรู้ จดุ เนน้

ผู้เรยี นตามจุดเนน้ (พจิ ารณาได้จาก 3. สารวจ จดั หา พัฒนา 4. สือ่ แหล่งเรยี นรู้ท่ี

ตัวอยา่ ง 4 ลกั ษณะ) สอื่ และแหลง่ การ หลากหลาย

3. ปรับโครงสร้างเวลาเรยี น และตาราง เรียนรู้ 5. มีเครอ่ื งมอื วิธีการวัดผล

เรียนใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู รการ และประเมนิ ผลตามจดุ เน้น

เรยี นรทู้ ่ีออกแบบไว้

4. ออกแบบการจัดการเรยี นรู้ให้ส่งเสรมิ
การพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นตามจดุ เน้น
ทัง้ ในและนอกห้องเรียน

5. จดั หา จัดทาสือ่ แหลง่ เรยี นรู้ และภูมิ

ปัญญาท้องถน่ิ ท่ีเหมาะสมกับการ

จดั การเรยี นรู้

6. ออกแบบการวดั และประเมนิ ผล ที่

หลากหลายและเหมาะสมกับผูเ้ รยี น

โดยเนน้ การประเมินสภาพจริง

5. ดาเนนิ การ 1. จัดการเรียนรตู้ ามหลักสูตรและตาราง 1. ครจู ัดกิจกรรมการ 1. ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาตาม

พฒั นา เรียนท่อี อกแบบไว้ โดยเน้นการพฒั นา เรียนรอู้ ย่าง จดุ เนน้

คุณภาพ คุณภาพผเู้ รยี นตามจุดเน้น หลากหลาย ทั้งในและ 2. ครูมีรปู แบบและนวตั กรรม

ผเู้ รยี นตาม 2. วดั และประเมนิ ผลความก้าวหนา้ ของ นอกห้องเรียน การจัดการเรยี นรู้ที่นาไป

จดุ เน้น ผเู้ รยี นระหว่างเรยี น 2. ออกแบบการวดั และ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นได้ตาม

3. วัดและประเมินผลคณุ ภาพผูเ้ รยี นตาม ประเมนิ ผลที่ จุดเนน้

ตัวชี้วดั ของจุดเน้น สอดคลอ้ งกบั จดุ เน้น

พิเศษ 10

1

ขั้นท่ี ประเด็นท่ีเก่ยี วข้อง วธิ ีการ ผลทีไ่ ดร้ ับ

6. ตรวจสอบ 1. ตรวจสอบ ประเมนิ ผลการพัฒนา 1. ประชุมครเู พื่อ 1. หลกั สตู รและการจดั การ
ปรับปรงุ คณุ ภาพผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ ในขัน้ ที่ 5 ประเมนิ ผลการนา เรียนรไู้ ดร้ ับการพัฒนา
พฒั นา - การใช้หลกั สตู รการเรยี นร้ทู ี่ หลักสตู รไปใช้
สง่ เสริมการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน 2. กระบวนการบรหิ ารหลกั สตู ร
7. สรปุ และ ตามจุดเน้น 2. ผู้ท่ีเกยี่ วข้องประเมิน มีการขับเคลือ่ น
รายงานผล - การใชโ้ ครงสรา้ งเวลาเรียนและ ตนเอง
การพฒั นา ตารางเรียนตามรปู แบบของ 3. ผเู้ รยี นมกี ารพัฒนาตาม
ผเู้ รยี น หลักสตู รการเรยี นรู้ 3. ตรวจสอบแผนการ จดุ เน้น
- การจัดการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายทง้ั จดั การเรียนรู้
ในและนอกหอ้ งเรียน 1. มีผลการพฒั นาคณุ ภาพ
- การวดั และประเมินผลท่ีเน้นการ 1. ประชุมสมั มนา ผเู้ รยี นตามจดุ เนน้
พฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นตามจุดเน้น แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
2. มแี นวทางและนวตั กรรม
2. นาผลการตรวจสอบปรบั ปรุงจุดออ่ น 2. นาเสนอผลงาน การพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น
และพฒั นาจุดเดน่ คุณภาพผู้เรยี น ตามจุดเนน้
ตามจุดเน้น
1. สรุปผลการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น 3. มหี ลกั ฐานและรอ่ งรอยใน
ตามจดุ เนน้ ในด้านการดาเนนิ งาน ผล 3. จดั นิทรรศการ การพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
การดาเนนิ งาน ปัญหา อุปสรรค และ แสดงผลงานหรอื ตามจุดเน้น
ข้อเสนอแนะ ประชาสมั พันธ์ผลงาน
สู่สาธารณชน 4. มคี วามภาคภูมิใจใน
2. รายงานผลการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ความสาเร็จ
ตามจดุ เนน้ เม่ือสน้ิ สุดตามระยะท่ี 1- 4. สรปุ รายงานผล
5 เสนอผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ ง 5. ได้ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการ
พฒั นา
3. นาผลจากรายงานไปใช้ในการ
วางแผนและพฒั นา

ทีม่ า : สานักวชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนาจดุ เน้นการพัฒนาผูเ้ รยี นสู่การปฏิบตั .ิ
กรงุ เทพมหานคร : สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

พิเศษ 11

1

แนวทางการปฏบิ ตั ิระดบั ห้องเรยี น

 ตรวจสอบ  โครงสรา้ งรายวิชา ตารางเรียน
ทบทวนรายวชิ าและกจิ กรรม  หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดกจิ กรรม และโครงการ
ในความรับผิดชอบ  ส่อื และแหลง่ การเรียนรู้

 วเิ คราะหผ์ ู้เรียน  จดั ทาข้อมูลสารสนเทศระดบั ชนั้ เรียน
รายบคุ คล  จัดกลมุ่ การพฒั นาผเู้ รียนตามจุดเน้น

 กาหนดแนวทาง  รปู แบบกิจกรรมในและนอกหอ้ งเรยี น
การจดั การเรียนรู้  หน่วยการเรยี นรู้ กจิ กรรมโครงการ
ทสี่ อดคล้องกบั จุดเนน้  แผนการจัดการเรียนรู้

  จดั การเรียนร้ตู ามแนวทางท่ีออกแบบ
 วัดและประเมนิ ผลการพัฒนาผเู้ รยี น
ดาเนนิ การจัดการเรียนรู้  วจิ ยั และนวัตกรรมการเรียนรู้
 นิเทศ ตดิ ตาม และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้
 นาเสนอผล
 รายงานผลการพัฒนาผเู้ รียนรายบุคคล/กลุม่
การพฒั นาผเู้ รียน  รายงานผลการพฒั นาตามจุดเนน้
ตามจุดเนน้  รายงานการพฒั นาวจิ ัย/นวตั กรรมการเรยี นรู้
 รายงานภาพความสาเร็จ อปุ สรรค และปัญหา

พิเศษ 12

1

แนวทางการปฏบิ ตั ิระดบั หอ้ งเรยี น

ข้ันที่ ประเด็นท่เี กยี่ วข้อง วธิ ีการ ผลท่ีได้รบั

1. ตรวจสอบ 1. โครงสร้างรายวชิ า 1. ศึกษาเอกสาร ขอ้ มลู ต่างๆ 1. ได้จดุ เดน่ จดุ พฒั นาของ
ทบทวนรายวิชา โครงสร้างกจิ กรรมพัฒนา ที่เกีย่ วขอ้ งกับการพัฒนา รายวชิ าและกจิ กรรมใน
และกจิ กรรมใน ผูเ้ รยี น คณุ ภาพผเู้ รยี นตามจดุ เนน้ ความรับผดิ ชอบ
ความรับผิดชอบ
2. ตารางเรียนหนว่ ยการ 2. วเิ คราะหจ์ ุดเดน่ จดุ พฒั นา 2. ไดแ้ นวทางการปรับปรงุ /
2. วิเคราะหผ์ ้เู รยี น เรียนรู้ ทกุ ด้าน พัฒนารายวชิ าและกจิ กรรม
เป็นรายบคุ คล ให้สอดคล้องกบั แนวทางการ
3. แผนการจดั กิจกรรมพัฒนา 3. นาขอ้ มลู ของสถานศึกษา พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี นตาม
ผ้เู รยี นและแผนปฏบิ ัตกิ าร มาเปรยี บเทยี บกบั แนว จุดเน้นของ สพฐ. และ
โครงการต่างๆ ทางการพฒั นาคุณภาพ สถานศกึ ษา
ผเู้ รยี นตามจุดเนน้ ของ
4. ส่อื แหลง่ การเรียนรู้ และ สพฐ. 3. มขี อ้ มูลพนื้ ฐานในการ
ภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ กาหนดทิศทางการพฒั นา
4. ตรวจสอบความสอดคล้อง คณุ ภาพผู้เรยี นตามจดุ เน้น
5. คณุ ภาพผู้เรยี นทุกระดับทั้ง ของสอื่ แหลง่ การเรยี นรู้
ในภาพรวมและแยก สถานศึกษา 1. มขี ้อมลู พน้ื ฐานของผู้เรยี น
รายวชิ า เช่น NT, O-Net, ทป่ี รับปรงุ ใหมแ่ ละสิ่งทใี่ ช้ เปน็ รายบุคคล
สมศ., เขตพื้นท่ีการศกึ ษา อย่เู ดมิ
2. มีข้อมลู ทีเ่ ป็นจดุ เด่นจดุ
1. ข้อมลู ดา้ นสติปญั ญา 1. ศกึ ษา รวบรวมข้อมลู พัฒนาของผู้เรยี นรายบคุ คล
ทักษะความสามารถ และ รายบคุ คล โดยใชว้ ิธกี าร และ รายกลมุ่
คุณลักษณะ ดงั น้ี
- ตรวจสอบจากข้อมลู 3. มหี ลักฐาน รอ่ งรอยเพอื่
2. สขุ ภาพ รา่ งกาย เอกสารของสถานศกึ ษา นาไปสู่การพัฒนาผเู้ รียนเป็น
3. พ้ืนฐานครอบครัว และ Portfolio นักเรียน รายบคุ คล รายกลุ่มอยา่ ง
- สอบถาม เป็นรูปธรรม
เศรษฐกิจ - สัมภาษณ์
4. สงั คม เพื่อน และเก่ียวขอ้ ง - สังเกต ฯลฯ
5. ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น
6. ผลงานท่ีภาคภูมใิ จประสบ 2. วเิ คราะหจ์ ุดเด่น จุดดอ้ ย
ของผเู้ รยี นรายบคุ คล
ความสาเร็จ
7. ผลกระทบทเ่ี ป็นปัญหา 3. จดั กลุ่มผู้เรยี น โดยใหแ้ ต่
ละกลมุ่ มีความสอดคลอ้ ง
ใกลเ้ คยี งกนั ตามจดุ เนน้
ระดับชนั้

พิเศษ 13

1

ขัน้ ท่ี ประเดน็ ทเ่ี ก่ียวข้อง วธิ กี าร ผลท่ีได้รับ

3. กาหนดแนวทาง 1. หน่วยการเรยี นรู้ 1. ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1. มแี นวทางในการพัฒนาผูเ้ รยี น

การจัดการเรยี นรู้ 2. แผนการจดั การเรียนรู้ และการจดั กจิ กรรมท่ี เป็นรายบุคคลและรายกลมุ่

ท่สี อดคล้องกบั 3. แผนการจดั กจิ กรรมพฒั นา หลากหลายเหมาะสมกับ สอดคล้องตามจุดเนน้

จุดเนน้ ผเู้ รยี น จุดเนน้ การพฒั นาผเู้ รียน 2. มีรูปแบบการจัดการเรยี นรู้

4. แผนปฏิบัติการโครงการ และตารางเรยี นท่ีกาหนด ทีเ่ หมาะสมกับผเู้ รยี นตาม

และกจิ กรรมพิเศษต่างๆ 2. จัดทา จัดหาสือ่ แหลง่ การ จุดเนน้

5. สอ่ื แหล่งการเรยี นรู้ ภูมิ เรยี นรู้ ใหส้ อดคล้องกบั 3. มสี ื่อ แหลง่ การเรียนรู้

ปญั ญา กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี ทหี่ ลากหลายสอดคล้อง

6. การวัดและประเมนิ ผล ออกแบบ ตามจุดเนน้

3. ออกแบบเครือ่ งมือวัดผล 4. มีเครือ่ งมือวดั และประเมิน

และประเมินผลท่ี คณุ ภาพผ้เู รยี นตามจุดเน้น
หลากหลาย โดยเนน้ การ

ประเมนิ สภาพจริงใน

ระดับชนั้ เรยี น

4. ดาเนนิ การ 1. การจดั การเรยี นรตู้ าม 1. จัดการเรียนรู้ในหอ้ งเรยี น 1. ผเู้ รยี นมที กั ษะความสามารถ

จัดการเรียนรู้ จดุ เน้นทงั้ ในและนอก ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ และคณุ ลกั ษณะตามจดุ เน้น

ห้องเรยี น 2. จัดกจิ กรรมนอกหอ้ งเรยี นท่ี 2. ชุมชนมีส่วนรว่ มในการ

2. การประเมินความกา้ วหน้า ส่งเสริมจุดเน้นตามศกั ยภาพ จดั การเรยี นรู้
ของผูเ้ รยี น ผเู้ รยี น 3. มีการใชน้ วัตกรรมการเรยี นรู้

3. การประเมนิ คณุ ภาพผูเ้ รยี น 3. วดั และประเมนิ ตามจดุ เน้น

ตามจดุ เนน้ ความก้าวหน้าของผเู้ รยี น 4. ผเู้ รยี นได้แสดงออกตาม

4. การพัฒนานวัตกรรมการ และประเมินคุณภาพตาม ศักยภาพของตนเอง

เรียนรู้ จุดเน้น 5. มีการพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน

5. การวิจยั เพื่อพัฒนาคณุ ภาพ 4. พัฒนานวัตกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวจิ ยั

ผเู้ รยี นในระดบั ชัน้ เรยี น ทช่ี ว่ ยใหเ้ กดิ การพฒั นาเตม็ 6. มกี ารสรา้ งความร่วมมือ

6. การนิเทศ แลกเปลี่ยน ตามศกั ยภาพทัง้ รายบคุ คล ระหว่างครแู ละผ้ทู ีเ่ กี่ยวข้อง
เรียนรู้
และรายกลมุ่ 7. มกี ารนาหลักสตู รการเรยี นรู้

5. นาผลการประเมินไปใช้ ไปสู่การปฏิบตั ิ

พฒั นาและแกไ้ ขปญั หา

ผ้เู รยี นตามกระบวนการวิจัย

6. ครูผสู้ อนและผู้เกยี่ วขอ้ ง มี

การนิเทศแลกเปลยี่ นเรยี นรู้

โดยเน้นการสร้างความ
รว่ มมอื

พิเศษ 14

1

ขน้ั ที่ ประเดน็ ทีเ่ กย่ี วข้อง วิธกี าร ผลท่ีไดร้ บั

5. นาเสนอผลการ 1. ผลการพฒั นาผเู้ รยี นตาม 1. ประเมนิ ผลการพัฒนา 1. มีผลการพฒั นาผเู้ รียนตาม
พัฒนาผเู้ รยี น จดุ เนน้ รายบุคคลและราย คุณภาพผู้เรยี นตามจุดเนน้ จุดเน้นในทุกมิตทิ ง้ั รายบคุ คล
ตามจุดเนน้ กลมุ่ ด้วยวธิ กี ารตา่ งๆ รายกลมุ่ และระดบั ห้องเรียน

2. ผลการพัฒนานวัตกรรม 2. วเิ คราะห์และสรุปผลการ 2. มีหลักสตู รการเรยี นรรู้ ะดบั
การเรยี นรู้ พัฒนาผู้เรยี นทงั้ รายกลมุ่ ห้องเรยี นที่เปน็ ตัวอย่างใน
และรายบุคคลตามจุดเน้น การพฒั นาผูเ้ รยี นตามจดุ เนน้
3. ผลการวิจัยในช้นั เรยี น
4. ผลการพัฒนาหลกั สูตร 3. นาผลการพฒั นาผเู้ รยี นไป 3. มีการวิจัยในช้ันเรยี นทเ่ี ป็น
จดั ทาเป็นขอ้ มลู ในระดบั แนวทางในการพฒั นาผูเ้ รียน
การเรยี นรูใ้ นระดบั หอ้ งเรียนเพื่อใช้ในการ ตามจดุ เน้น
ห้องเรียน พัฒนาผ้เู รยี นตามจดุ เน้น
4. มีรูปแบบความร่วมมอื ของครู
4. สรปุ ผลการนานวตั กรรม และผทู้ เี่ ก่ยี วขอ้ ง
การเรยี นรู้และการวิจยั ใน
ช้ันเรียน 5. มีเอกสารรายงานและข้อมลู
สารสนเทศทีเ่ ป็นร่องรอย
5. จัดทารายงานผลการ หลกั ฐานในการพัฒนาผเู้ รยี น
พัฒนาผเู้ รียนตามจดุ เน้น ตามจุดเนน้
ระดับหอ้ งเรยี นในความ
รบั ผดิ ชอบ

6. จดั ทารายงานผลการ
พัฒนาหลกั สตู รการเรียนรู้
ระดบั ห้องเรยี นในความ
รบั ผดิ ชอบ

ท่มี า : สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนาจุดเน้นการพัฒนาผูเ้ รียนสู่การปฏิบตั .ิ
กรุงเทพมหานคร : สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ.

พิเศษ 15

1

แนวทางการประเมินตามจดุ เน้นคณุ ภาพผเู้ รียน

ทักษะการคิด

จดุ เน้น : ทักษะการคดิ ขั้นพน้ื ฐาน

ชัน้ ความสามารถ วธิ กี ารวัดและประเมนิ ผล
และทกั ษะ
วธิ ีการ เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน

ป.1 ทักษะการสงั เกตและ 1. ใหผ้ ้เู รียนสงั เกตรูปภาพ - แบบทดสอบ ผ่าน :
ทักษะการจัดกล่มุ ผลไม้ หรือสัตว์ ฯลฯ แลว้ - แบบบันทึก ผู้เรยี นจัดกลุม่ และบอกเหตผุ ล
ให้ผูเ้ รยี นจัดกลุ่มรปู ภาพ ได้ถูกต้องและเหมาะสม
ผลไม้ หรือสัตว์ ฯลฯ การสงั เกต หมายเหตุ
พร้อมบอกเหตผุ ลในการ จัดกลมุ่ และบอก เกณฑ์การประเมนิ อาจจะจัดเปน็
จดั กลมุ่ เหตผุ ลการ ระดับคณุ ภาพกไ็ ด้ ถ้าหากมกี าร
จดั กล่มุ จัดกลุม่ หรือบอกเหตผุ ลหลาย
2. จดั วสั ดหุ รอื สง่ิ ของให้ รายการ เช่น
ผูเ้ รยี นสงั เกตแลว้ ให้
ผู้เรยี นจัดกลมุ่ วสั ดหุ รอื ถ้าหากมีการสงั เกตแลว้
สงิ่ ของ พร้อมกับบอก สามารถจัดกลุ่ม และบอกเหตผุ ล
เหตุผลในการจดั กลมุ่ โดย ได้ 6 รายการ อาจกาหนดเกณฑ์
มคี รูคอยสงั เกตการณก์ าร การประเมนิ ดงั นี้
จัดกลุ่มและการอธิบาย ระดับ 1 จัดกลุ่ม แต่บอก
เหตผุ ล ในการจดั กลุ่มของ
ผูเ้ รยี น ฯลฯ เหตุผลไมไ่ ด้
ระดับ 2 จดั กลมุ่ และบอก

เหตผุ ล ได้ 1-2
รายการ (ผา่ น)
ระดบั 3 จัดกลมุ่ และบอก
เหตุผล ได้ 3-4
รายการ
ระดบั 4 จัดกลมุ่ และบอก
เหตุผล ได้ 5-6
รายการ

พิเศษ 16

1

ชน้ั ความสามารถ วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล
และทกั ษะ
วิธกี าร เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมิน

ป.2 ทักษะการเปรยี บเทียบ 1. ให้ผูเ้ รียนสงั เกตรปู ภาพ - แบบทดสอบ ผ่าน :

และทกั ษะการจาแนก วัสดุ หรือสง่ิ ของ ฯลฯ ท่ีมี - แบบบันทกึ ผูเ้ รยี นเปรยี บเทียบ หรือจาแนก

ขนาดตา่ งกนั แล้วให้ การสงั เกต และบอกเหตผุ ลไดถ้ ูกตอ้ ง

นกั เรยี นเปรยี บเทียบ การเปรียบเทยี บ เหมาะสม

ขนาดหรอื ความสงู และ และการจาแนก หมายเหตุ

จาแนกรูปภาพ วัสดุ หรือ เกณฑก์ ารประเมนิ อาจจะจัดเปน็

ส่งิ ของ ฯลฯ ที่มีลักษณะ ระดับคณุ ภาพกไ็ ด้ ถา้ หากมีการ

เหมอื นกนั หรอื คล้ายกัน เปรยี บเทยี บหรอื จาแนกแลว้ บอก

พร้อมบอกเหตผุ ล เหตผุ ลหลายรายการ เช่น

2. ให้นกั เรียนสงั เกตวัสดุหรอื ถ้าหากมกี ารสังเกตแล้ว

ส่งิ ของ ซึ่งวัสดหุ รอื สิ่งของ สามารถเปรยี บเทียบ หรอื จาแนก

ที่นามาให้นักเรียนสงั เกต แล้วบอกเหตผุ ลได้ 8 รายการ

เป็นวสั ดุหรอื ส่งิ ของชนดิ อาจกาหนดเกณฑ์การประเมิน

เดยี วกัน เชน่ ก้อนหนิ ดังนี้

ใบไม้ ดินสอ ปากกา ฯลฯ ระดบั 1 เปรยี บเทยี บ หรือ

แต่มีขนาด หรอื มีความสูง จาแนก แต่บอกเหตผุ ล

หรอื ความยาวตา่ งกนั ไมไ่ ด้

แลว้ ให้ผู้เรยี นเปรียบเทยี บ ระดบั 2 เปรยี บเทยี บ หรอื

ขนาด หรือความสูงหรอื จาแนก แล้วบอกเหตุ

ความยาว จากน้ันให้ ผลได้ 1-3 รายการ

ผู้เรยี นจาแนกส่ิงของที่ (ผา่ น)

ไม่เหมอื นกนั หรือ ระดับ 3 เปรยี บเทยี บ หรอื

แตกต่างกนั ไวเ้ ป็น จาแนก แล้วบอกเหตุ

หมวดหมู่ ผลได้ 3-4 รายการ

พร้อมกบั อธิบายเหตุผล ระดับ 4 เปรียบเทยี บ หรือ

การจาแนก ครสู งั เกต จาแนก แล้วบอกเหตุ

การเปรยี บเทยี บและ ผลได้ 5-6 รายการ

การจาแนกของผ้เู รยี น

ฯลฯ

พิเศษ 17

1

ชั้น ความสามารถ วธิ กี ารวัดและประเมินผล
และทกั ษะ
วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมิน

ป.3 ทักษะการรวบรวม 1. ใหผ้ ู้เรยี นวางแผน/ - แบบทดสอบ ผา่ น :
ข้อมูล และทักษะ ออกแบบ กาหนด สถานการณ์ ปฏิบตั ิ - ผเู้ รยี นวางแผน/ออกแบบ
การเชอื่ มโยง จดุ ประสงค์ วิธกี ารเก็บ จรงิ กาหนดจุดประสงค์ วิธีการเก็บ
รวบรวมข้อมลู และ รวบรวมข้อมลู และนาเสนอ
นาเสนอข้อมลู จาก ขอ้ มลู ได้เหมาะสมตามประเด็น
สถานการณ์ท่ีกาหนดให้ ทกี่ าหนด
- ผเู้ รยี นเลือกข้อมลู ท่เี กีย่ วข้อง
2. ใหผ้ ู้เรยี นเลอื กข้อมลู ที่ สัมพนั ธ์กนั และบอก
เก่ียวขอ้ งสัมพันธก์ ัน และ ความหมายและอธบิ ายเหตผุ ล
บอกความหมายของขอ้ มูล ของขอ้ มูลได้เหมาะสม
โดยอาศยั ความรู้ และ
ประสบการณเ์ ดมิ ของ
ตนเองพร้อมกบั อธิบาย
เหตผุ ลประกอบ

ป.6 ทกั ษะการสรุปอา้ งองิ 1. ประเมินทกั ษะการสรุป - แบบทดสอบ ผ่าน :

และทกั ษะการนาความรู้ อ้างอิงโดยการกาหนด การสรุปอ้างอิง - สรปุ สถานการณ์ หรอื เรอ่ื งราว

ไปใช้ สถานการณ์หรือเร่ืองราว - แบบทดสอบการนา ต่างๆ และมกี ารอ้างอิง

ตา่ งๆ จากหนงั สอื พมิ พ์ ความรไู้ ปใช้ แหล่งขอ้ มลู ได้เหมาะสม

ข้อความจากโฆษณา แลว้ - สรปุ และบอกวิธกี ารนาขอ้ สรปุ

ใหผ้ ู้เรียนสรปุ ความเป็นไป จากสถานการณ์หรอื เรื่องราว

ได้ พรอ้ มกบั สรุปข้ออ้างอิง ตา่ งๆ ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวันได้

จากแหลง่ ขอ้ มูลทเ่ี ชือ่ ถือได้ เหมาะสม

2. กาหนดเน้ือหาหรอื เรือ่ งราว

ใหผ้ เู้ รียนอา่ น แล้วให้

ผเู้ รยี นสรปุ และบอก

วิธีการทจ่ี ะนาไปใช้ใน

ชวี ติ ประจาวนั โดยการ

ตอ่ ยอดจากเน้ือหาหรอื

เร่อื งราวท่อี า่ น

พิเศษ 18

1

ชนั้ ความสามารถ วิธกี ารวดั และประเมินผล
และทักษะ
วธิ ีการ เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ

ม.1 ทกั ษะการวเิ คราะห์ 1. ประเมนิ ทกั ษะการคดิ - แบบทดสอบ ผา่ น :
ทกั ษะการประเมิน วเิ คราะห์ โดยการกาหนด สถานการณ์ - วิเคราะห์ขอ้ มลู จาก
และทกั ษะการสรปุ สถานการณใ์ ห้ผเู้ รียน
ความคดิ เหน็ แล้วต้งั คาถามใหผ้ ู้เรยี น สถานการณ์ไดเ้ หมาะสม
วเิ คราะห์ - สรุปและอธิบายเหตผุ ลได้

2. กาหนดสถานการณห์ รอื เหมาะสม
คาถามแล้วใหผ้ เู้ รยี น
ประเมนิ หรอื ตดั สนิ

3. กาหนดสถานการณ์ให้
ผเู้ รยี นแล้วตัง้ คาถามให้
ผเู้ รยี นสรุปพร้อมกบั
อธิบายเหตผุ ล

ม.4-6 ทักษะการคิดแกป้ ญั หา ประเมินทกั ษะการคดิ - แบบทดสอบ ผา่ น :
อย่างสร้างสรรค์ แก้ปญั หาอยา่ งสร้างสรรค์ สถานการณ์ทเ่ี น้น ผูเ้ รยี นแกป้ ัญหาจากสถานการณ์
โดยการกาหนดสถานการณ์ การคิดแก้ปญั หา ที่กาหนดใหไ้ ดเ้ หมาะสมอย่าง
ใหผ้ ู้เรียนแกป้ ญั หา โดยเนน้ อย่างสรา้ งสรรค์ สรา้ งสรรคแ์ ละมคี วามเปน็ ไปได้
การแก้ปญั หาเชิงบวกทเี่ ป็น ในการแกป้ ญั หาในชวี ติ จรงิ
วิธีการที่สรา้ งสรรค์ และมี
ความเป็นไปได้ในการนาไป
ใชแ้ ก้ปัญหาในชวี ติ จริง

ท่มี า : สานกั วชิ าการและมาตรฐานการศกึ ษา. 2553. แนวทางการนาจดุ เนน้ การพัฒนาผูเ้ รยี นสู่การปฏบิ ตั .ิ
กรุงเทพมหานคร : สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร.

พิเศษ 19

1

คาอธิบายรายวิชา

รายวิชาพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์
กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์

ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 5 เวลา 80 ช่วั โมง/ปี

ศึ ก ษ า แ ล ะ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง ส่ิ ง มี ชี วิ ต ท่ี เ ห ม า ะ ส ม ใ น แ ต่ ล ะ แ ห ล่ ง ที่ อ ยู่
ความสมั พันธ์ระหว่างสง่ิ ไม่มชี วี ติ กบั สิ่งมชี ีวิต และความสมั พนั ธก์ บั ส่งิ ไม่มีชวี ติ โซ่อาหารและบทบาทหน้าท่ีของ
สิ่งมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่อาหาร ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการดารงชีวิตของ
สิ่งมีชีวิต ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช สัตว์ และมนุษย์ ลักษณะที่คล้ายคลึง
กันของตนเองกับพ่อแม่ การหาแรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุในกรณีท่ีวัตถุอยู่น่ิง
การเขยี นแผนภาพแสดงแรงทกี่ ระทาต่อวตั ถทุ ่ีอยู่ในแนวเดียวกันและแรงลัพธ์ท่ีกระทาต่อวัตถุ การใช้เครื่องชั่ง
สปริงในการวัดแรงที่กระทาต่อวัตถุ ผลของแรงเสียดทานท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลงการเคล่ือนที่ของวัตถุ การ
เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียดทานและแรงที่อยู่ในแนวเดียวกันที่กระทาต่อวัตถุ การได้ยินเสียงผ่านตัวกลาง
การเกิดเสียงสูง เสียงต่า การเกิดเสียงดัง เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัดระดับเสียง และ
เสนอแนะแนวทางในการหลีกเลี่ยงและลดมลพิษทางเสียง

โดยมุ่งหวังใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ที่สามารถนาไปใช้อธิบาย แก้ไขปัญหา หรือสร้างสรรค์พัฒนา
งานในชีวิตจริงได้ ซ่ึงเน้นการเชื่อมโยงความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี กับกระบวนการ
ทางวิศวกรรมศาสตร์ และให้มีทักษะสาคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหา
ความรแู้ ละการแก้ปญั หาทห่ี ลากหลาย

เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการคิด และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง
สง่ เสริมให้ผู้เรยี นเกดิ จติ วิทยาศาสตรแ์ ละมีเจตคติที่ดตี ่อการเรยี นวทิ ยาศาสตร์

พิเศษ 20

1

ตวั ชวี้ ัด
ว 1.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว 1.3 ป.5/1 ป.5/2
ว 2.1 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4
ว 2.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 2.3 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
ว 3.1 ป.5/1 ป.5/2
ว 3.2 ป.5/1 ป.5/2 ป.5/3 ป.5/4 ป.5/5
รวม 27 ตัวชว้ี ัด

พิเศษ 21

1

โครงสรา้ งรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ป.5

ลาดบั ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ ช่ือบท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา
ที่ เรยี นรู้/ (ชั่วโมง)
บทท่ี 1 ตวั ช้วี ดั
1. เรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ เรยี นรกู้ ระบวนการ วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ เ ป็ น ก า ร ศึ ก ษ า 3
ทางวิทยาศาสตร์ - เก่ียวกับส่ิงต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
2. ส่ิงมีชีวติ กับสง่ิ แวดลอ้ ม วิธีการและขั้นตอนท่ีใช้เพื่อตอบ 11
บทที่ 1 ว 1.1 ป.5/1 ปัญหาท่ีสงสัย เรียกว่า วิธีการทาง 7
ชีวติ สัมพันธ์ ว 1.1 ป.5/2 วทิ ยาศาสตร์
ว 1.1 ป.5/3
บทท่ี 2 ว 1.1 ป.5/4 ในการสืบเสาะหาความรู้อย่าง
ลกั ษณะทาง เป็นระบบ ผู้เรียนควรฝึกฝนทักษะ
พันธุกรรมของ ว 1.3 ป.5/1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้
ส่ิงมีชวี ิต ว 1.3 ป.5/2 เกิดความชานาญ เพื่อให้สามารถ
คน้ หาคาตอบได้อย่างถูกตอ้ ง

เม่ือทาการศึกษาและแสวงหา
ความรู้ โดยใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์แล้ว ผู้เรียนจะเกิดจิต
วิทยาศาสตร์

ส่ิงมีชีวิตท้ังพืชและสัตว์ต่าง ๆ
จ ะ มี โ ค ร ง ส ร้ า ง แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ที่
เ ห ม า ะ ส ม ใ น แ ต่ ล ะ แ ห ล่ ง ท่ี อ ยู่
เพ่ือให้ดารงชีวิตและอยู่รอดได้
ซงึ่ ในแหลง่ ที่อยู่หนึง่ ๆ ส่งิ มีชีวิตจะ
มีความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน และ
สัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิต เพ่ือประโยชน์
ตอ่ การดารงชีวิต

ส่ิงมชี วี ิตทง้ั พืช สตั ว์ และมนุษย์
เมื่อเจรญิ เตบิ โตเต็มท่ีแลว้ จะมีการ
สื บ พันธุ์เ พ่ือเ พ่ิม จ า นวนแ ล ะ
ดารงชีวิต โดยลูกท่ีเกิดมาจะได้รับ
ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท า ง
พันธุกรรมจากพ่อแม่ จึงทาให้มี
ลักษณะท่ีคล้ายกับพ่อแม่ แต่จะ
แตกตา่ งจากสิง่ มีชวี ติ อ่ืน

พิเศษ 22

1

ลาดบั ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชือ่ บท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา
ที่ เรียนรู้/ (ชว่ั โมง)

ตัวชวี้ ัด

3. แรงในชวี ิตประจาวัน บทที่ 1 ว 2.2 ป.5/1 แรงลัพธ์ คือ ผลรวมของแรง 3
แรงลพั ธ์ ว 2.2 ป.5/2 หลายแรงที่กระทาต่อวัตถุเดียวกัน

ว 2.2 ป.5/3 ในทศิ ทางเดียวกัน หรือผลต่างของ

แรงสองแรงที่กระทาต่อวัตถุในทิศ

ทางตรงข้ามกัน สาหรับวัตถุที่อยู่

น่งิ แรงลพั ธ์จะมีค่าเปน็ ศูนย์

บทที่ 2 ว 2.2 ป.5/4 แร งเ สี ย ด ทาน คื อ แ ร งที่ 6
แรงเสยี ดทาน
ว 2.2 ป.5/5 เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสของวัตถุ

สองชนดิ เพื่อตา้ นการเคลือ่ นที่ของ

วัตถุน้ัน ๆ และมีทิศทางตรงข้าม

กับการเคล่อื นทข่ี องวัตถนุ ้ัน ๆ

4. พลังงานเสียง บทท่ี 1 ว 2.3 ป.5/1 เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน 10
เสียงรอบตัวเรา
ว 2.3 ป.5/2 ของวัตถุท่ีเป็นแหล่งกาเนิดเสียง

ว 2.3 ป.5/3 เสียงเคลื่อนที่ได้ทุกทิศทางโดย
ว 2.3 ป.5/4 อาศัยตัวกลาง ได้แก่ ของแข็ง

ว 2.3 ป.5/5 ของเหลว และอากาศ มาถึงหูของ

เรา

เสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง

ต่างๆ จะมีเสียงสูง เสียงต่า หรือมี

เสียงดัง เสียงค่อย แตกต่างกัน

หากเสียงมีความดังมาก ๆ จะ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อการได้ยิน

เสยี งของเรา

5. การเปลย่ี นแปลง บทท่ี 1 ว 2.1 ป.5/1 สสารท่ีอยู่รอบตัวเรามีหลาย 10
การเปลย่ี นแปลง ว 2.1 ป.5/2 ชนิด สสารแต่ละชนิดท่ีพบใน
ทางกายภาพ
ชีวิตประจาวันอาจมีสถานะเป็น

ของแข็ง ของเหลว หรือแก๊ส

ซึ่งสสารอาจเปลี่ยนจากสถานะ

หน่ึงไปเป็นอีกสถานะหน่ึงได้ โดย

อาศัยการเพ่ิมหรือลดความร้อน

ใ ห้ แ ก่ ส ส า ร ไ ป จ น ถึ ง ร ะ ดั บ ห นึ่ ง

เรียกวา่ การเปลีย่ นสถานะ
การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยน

สถานะจากของแข็งเป็นของเหลว

พิเศษ 23

1

ลาดับ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ช่อื บท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา
ที่ เรียนร/ู้ (ชั่วโมง)
บทที่ 1
การเปลยี่ นแปลง ตัวชว้ี ัด
ทางกายภาพ (ตอ่ )
5. การเปลย่ี นแปลง (ตอ่ ) โดยเมอื่ เพ่มิ ความร้อนใหก้ บั สสารที่
อยู่ในสถานะของแข็งจนถึงระดับ

ห น่ึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ส ส า ร น้ั น เ ป ลี่ ย น

สถานะจากของแขง็ เป็นของเหลว

การกลายเปน็ ไอ เป็นการเปลย่ี น

ส ถ า น ะ จ า ก ข อ ง เ ห ล ว เ ป็ น แ ก๊ ส

โดยเม่ือเพิม่ ความร้อนใหก้ บั สสารที่

อยู่ในสถานะของเหลวจนถึงระดับ

ห น่ึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ส ส า ร น้ั น เ ป ล่ี ย น
สถานะจากของเหลวเป็นสถานะ
แก๊ส เรียกว่าการกลายเป็นไอ

ซ่ึงแบ่งได้ 2 กระบวนการ ได้แก่

การระเหย เป็นการเปล่ียนสถานะ

จากของเหลวที่อยู่บริเวณผิวหน้า

ไปเป็นแกส๊ และการเดือด เป็นการ

เปลี่ยนสถานะจากของเหลวโดย

เพ่ิมความร้อนจนถึงจุดเดือดจน
เป็นแก๊ส

การควบแน่น เป็นการเปล่ียน

ส ถ า น ะ จ า ก แ ก๊ ส เ ป็ น ข อ ง เ ห ล ว

โดยเมื่อลดความร้อนให้กับสสารท่ี

อยู่ในสถานะแก๊สจนถึงระดับหนึ่ง

จะทาให้สสารนั้นเปลี่ยนสถานะ

จากแก๊สเปน็ ของเหลว

การแข็งตัว เป็นการเปลี่ยน
สถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง

โดยเมื่อลดความร้อนให้กับสสารที่

อยู่ในสถานะของเหลวจนถึงระดับ

ห น่ึ ง จ ะ ท า ใ ห้ ส ส า ร นั้ น เ ป ล่ี ย น

สถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง

การระเหิด เป็นการเปลี่ยน

สถานะจากของแข็งเป็นแก๊ส โดย
เมื่อเพิ่มความร้อนให้กับสสารท่ีอยู่
ในสถานะของแข็งบางชนิดจนถึง

พิเศษ 24

1

ลาดบั ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ ชอ่ื บท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา
ที่ เรยี นรู้/ (ชั่วโมง)
บทที่ 1
การเปลย่ี นแปลง ตวั ช้วี ัด
ทางกายภาพ (ตอ่ )
5. การเปลยี่ นแปลง (ตอ่ ) ระดบั หน่งึ จะทาใหส้ สารนั้นเปล่ียน
ส ถ า น ะ จ า ก ข อ ง แ ข็ ง เ ป็ น แ ก๊ ส

โดยไม่ผ่านการเป็นของเหลว

การระเหดิ กลบั เปน็ การเปล่ียน

สถานะจากของแก๊สเป็นของแข็ง

โดยเม่ือลดความร้อนให้กับสสารท่ี

อยู่ในสถานะแก๊สบางชนิดจนถึง

ระดับหนง่ึ จะทาใหส้ สารน้ันเปลี่ยน

สถานะจากของแก๊สเป็นของแข็ง
โดยไมผ่ ่านการเป็นของเหลว

การละลายเปน็ การเปลี่ยนแปลง

ทางกายภาพของสารที่เกิดข้ึนจาก

การนาสารใส่ลงในน้า แล้วสารนั้น

ผสมรวมกับน้าอย่างกลมกลืนจน

มองเห็นเป็นเน้ือเดียวกันทุกส่วน

โ ด ย ส า ร ท่ี ไ ด้ ยั ง ค ง เ ป็ น ส า ร เ ดิ ม

เรียกวา่ สารละลาย โดยสารต่าง ๆ
อ า จ อ ยู่ ใ น ส ถ า น ะ ข อ ง แ ข็ ง

ของเหลว หรือแก๊ส ซ่ึงสารบาง

ชนิดละลายน้าได้ ส่วนสารบาง

ชนิดไม่สามารถละลายน้าได้ แต่

สามารถละลายในสารละลายอื่นได้

แทน

การละลายของสารในน้าทาให้

เกิดสารสะลาย ซึ่งเป็นสารเน้ือ
เดียว โดยในสารละลายจะมี

องค์ประกอบ 2 ส่วน คือ ตัวทา

ละลายและตัวละลาย โดยสารท่ีมี

ป ริ ม า ณ ม า ก ก ว่ า แ ล ะ มี ส ถ า น ะ

เดยี วกบั สารละลาย เรียกว่า ตัวทา

ละลาย และสารที่มีปริมาณน้อย

กวา่ เรยี กวา่ ตวั ละลาย

พิเศษ 25

1

ลาดบั ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ชอ่ื บท มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา
ท่ี เรยี นร้/ู (ชัว่ โมง)

ตวั ชี้วดั

5. การเปลยี่ นแปลง (ตอ่ ) บทที่ 2 ว 2.1 ป.5/3 การเปลี่ยนแปลงทางเคมี คือ 3

การเปลย่ี นแปลง การเปลี่ยนแปลงของสารชนิดเดียว

ทางเคมี หรือการทาปฏิกิริยาระหว่างสาร

2 ชนิด ข้ึนไปแล้วเกิดสารใหม่ข้ึน

ซง่ึ มสี มบัติต่างไปจากสารเดิม และ

เม่ือเกิดการเปลีย่ นแปลงแล้วจะทา

ให้กลับมาเปน็ สารเดิมยาก โดยการ

เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ท า ง เ ค มี ห รื อ ก า ร

เกิดปฏิกิริยาเคมีที่ทาให้เกิดสาร
ใหม่ สามารถสังเกตได้จากการ
เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ของสาร เช่น

การมีสีท่ีต่างจากเดิม การมีกลิ่นท่ี

ต่างจากเดิม การมีฟองแก๊สเกิดขึ้น

การมีอุณหภูมิเพ่ิมขึ้นหรือลดลง

การมตี ะกอนเกดิ ขน้ึ เปน็ ตน้

บทที่ 3 ว 2.1 ป.5/4 เมื่อสารเกิดการเปล่ียนแปลง 4

การเปลย่ี นแปลง แ ล้ ว ส า ม า ร ถ เ ป ลี่ ย น ก ลั บ เ ป็ น

ทผ่ี ันกลบั ไดแ้ ละผัน ส า ร เ ดิ ม ไ ด้ เ รี ย ก ว่ า ก า ร

กลับไมไ่ ด้ เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ เช่น

การหลอมเหลว การกลายเป็นไอ

การแข็งตัว การละลาย เป็นต้น
ส่วนสารที่เกิดการเปล่ียนแปลง

แล้วไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็น

ส า ร เ ดิ ม ไ ด้ เ รี ย ก ว่ า ก า ร

เปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ เช่น

การเผาไหม้ การสุกของผลไม้

การเกิดสนิม เป็นตน้

6. แหล่งน้าและลมฟ้า บทที่ 1 ว 3.2 ป.5/1 โลกของเรามนี ้าปกคลุมเป็นส่วน 4

อากาศ แหล่งน้าเพอ่ื ชวี ติ ว 3.2 ป.5/2 ใหญ่ของพ้ืนผิวโลกทั้งหมด โดยมี

ทั้งแหลง่ นา้ เค็มและแหล่งนา้ จดื ซ่ึง

มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของ

ส่ิงมีชีวิต เราจึงต้องใช้น้าอย่าง

ประหยัดและคุ้มค่า

พิเศษ 26

1

ลาดบั ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ชื่อบท มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา
ที่ เรียนรู้/ (ชั่วโมง)

ตัวช้วี ัด

6. แหล่งน้าและลมฟ้า บทที่ 2 ว 3.2 ป.5/3 เมฆ เกิดจากไอน้าในอากาศจะ 11
อากาศ (ตอ่ ) ปรากฏการณล์ มฟา้ ว 3.2 ป.5/4 ควบแน่นเป็นละอองน้าเล็ก ๆ โดย

อากาศ ว 3.2 ป.5/5 มลี ะอองลอย เช่น เกลือ ฝุน่ ละออง

ละอองเรณขู องดอกไม้ เปน็ อนุภาค

แกนกลาง เม่ือละอองน้าจานวน

มากเกาะกลุ่มรวมกันลอยอยู่สูง

จากพ้ืนดินมาก แต่ละอองน้าท่ี

เกาะกลมุ่ รวมกันลอยอยูใ่ กล้พื้นดิน

เรียกวา่ หมอก
ไอน้าท่ีควบแน่นเป็นละอองน้า

เกาะอยู่บนพื้นผิววัตถุใกล้พ้ืนดิน

เรียกว่า น้าค้าง ถ้าอุณหภูมิใกล้

พื้นดินต่ากว่าจุดเยือกแข็งน้าค้างก็

จะกลายเป็นน้าคา้ งแขง็

ฝนเกิดไอนา้ ในอากาศควบแน่น

เป็นละอองนา้ เล็ก ๆ เม่ือละอองน้า

จานวนมากในเมฆรวมตัวกันจน
อากาศไม่สามารถพยุงไว้ได้จึงตก

ลงมาเป็นฝน หิมะเกิดจากไอน้าใน

อากาศระเหิดกลับเป็นผลึกน้าแข็ง

รวมตัวกันจนมีน้าหนักมากขึ้นจน

เกินกว่าอากาศจะพยุงไว้จึงตกลง

มา ลูกเห็บเกิดจากหยดน้าที่

เปล่ียนสถานะเป็นน้าแข็ง แล้วถูก

พายพุ ัดวนซ้าไปซ้ามาในเมฆฝนฟ้า
คะนองที่มีขนาดใหญ่และอยู่ใน

ระดับสูง จนเป็นก้อนน้าแข็งขนาด

ใหญข่ ึ้นแล้วตกลงมา

วัฏจักรน้า เป็นการหมุนเวียน

ของน้าที่มีแบบรูปซ้าเดิม และ

ต่อเน่ืองระหว่างน้าในบรรยากาศ

น้ า ผิ ว ดิ น แ ล ะ น้ า ใ ต้ ดิ น
ซึ่งพฤติกรรมในการดารงชีวิตของ
พชื และสตั ว์จะสง่ ผลต่อวัฏจักรน้า

พิเศษ 27

1

ลาดับ ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ ชอ่ื บท มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา
ที่ เรียนรู้/ (ชัว่ โมง)

ตัวชว้ี ัด

7. ดาวบนทอ้ งฟา้ บทท่ี 1 ว 3.1 ป.5/1 ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ใน 8
ทอ้ งฟา้ และกลมุ่ ว 3.1 ป.5/2 อ ว ก า ศ ซ่ึ ง เ ป็ น บ ริ เ ว ณ ที่ อ ยู่ น อ ก
ดาวฤกษ์
บรรยากาศของโลก มีทั้งดาวฤกษ์

และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็น

แห ล่ งกา เ นิด แส งจึ งสา ม า ร ถ

มองเห็นได้ ส่วนดาวเคราะห์ไม่ใช่

แหล่งกาเนดิ แสง

ดาวฤกษ์ เป็นดาวท่ีมีแสงสว่าง

ในตัวเอง จัดเป็นแหล่งกาเนิดแสง
จึงสามารถมองเห็นเป็นจุดสว่าง
และมีแสงระยิบระยับบนท้องฟ้า

ในเวลากลางวันจะมองเห็นท้องฟ้า

เป็นสีฟ้า ส่วนในเวลากลางคืนจะ

มองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์ต่าง ๆ ที่อยู่

บนท้องฟ้ามีรูปร่างแตกต่างกัน

ออกไป

เ มื่ อ สั ง เ ก ต ก ลุ่ ม ด า ว ฤ ก ษ์ ใ น
ช่วงเวลาต่าง ๆ ในคืนเดียวกัน

จะพบวา่ กลมุ่ ดาวฤกษ์มกี ารเปลี่ยน

ตาแหน่ง โดย เคล่ือนจากทิศ

ต ะ วั น อ อ ก ไ ป ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น ต ก

ทาให้มองเหน็ ดาวฤกษ์ขึ้นจากขอบ

ฟ้ า ท า ง ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก แ ล ะ

ตกลับขอบฟ้าไปทางทิศตะวันตก

ซ่ึงดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์มี
เส้นทางการขึ้นและตกตามเส้นทาง

เดมิ ทุกคนื และจะปรากฏตาแหน่ง

เดมิ เสมอ

การสังเกตตาแหน่งกลุ่มดาว

ฤกษ์ สามารถทาได้โดยใช้การระบุ

มุมทิศและมุมเงยท่ีกลุ่มดาวน้ัน

ปรากฏ ผู้สังเกตสามารถใช้มือใน
การประมาณค่าของมุมเงยเมื่อ
สังเกตดาวในทอ้ งฟ้า

พิเศษ 28

1

โครงสรา้ งแผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

ใช้รูปแบบการสอนแบบ : สบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) เวลา 40 ชั่วโมง

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ช่อื บท แผนการจัด ทกั ษะการคดิ เวลา
การเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 5 1. ทกั ษะการสังเกต (ชวั่ โมง)
การเปล่ียนแปลง บทที่ 1 การเปลยี่ นแปลง 1. การเปลยี่ นสถานะ 2. ทกั ษะการทดลอง 4
3. ทกั ษะการต้งั สมมติฐาน
ทางกายภาพ ของสสาร 4. ทักษะการทางานร่วมกัน 2
5. ทักษะการพยากรณ์หรอื
2. การระเหดิ 4
การคาดคะเน
3. การละลายของสาร 6. ทักษะการตีความหมาย
ในน้า
ขอ้ มลู และลงขอ้ สรุป
7. ทักษะการหา

ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง
สเปซกับเวลา
1. ทกั ษะการวัด
2. ทักษะการสงั เกต
3. ทักษะการทดลอง
4. ทกั ษะการตั้งสมมตฐิ าน
5. ทกั ษะการทางานร่วมกัน
6. ทกั ษะการพยากรณ์หรือ
การคาดคะเน
7. ทกั ษะการตีความหมาย
ข้อมูลและลงขอ้ สรปุ
1. ทกั ษะการสังเกต
2. ทกั ษะการทดลอง
3. ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน
4. ทักษะการทางานร่วมกัน
5. ทักษะการพยากรณ์หรือ
การคาดคะเน
6. ทักษะการตีความหมาย
ขอ้ มูลและลงข้อสรปุ

พิเศษ 29

1

ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชือ่ บท แผนการจดั ทกั ษะการคิด เวลา
การเรยี นรู้
หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 5 (ชว่ั โมง)
การเปลย่ี นแปลง (ตอ่ ) บทที่ 2 การเปลย่ี นแปลง 4. การเปลย่ี นแปลงทาง 1. ทกั ษะการสงั เกต 3

หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 ทางเคมี เคมขี องสาร 2. ทกั ษะการทดลอง 4
แหล่งน้าและลมฟ้า 3. ทกั ษะการต้งั สมมตฐิ าน
อากาศ 2
4. ทักษะการทางานร่วมกัน
2
5. ทักษะการพยากรณ์หรือ
3
การคาดคะเน

6. ทักษะการตีความหมาย

ข้อมลู และลงข้อสรปุ

บทที่ 3 การเปล่ยี นแปลง 5. การเปลี่ยนแปลงที่ผัน 1. ทกั ษะการสงั เกต

ทผ่ี ันกลับได้และผนั กลบั กลบั ไดแ้ ละผันกลบั 2. ทกั ษะการทดลอง

ไมไ่ ดข้ องสาร ไมไ่ ด้ของสาร 3. ทักษะการต้ังสมมตฐิ าน

4. ทกั ษะการทางานร่วมกนั

5. ทกั ษะการตีความหมาย

ข้อมลู และลงข้อสรปุ

บทที่ 1 แหลง่ น้าเพื่อ 1. แหลง่ น้าบนโลก 1. ทักษะการสังเกต

ชีวิต 2. ทกั ษะการสารวจค้นหา

3. ทกั ษะการใช้จานวน

4. ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู

5. ทักษะการจดั กระทาและ
ส่ือความหมายขอ้ มลู

2. การใชน้ า้ อย่าง 1. ทักษะการสารวจคน้ หา

ประหยดั และการ 2. ทักษะการทางานรว่ มกนั

อนุรักษน์ า้ 3. ทักษะการลงความเหน็
จากข้อมลู

4. ทกั ษะการจดั กระทาและ

สอ่ื ความหมายข้อมลู

บทที่ 2 ปรากฏการณล์ ม 3. การเกดิ เมฆและ 1. ทกั ษะการวดั

ฟา้ อากาศ หมอก 2. ทกั ษะการสังเกต
3. ทกั ษะการทดลอง

4. ทกั ษะการต้งั สมมตฐิ าน

5. ทักษะการสรา้ ง

แบบจาลอง

6. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน

พิเศษ 30

1

ช่ือหน่วยการเรียนรู้ ชอื่ บท แผนการจดั ทกั ษะการคดิ เวลา
การเรยี นรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 7. ทกั ษะการกาหนดและ (ชั่วโมง)
แหล่งนา้ และลมฟา้ บทท่ี 2 ปรากฏการณล์ ม 3. การเกดิ เมฆและ ควบคมุ ตวั แปร 2
อากาศ (ตอ่ )
ฟา้ อากาศ (ตอ่ ) หมอก (ตอ่ ) 8. ทกั ษะการตีความหมาย 3
ข้อมูลและลงขอ้ สรุป
4. การเกดิ น้าค้างและ 3
น้าคา้ งแขง็ 1 ทักษะการสังเกต
2. ทกั ษะการทดลอง
5. การเกดิ หยาดน้าฟา้ 3. ทักษะการตง้ั สมมตฐิ าน
6. วฏั จักรน้า 4. ทักษะการสรา้ ง

แบบจาลอง
5. ทักษะการทางานร่วมกนั
6. ทกั ษะการกาหนดและ

ควบคุมตัวแปร
7. ทักษะการตคี วามหมาย

ขอ้ มูลและลงขอ้ สรุป
8. ทกั ษะการจัดกระทาและ

ส่อื ความหมายขอ้ มลู
1. ทักษะการสงั เกต
2. ทักษะการทดลอง
3. ทักษะการตั้งสมมตฐิ าน
4. ทักษะการทางานร่วมกนั
5. ทกั ษะการลงความเหน็

จากข้อมูล
6. ทักษะการจดั กระทาและ

ส่อื ความหมายข้อมลู
1. ทกั ษะการสังเกต
2. ทักษะการทดลอง
3. ทักษะการตงั้ สมมติฐาน
4. ทักษะการทางานรว่ มกนั
5. ทกั ษะการสรา้ ง

แบบจาลอง
6. ทกั ษะการลงความเหน็

จากขอ้ มลู
7. ทักษะการจดั กระทาและ

สอื่ ความหมายข้อมลู

พิเศษ 31

1

ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ ชอ่ื บท แผนการจัด ทกั ษะการคดิ เวลา
การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 บทท่ี 1 ทอ้ งฟ้าและกล่มุ 1. ทักษะการสงั เกต (ชวั่ โมง)
ดาวบนทอ้ งฟ้า ดาวฤกษ์ 1. ดาวฤกษแ์ ละ 2. ทกั ษะการสารวจคน้ หา 2
ดาวเคราะห์ 3. ทกั ษะการสร้าง
2
2. กลุม่ ดาวฤกษ์บน แบบจาลอง
ท้องฟา้ 4. ทกั ษะการลงความเห็น 2

3. การขึ้นและตกของ จากข้อมูล
กลมุ่ ดาวฤกษ์ 5. ทกั ษะการตคี วามหมาย

ข้อมลู และลงขอ้ สรปุ
6. ทักษะการจัดกระทาและ

สื่อความหมายข้อมลู
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการสารวจค้นหา
3. ทกั ษะการทางานร่วมกัน
4. ทกั ษะการลงความเห็น

จากข้อมูล
5. ทกั ษะการตคี วามหมาย

ข้อมลู และลงข้อสรุป
6. ทักษะการจดั กระทาและ

สือ่ ความหมายขอ้ มลู
1. ทักษะการสงั เกต
2. ทักษะการสารวจค้นหา
3. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน
4. ทกั ษะการลงความเห็น

จากขอ้ มูล
5. ทักษะการตีความหมาย

ขอ้ มูลและลงข้อสรุป
6. ทักษะการหา

ความสัมพันธ์ของสเปซ
กบั เวลา
7. ทกั ษะการจัดกระทาและ
สอ่ื ความหมายขอ้ มลู

พิเศษ 32

1

ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ ชือ่ บท แผนการจดั ทกั ษะการคิด เวลา
การเรียนรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 บทท่ี 1 ท้องฟ้าและกลุ่ม 1. ทักษะการสงั เกต (ช่ัวโมง)
ดาวบนท้องฟา้ (ต่อ) ดาวฤกษ์ (ต่อ) 4. การบอกตาแหนง่ ของ 2. ทกั ษะการสารวจคน้ หา
กล่มุ ดาวฤกษ์ 3. ทกั ษะการทางานรว่ มกนั 2
4. ทักษะการสร้าง

แบบจาลอง
5. ทักษะการลงความเห็น

จากข้อมูล
6. ทักษะการตีความหมาย

ข้อมลู และลงขอ้ สรุป

พิเศษ 33

1

1

แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 1

การเปล่ยี นสถานะของสสาร

เวลา 4 ช่ัวโมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ดั

ว 2.1 ป.5/1 อธิบายการเปลี่ยนสถานะของสสาร เมอื่ ทาให้สสารร้อนข้นึ หรอื เยน็ ลง โดยใช้หลักฐาน
เชิงประจักษ์

2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

1. อธบิ ายการเปลยี่ นแปลงสถานะของสสารเมอื เพิม่ หรอื ลดความรอ้ นให้สสารได้ (K)
2. ปฏิบัตกิ จิ กรรมการเปลย่ี นสถานะของสสารได้อย่างถกู ตอ้ งและเป็นลาดับข้ันตอน (P)
3. มคี วามใฝ่เรยี นรู้และใหค้ วามรว่ มมอื ในการทากิจกรรมกล่มุ (A)

3. สาระการเรยี นรู้ สาระการเรยี นรู้ท้องถิ่น
พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นร้แู กนกลาง
การเปลยี่ นสถานะของสสารเป็นการเปลี่ยนแปลง
ทางกายภาพ เมือ่ เพ่ิมความร้อนให้กับสสารถึงระดับ
หน่ึงจะทาให้สสารทเ่ี ป็นของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็น
ของเหลว เรยี กวา่ การหลอมเหลว และเมื่อเพิม่ ความ
รอ้ นตอ่ ไปจนถงึ อกี ระดับหนึ่งของเหลวจะเปล่ียนเป็น
แก๊ส เรยี กว่า การกลายเป็นไอ แต่เมือ่ ลดความร้อนถึง
ระดับหนึ่งแก๊สจะเปล่ยี นสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า
การควบแน่น และถ้าลดความร้อนต่อไปอีกจนถึง
ระดับหน่ึงของเหลวจะเปลี่ยนสถาน ะเป็นของแข็ง
เรยี กว่า การแขง็ ตัว

4. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด

สสารที่อยูร่ อบตัวเรามีหลายชนดิ สสารแต่ละชนิดท่ีพบในชวี ิตประจาวันอาจมีสถานะเปน็ ของแข็ง
ของเหลว หรือแกส๊ ซ่ึงสสารอาจเปลยี่ นจากสถานะหนงึ่ ไปเปน็ อกี สถานะหนึง่ ได้ โดยอาศัยการเพ่มิ หรอื ลด
ความรอ้ นให้แก่สสารไปจนถึงระดบั หน่ึง เรียกวา่ การเปล่ียนสถานะ

การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลว โดยเม่อื เพิ่มความรอ้ นใหก้ ับสสาร
ทอี่ ย่ใู นสถานะของแข็งจนถงึ ระดบั หนึ่งจะทาใหส้ สารน้ันเปล่ียนสถานะจากของแขง็ เป็นของเหลว

2

การกลายเป็นไอ เป็นการเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นแก๊ส โดยเม่ือเพิ่มความร้อนใหก้ ับสสารที่
อยู่ในสถานะของเหลวจนถงึ ระดับหนึ่งจะทาให้สสารนั้นเปลยี่ นสถานะจากของเหลวเป็นสถานะแก๊ส
เรยี กว่าการกลายเป็นไอ ซึง่ แบง่ ได้ 2 กระบวนการ ไดแ้ ก่ การระเหย เป็นการเปลีย่ นสถานะจากของเหลวที่
อยูบ่ รเิ วณผิวหนา้ ไปเป็นแก๊ส และการเดือด เป็นการเปลย่ี นสถานะจากของเหลวโดยเพม่ิ ความร้อนจนถึงจุด
เดอื ดจนเป็นแกส๊

การควบแน่น เปน็ การเปลี่ยนสถานะจากแก๊สเป็นของเหลว โดยเม่ือลดความร้อนใหก้ ับสสารทอ่ี ยูใ่ น
สถานะแก๊สจนถึงระดบั หน่ึงจะทาให้สสารนน้ั เปลย่ี นสถานะจากแก๊สเปน็ ของเหลว

การแขง็ ตัว เปน็ การเปลี่ยนสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง โดยเมอื่ ลดความรอ้ นใหก้ ับสสารทอ่ี ยูใ่ น
สถานะของเหลวจนถึงระดับหนึ่งจะทาให้สสารนนั้ เปลย่ี นสถานะจากของเหลวเปน็ ของแขง็

5. สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รียนและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการส่ือสาร 1. มวี นิ ยั รบั ผิดชอบ

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝ่เรยี นรู้

1) ทกั ษะการสงั เกต 3. ซื่อสตั ย์ สจุ รติ

2) ทักษะการทดลอง 4. มุ่งมั่นในการทางาน

3) ทักษะการตง้ั สมมตฐิ าน

4) ทักษะการทางานรว่ มกัน

5) ทักษะการพยากรณห์ รือการคาดคะเน

6) ทกั ษะการตีความหมายข้อมลู และลงข้อสรปุ

7) ทักษะการหาความสมั พันธ์ระหว่างสเปซ

กบั เวลา

3. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต

4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

3

6. กิจกรรมการเรียนรู้

 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วธิ ีการสอน/เทคนิค : สืบเสาะหาความรู้ (5Es Instructional Model)

ช่วั โมงที่ 1

ขน้ั นา

ข้ันที่ 1 กระตนุ้ ความสนใจ (Engage)

1. ครทู กั ทายกบั นักเรียน แลว้ แจง้ จุดประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนทราบ จากน้นั นักเรยี นทา
แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 5 การเปลีย่ นแปลง เพือ่ วดั ความรเู้ ดิมของนกั เรยี น
ก่อนเข้าส่กู จิ กรรม

2. นกั เรียนอา่ นสาระสาคัญและดภู าพ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 5 การเปล่ยี นแปลง จากหนังสอื เรียน
วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 จากน้นั ครูตง้ั ประเดน็ คาถามวา่ “การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ
ของสสาร และการเปลยี่ นแปลงทางเคมขี องสาร เหมือนหรือต่างกนั อย่างไร” แลว้ ใหน้ ักเรียน
แตล่ ะคนร่วมกนั อภิปรายแสดงความคิดเห็นอยา่ งอสิ ระโดยไม่มีการเฉลยว่าถูกหรือผดิ
(แนวตอบ : ตา่ งกนั โดยการเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของสสาร จะไม่ทาใหเ้ กิดสารใหม่ และทาให้
สารนน้ั กลับคนื สู่สภาพเดิมได้ สว่ นการเปล่ยี นแปลงทางเคมขี องสาร จะทาใหเ้ กิดสารใหม่ และ
ทาใหก้ ับมาเป็นสารเดิมได้ยากหรอื ไม่ได้)

3. นักเรยี นดภู าพในบทท่ี 1 การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพ จากหนังสอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2
จากน้ันครูถามคาถามสาคัญประจาบทว่า “การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของสสารที่พบเห็นได้
ในชีวติ ประจาวนั มีอะไรบ้าง” โดยให้นักเรยี นแตล่ ะคนรว่ มกนั อภิปรายเพือ่ หาคาตอบ
(แนวตอบ : นา้ เดอื ดจนกลายเป็นไอ การควบแนน่ ของไอนา้ จนกลายเป็นหยดน้า เป็นต้น)

4. นักเรยี นเรียนรู้คาศพั ทท์ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั การเรียนในบทที่ 1 การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 โดยครขู ออาสาสมัครนกั เรยี น จานวน 1 คน
ให้เปน็ ผู้อา่ นนา และใหน้ กั เรียนทอี่ ยใู่ นช้ันเรียนเป็นผอู้ ่านตามทีละคา ดงั นี้

Physical Change (‘ฟซิ คิ ลั เชนจ) การเปล่ียนแปลงทางกายภาพ
Vaporisation (‘เวเพอไรเซชนั ) การกลายเปน็ ไอ
Condensation (คอนเด็น ‘เซชนั ) การควบแน่น

4

5. นกั เรยี นทากิจกรรมนาสู่การเรยี น โดยอา่ นสถานการณ์ จากหนังสอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
แลว้ ตอบคาถาม ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน หรือแบบฝกึ หัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2
(หมายเหตุ : ครเู รมิ่ ประเมินนักเรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล)

ขั้นสอน

ขัน้ ท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore)
1. ครูเปดิ วดี ิทศั น์เกยี่ วกบั การเกิดฝน ใหน้ ักเรยี นดู โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนสังเกตกระบวน
การเกิดฝนจากวดี ิทศั น์ จากนั้นครตู ง้ั ประเดน็ คาถามกระตนุ้ ความคดิ นักเรียนวา่ “จากวดี ิทัศน์
นกั เรยี นสังเกตเห็นการเปลีย่ นแปลงของนา้ ในลกั ษณะใดบา้ ง” โดยใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนรว่ มกนั
อภปิ รายแสดงความคดิ เหน็ อย่างอิสระโดยไม่มีการเฉลยว่าถกู หรือผดิ
(แนวตอบ : ขึน้ อย่กู บั สงิ่ ท่ีนักเรียนสงั เกตเห็น เชน่ น้าจากทะเล/มหาสมทุ รระเหยเป็นไอน้า,
ไอน้าในอากาศรวมตวั กันเปน็ เมฆและควบแนน่ เปน็ ฝน)
2. นักเรยี นเล่นเกมจับกล่มุ เพื่อแบ่งกลมุ่ นักเรียนออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ 4 คน โดยเตรียมบัตรคามาตรา
ตัวสะกด มาใหน้ ักเรียน ในบตั รคามาตราตัวสะกด จะประกอบไปดว้ ย ตัวสะกด จานวน 10 ตวั
ไดแ้ ก่ ก ข ง ล ว ส ห แ ็ ๊
3. จากนั้นให้นักเรียนแต่ละคนสมุ่ หยิบบตั รคาคนละ 1 ใบ แล้วจับกลมุ่ กนั กลมุ่ ละ 4 คน โดยจะตอ้ ง
รวมตัวสะกดตามบัตรคาทห่ี ยิบได้ให้เปน็ คา ดงั น้ี
- แข็ง (บัตรคา 4 ตวั สะกด คือ แ ข ็ ง)
- เหลว (บตั รคา 4 ตัวสะกด คือ เ ห ล ว)
- แกส๊ (บัตรคา 4 ตวั สะกด คือ แ ก ๊ ส)
4. เม่ือนกั เรยี นแบง่ กล่มุ เรยี บร้อย นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันศึกษาค้นคว้าข้อมลู เกย่ี วกับ
เรื่อง การเปลี่ยนสถานะของสสาร จากหนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 หรอื แหลง่ การเรียนรู้
ต่าง ๆ เชน่ อนิ เทอร์เน็ต
5. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกันอภิปรายเร่อื งที่ไดศ้ กึ ษา จากน้ันใหน้ ักเรียนแตล่ ะคนเขยี นสรปุ ความรู้
ที่ไดจ้ ากการศึกษาค้นควา้ ลงในสมุดประจาตัวนกั เรียน เพอื่ นาสง่ ครูทา้ ยชว่ั โมง
(หมายเหตุ : ครเู รม่ิ ประเมินนักเรียน โดยใชแ้ บบสงั เกตพฤตกิ รรมการทางานกลมุ่ )
6. ครตู งั้ ประเดน็ คาถามกระตุ้นความสนใจนกั เรียนวา่ “ถ้าเราต้ังนา้ แขง็ กอ้ นทิ้งไวใ้ นอุณหภูมิห้อง
นา้ แขง็ กอ้ นจะเกดิ การเปลีย่ นแปลงสถานะหรอื ไม่ อยา่ งไร” โดยให้แตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั อภปิ ราย
เพอื่ หาคาตอบ
(แนวตอบ : นา้ แข็งกอ้ นเกิดการเปลยี่ นแปลงสถานะ โดยเปลยี่ นสถานะจากของแข็งเป็นของเหลว)

5

ช่วั โมงท่ี 2-3

ข้นั สอน

ขั้นท่ี 2 สารวจค้นหา (Explore) (ตอ่ )

1. ครูจัดเตรยี มวสั ดุ-อุปกรณ์ทใ่ี ชใ้ นกิจกรรมที่ 1 การเปลย่ี นสถานะของสสาร จากหนังสอื เรยี น

วิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 มาวางไวห้ นา้ ชั้นเรียน ดังนี้

- ชาม 1 ใบ - นา้ แข็งก้อน 5-6 ก้อน

- หลอดทดลอง 1 หลอด - ตะแกรงวางหลอดทดลอง 1 อนั

- บกี เกอรข์ นาด 250 มลิ ลลิ ิตร 1 ใบ - เกลอื 1 ถุง

- กระจกนาฬกิ า 1 อนั - นา้ แขง็ ป่น 3/4 ของชาม

- ชุดตะเกยี งแอลกอฮอล์ 1 ชดุ

2. นกั เรยี นแบ่งกลมุ่ ๆ ละ 5 คน ตามความสมัครใจ จากน้ันครใู ห้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มจดั เตรียม

อุปกรณ์ที่ใช้ในกจิ กรรมที่ 1 การเปลีย่ นสถานะของสสาร จากหนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

3. ครูแจง้ จดุ ประสงค์ของกิจกรรมที่ 1 การเปลีย่ นสถานะของสสาร ใหน้ กั เรียนทราบ เพอื่ เปน็ แนว

ทางการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมทถี่ ูกตอ้ ง

4. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ปฏบิ ัติกิจกรรมที่ 1 การเปลย่ี นสถานะของสสาร โดยปฏิบตั ิกจิ กรรม

ดงั น้ี

1) ศึกษาขั้นตอนการปฏิบตั ิกจิ กรรมจากหนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2 อยา่ งละเอียด

หากมขี ้อสงสัยใหส้ อบถามครู

2) ร่วมกันกาหนดปัญหาและตั้งสมมติฐานในการปฏบิ ัติกจิ กรรม แลว้ บนั ทึกผลลงในสมุดประจาตวั

นักเรยี น หรอื แบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

3) ร่วมกันปฏบิ ัติกิจกรรมตามขนั้ ตอนให้ครบถว้ นและถกู ต้องทุกขั้นตอน จากน้นั บนั ทึกผลลงใน

สมดุ ประจาตวั นักเรยี น หรือแบบฝกึ หัดวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เลม่ 2

(หมายเหตุ : ครเู ริ่มประเมินนกั เรียน โดยใช้แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ )

5. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั วิเคราะหผ์ ลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แล้วอภปิ รายผลและสรปุ ผลการทดลอง

ข้นั ท่ี 3 อธิบายความรู้ (Explain)
6. นกั เรียนแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลการปฏิบตั ิกจิ กรรมหน้าช้นั เรยี น เพ่อื แลกเปลย่ี นความคิด
จนครบทกุ กลุ่ม ในระหวา่ งที่นกั เรยี นนาเสนอครูคอยให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เพื่อใหน้ กั เรียน
มคี วามเข้าใจทีถ่ ูกตอ้ ง
(หมายเหตุ : ครูเริ่มประเมนิ นักเรยี น โดยใช้แบบประเมินการนาเสนอผลงาน)

6

7. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ท่ีไดจ้ ากการปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 1 การเปลีย่ นสถานะของสสาร
ซ่ึงได้ขอ้ สรุปรว่ มกันวา่ “เม่อื ตั้งน้าแขง็ ก้อนทงิ้ ไวใ้ นบีกเกอรป์ ระมาณ 10 นาที พบว่าน้าแขง็ กอ้ น
จะละลายและเปล่ียนสถานะจากของแขง็ เปน็ ของเหลว เรยี กการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสารนี้
วา่ การหลอมเหลว เมอ่ื นานา้ ท่ีไดใ้ นบีกเกอร์ มาตม้ ด้วยไฟออ่ น ๆ ประมาณ 5 นาที พบว่าน้าจะ
ระเหยและเปลีย่ นสถานะจากของเหลวเปน็ ไอนา้ เรยี กการเปลยี่ นแปลงของสถานะสสารนว้ี ่า
การกลายเปน็ ไอ ซ่ึงเมือ่ ดับไฟทีต่ ้มบีกเกอร์ จากนน้ั นากระจกนาฬกิ าทมี่ นี ้าแข็งก้อนวางอยู่ดา้ นบน
แล้วนามาวางบนปากบีกเกอร์ จะพบวา่ ไอน้าในบกี เกอร์ควบแนน่ บริเวณใต้กระจกนาฬกิ า
และเปลี่ยนสถานะจากไอนา้ เปน็ ของเหลว (หยดนา้ ) เรียกการเปลย่ี นแปลงของสถานะสสารน้ีวา่
การควบแนน่ และเม่ือนานา้ ในบกี เกอร์เทใส่หลอดทดลองปรมิ าตร 1/4 ของหลอด จากนนั้ นาไป
แช่ในชามนา้ แข็งป่นทผี่ สมเกลอื แล้วตง้ั ทิง้ ไว้ประมาณ 20 นาที พบว่าน้าในหลอดทดลองจับตวั
เปน็ กอ้ นและเปลีย่ นสถานะจากของเหลวเป็นของแข็ง เรียกการเปลี่ยนแปลงของสถานะสสารนวี้ า่
การแข็งตวั ”

8. นักเรยี นแต่ละคนทากิจกรรมหนูตอบได้ จากหนงั สอื เรียนวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 โดยตอบ
คาถามลงในสมุดประจาตัวนักเรยี น หรือแบบฝกึ หดั วทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2

ชว่ั โมงท่ี 4

ขั้นสอน

ข้นั ท่ี 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaborate)
9. นักเรียนแบ่งกลุ่ม (กลมุ่ เดมิ ) จากชั่วโมงทีผ่ า่ นมา จากน้ันให้แตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั ศกึ ษาค้นควา้ ข้อมลู
เกี่ยวกบั เรือ่ ง การเปลีย่ นสถานะของสสาร จากหนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ ป.5 เล่ม 2 หรอื
แหล่งการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต
10. ครสู มุ่ นักเรียน จานวน 4 คน ใหย้ กตวั อยา่ งการเปลี่ยนสถานะของสสารในชวี ิตประจาวนั
คนละ 1 ตวั อยา่ ง ดังนี้
 คนที่ 1 ให้ยกตวั อยา่ งการเปลยี่ นสถานะของสสารโดยการหลอมเหลว
 คนที่ 2 ใหย้ กตวั อย่างการเปลยี่ นสถานะของสสารโดยการกลายเป็นไอ
 คนที่ 3 ให้ยกตัวอยา่ งการเปลย่ี นสถานะของสสารโดยการควบแนน่
 คนท่ี 4 ใหย้ กตวั อยา่ งการเปล่ียนสถานะของสสารโดยการแข็งตัว

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก