นักเรียนสามารถนําวิธีการทางประวัติศาสตร์ทั้ง 5 ขั้นตอน ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้อย่างไรบ้าง

����Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ�� ���¶֧ ��кǹ����֡�� �鹤��� ����ͧ��������˵ء�ó�ҧ ����ѵ���ʵ�� ������ѡ�ҹ�ҧ����ѵ���ʵ�����դ�������ѹ��������§�Ѻ�������͹�������¹�ŧ ��ѧ�� ���֡�Ҩҡ�͡��÷�����͡��ê�鹵���Ъ���ͧ����ѡ��Сͺ����红������Ҥʹ�� �繡�кǹ��������㹡�����Ǻ�������������繡�кǹ��÷��ѡ����ѵ���ʵ��������鷴�ͺ ������ԧ�ͧ�ҹ�����ҡ����Ǻ����ͧ�ؤ����� ���ͤ������§���� �����Ѵਹ �դ�Ҥ�����������٧ �������ö���繻���ª��㹡�����������ѧ����
�� ��鹵͹�ͧ�Ըա�÷ҧ����ѵ���ʵ��
����֡�һ���ѵ���ʵ�� ��͡�кǹ����红����ŷ��١�Ǻ�����ШѴ�����ҧ���к� ��ͧ������Ըա�� �֡�ҷ����Ẻ੾�� �բ�鹵͹��ҧ � ��������Դ�ӴѺ��äԴ���ҧ���к� ���������ѡ�ҹ ��������ҧ � ͸Ժ������ͧ��Ǥ������Ңͧ�˵ء�ó�ҧ����ѵ���ʵ�� �������㨤��������ʹյ ��������§�Ѻ�����繨�ԧ�ҡ����ش ��觻�Сͺ���¢�鹵͹����Ӥѭ 4 ��鹵͹���

����֡�һ���ѵ���ʵ���� 4 ��鹵͹�ѧ���

1. ����Ǻ�����ФѴ���͡��ѡ�ҹ ������դ����Դ���ͧ�����͢�����ص԰ҹ���Ǽ���֡�Ҩ� ��ͧ�׺������ѡ�ҹ����ͧ����ФѴ���͡���ҧ���Ѵ���ѧ
2. �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ �繢�鹵͹������֡�ҵ�ͧ�ӡ�õ�Ǩ�ͺ ����������л����Թ�����ѡ�ҹ������� �� 2 �Ըդ��
������ (1) �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ��¹͡ �繡�� �����Թ
�����觾��٨����ѡ�ҹ����繢ͧ��ԧ���ͻ��� ������¡�� ���º��º�Ѻ
��ѡ�ҹ��蹫�觨��繵�ͧ�ͤ���������ͨҡ�������Ǫҭ ੾�д�ҹ
������ (2) �������������л����Թ�س�����ѡ�ҹ���� ��觵�Ǩ�ͺ
����������Ͷ�ͧ͢��ѡ�ҹ�¾Ԩ�óҤ����١��ͧ��Фس��Ңͧ������
�ҡ�������Դ�Ѻ�˵ء�ó� �ѡ��Ҿ��Фس�����ͧ ����֡��
3. ��õդ������� ��ѡ�ҹ �������ѡ�ҹ��ҹ������������л����Թ�س������� ����֡�ҵ�ͧ �դ�����ѡ�ҹ���ҧ������ºẺἹ���������Ҥ���������Ф����Ӥѭ������ԧ����ҡ� ���ѡ�ҹ�������ѹ��Ѻ����稨�ԧ�������ö��͸Ժ�¾ĵԡ������Ҿ�Ǵ��������ҧ���� ��ҧ ʶҹ��� ��кؤ��
4. ����ѧ����������� ��͡�ùӢ����ŷ����ҡ��õդ�����Т����ػ�����º���§������ͧ��� ��������ͧ �����׹ ������˵ؼ� ����֡�Ҥ鹤��ҷҧ��ҹ����ѵ���ʵ���鹵�ͧ༪ԭ�Ѻ��ѡ�ҹ ����դ����Ѻ��͹��ТѴ��駡ѹ�������� ����ʹ�� �آ�� �ͺ�ͺ ������º�Թ�� ��ʵԻѭ�� ���˵ؼ� ����Ѻ��˵ؼ���Ф�������ö�ͧ������ ��Ф���������ͨҡ�������Ǫҭ��ҹ��ҧ � �з���� ����ѵ���ʵ�� �դس����ҡ�͵�͡���֡�� ���С���֡�һ���ѵ���ʵ������èӡѴ������§����觷����ѹ�֡�ͺ ������¹�����¹��ҷ�����

Ref : //www2.se-ed.net/nfed/history/index_his.html 14/02/2008

  • จักรพันธ์ บุญวงค์ ม.3/2 เลขที่ 2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 4 ขั้นตอน

    • กลับไปอ่าน!!!!!!!!! ทบทวนดูใหม่นายไมค์ ยังไม่ถูกนะ

  • ด.ช.มณฑวรรษ จันต๊ะ ม.3/2 เลขที่5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์หมายถึงวิธีการที่ผู้ต้องการสืบค้นข้อมูลเรื่องราวในอดีต

  • ด.ช.ธัชธรรม เครือธิ เลขที่ 4 3/2 พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอ
    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • วริช บุญถา ม.3/2 เลขที่ 6 พูดว่า:

    ลำดับขั้นตอนทางประวัติศาสตร์
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • สุกัลย์ โคงาม เลขที่11 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์
    คือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในอดีต

  • ด.ญ.เพ็ญพรรณ จักรเขียว เลขที่ 23 ม.3/1 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการประวัติศาสตร์ได้สำรวจมาจากสิ่งของหรือวัสดุต่างๆที่เก็บรวบรวมได้มา และมีวิธีการประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนในการดำเนินงานในทางประวัติศาสตร์

  • ด.ญ.จุฑาทิพย์ คำเมืองใจ เลขที่ 16 ม.3/2 พูดว่า:

    1.ขั้นตอนทางประวัติศาสตร์มีดังนี้
    -.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    -.ตรวจสอบหลับฐาน
    -.การตีความหลักฐาน
    -.การนำเสนอข้อมูล
    2.ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และเป็นความรู้ที่เราต้องทราบเพื่อไปศึกษาต่อ

  • ด.ญ.สุทธิมลตรา เครือคำ ม.3/1 เลขที่27 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ (ขอขอบพระคุณ คุณครูสุดเฉลิม เป็นอย่างสูงค่ะที่ให้ความรู้แก่ดิฉัน)

  • ด.ญ.วิภาดา ปีติ ชั้น ม.3/2 เลขที่ 30 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    วิธีการทางประวัติศาสตร์สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่องราวต่างๆได้

  • พฤทธิ์ สุยะ เลขที่ 6 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการต้องๆที่ทำให้เราสืบค้นหาหลักฐานต่างๆมาวิเคราะห์ตรวจสอบแล้วมาเผยแพร่ให้ทุกคนได้รับรู้ถึงที่ไปที่มาของหลักฐานเพราะฉะนั้นผู้ที่วิเคราะห์ตรวจสอบหลักฐานต้องตรวจสอบอย่างละเอียด

  • ด.ญ.ศุภานัน แก้วน้อย ม.3/1 เลขที่31 พูดว่า:

    หลังจากศึกษาและดูวิดิโอแล้ว วิธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมดอยู่ 5ขั้นตอน
    1.กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา จะมีการตั้งประเด็นคำถาม ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร ทำไม อย่างไร เป็นคำถามที่ตอบได้ด้วย
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล มีการเกี่ยวข้องกับเรื่องหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    3.การตรวจสอบข้อมูล การรวบรวมดูว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    4.การตีความ เมื่อรวบรวมดูว่าถูกต้อง น่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใดแล้ว พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอ เป็นขั้นตอนสุดท้ายที่ต้องของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ตรวจสอบข้อมูล และเลือกสรร เพื่อตอบคำถาม

  • เด็กชายจิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ชั้นม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้ทราบว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ. กมลภรณ์ เพ็ชรทัต ม.3/2 เลขที่32 พูดว่า:

    ดิฉันได้ศึกษาทบทวนแล้ว ได้รู้ว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ดช. วรินทร กราวทอง ม.3/2 เลขที่12 พูดว่า:

    วิธีการประวัติศาสตร์คือผู้ที่ต้องการสืบค้นเรื่องราวในประวัติศาสตร์
    วิธีการทางประวัติศาสตร์แบ่งได้5ขั้นตอนดังนี้
    1เรื่องที่จะศึกษา
    2การรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบหลักฐาน
    4การตีความ
    5การนำเสนอ

  • ด.ญ.รัตนาภรณ์ ถาคำดี ม.3/2 เลขที่ 27 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มีความสำคัญคือ สามารถในการสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ที่น่าสนใจ การใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอนด้วยกันค่ะ

  • ด.ช.พัชรพล ชัยวิชิต ชั้น ม.3/4 เลขที่5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    2.การตรวจสอบหลักฐาน การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร อย่างไร
    4.การตีความหลักฐาน พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลก่อนจะไปนำเสนอเรื่องต่างๆได้แก่
    เรื่องทวีปแอฟริกา

    เย่ จบแล้วคับ เย่

  • เด็กชายศุภกร อ้อยยาวเลขที่9 3/2 พูดว่า:

    ขั้นตอนที่ 1 การตั้งประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ นักประวัติศาสตร์
    ขั้นตอนที่ 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณบิดเบือน

    ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่ง นักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง

    ขั้นตอนที่ 4 การคัดเลือกและประเมินข้อมูล นักประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้มาคัดเลือก และประเมินเพื่อค้นหาความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ต้องการทราบ

    ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรือ

  • วันเฉลิม ชำนาญยา ม.3/2เลขที่8 พูดว่า:

    จากการดูเเล้วว่าวิธีการประวัติศาสตร์ ที่สามารถสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับได้หลายอย่างวิธีการประวัติศาสตร์

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม. 3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์
    การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคตคับ

  • ด.ญ. วรกันต์ จันธิ เลขที่ 28 ม. 3/2 พูดว่า:

    ในการสืบค้น ค้นคว้าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่นจากหลักฐานทางวัตถุ
    ที่ขุดค้นพบ หลักฐานที่เป็นการบันทึกลายลักษณ์อักษร หลักฐานจากคำบอกเล่า ซึ่งการรวบรวม
    เรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์เหล่านี้ เรียกว่า “วิธีการทางประวัติศาสตร์”

  • ด.ช.นัทธพงศ์ วงศ์ขัติย์ 11ช. 3/5 พูดว่า:

    ผมได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    -การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    -การตรวจสอบหลักฐาน
    -การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -การตีความหลักฐาน
    -การนำเสนอข้อมูล
    ทำให้มีความรู้มากขึ้นขอบคุณครับ

  • ด.ช.ณัฐพล เดินอด เลขที่ 3 ม.3/2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เช่นวิธีที่ใช้สืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์

  • ด.ช.ชัชวาลย์ ธนะวงศ์ เลขที่12 ม.3/4 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้ทราบว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    จากที่ได้ดิฉันศึกษาค้นคว้าข้อมูลทำให้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน คือ
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ธนกร แสงแก้ว ชั้น ม.3/5 เลขที่ 2 พูดว่า:

    ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และในอนาคตของเรา

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.อังคนางค์ หวานใจ เลขที่ 29 ชั้น ม. 3/1 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.วิภาดา อินทร์ดี เลขที่ 25 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ศึกษา ทบทวนวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1. กำหนดหัวข้อที่จะศึกษา
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. การตรวจสอบหลักฐาน
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ณัติการณน์ เเก่นจันทน์ เลขที่20 ม.3/1 พูดว่า:

    จากการศึกษาเเล้วได้รู้ว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้นตอน

    การรวบรวมหลักฐาน
    การคัดเลือกหลักฐาน
    การวิเคราะห์ ตีความ ประเมินหลักฐาน
    การเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของหลักฐาน
    การนำเสนอข้อเท็จจริง

  • ด.ญ.ชัญญานุช ทิพย์เดโช ม.3/1 เลขที่ 19 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ชัญญานุช ทิพย์เดโช ม.3/1 เลขที่ 19 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความสำคัญคือ สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่อฃราวต่างๆ ที่สนใจได้ เช่น ซากคน ซากสัตว์ หรืออาจจะภาชนะเครื่องใช้ต่างๆ ในสมัยก่อน

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึกคำให้การ จดหมายเหตุ และที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้ำ เครื่องมือเครื่องใช้

  • ด.ญ.ชลลดา ปั๋นของ เลขที่ 18 ชั้น ม.3/1 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • อุดมพงษ์ วงค์รัตน์ เลขที่18 ม.3/3 พูดว่า:

    จากการที่ผมไดด้ดูในสมุดกับเว็ป ที่ครูฉุดเฉลิมเอาลงมาผมก๊ได้คิดว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์แบ่งได้5ขั้นตอนดังนี้นะคัป
    1เรื่องที่จะศึกษา
    2การรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบหลักฐาน
    4การตีความ
    5การนำเสนอ

  • ด.ญ. รัชนาท ฟูศรี เลขที่ 25 ม.3/3 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.อินทนนท์ คูคำ ม.302 เลขที่ 11 พูดว่า:

    จากที่ผมได้ศึกษาและสรุปว่า
    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ณัฐวุฒิ เเครื่องสนุก ม.3/3 เลขที่ 4 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • นัฐพล บุตรสุวรรณ์ 305 06 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ช. เนติพงษ์ สันกว๊าน ม.3/3 เลขที่ 6 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน ดังนี้
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.นัฐพงษ์ บุตรสุวรรณ์ ม.3/3 เลขที่ 8 พูดว่า:

    ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์ คือ
    ศึกษาเพื่อนำไปใช้จริงในชีวิตประจำวันของเรา และในอนาคตของเรา

  • ด.ช.พงศ์ภรณ์ สุภารมย์ 3/3 เลขที่ 13 พูดว่า:

    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    เป็นขั้นตอนแรกของวิธีการศึกษาหาความรู้ โดยตั้งประเด็นคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่จะศึกษา
    ตัวอย่าง ประเด็นการศึกษาเกี่ยวกับภูมิภาคอาจเป็นเรื่องที่อยู่ใกล้ตัว และขยายขอบเขต
    การศึกษาออกไปเป็นระดับอำเภอ ระดับจังหวัด และระดับภูมิภาค เช่น
    ประวัติวัดสำคัญในชุมชน / อำเภอ / จังหวัด / ภูมิภาค
    สถานที่สำคัญในท้องถิ่น / จังหวัด / ภูมิภาค
    บุคคลสำคัญในท้องถิ่น / จังหวัด / ภูมิภาค
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    เมื่อมีประเด็นที่จะศึกษาแล้ว ขั้นต่อมาคือ การค้นคว้าและรวบรวมหลักฐานข้อมูล
    ทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้นและหลักฐานชั้นรอง หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานที่ไม่เป็น
    ลายลักษณ์อักษร หลักฐานชั้นต้นลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เป็นของร่วมสมัยหรือเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง
    ตัวอย่างได้แก่ ข้อมูลจากการสอบถามผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ บันทึกของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์
    ภาพถ่าย วีดิโอเทป สิ่งของเครื่องใช้ สิ่งก่อสร้าง เป็นต้น หลักฐานชั้นรอง
    ลักษณะ เป็นหลักฐานและข้อมูลที่เขียนหรือรวบรวมไว้ภายหลังเหตุการณ์นั้นเกิดขึ้น
    โดยใช้ข้อมูลจากหลักฐานชั้นต้น หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
    ลักษณะ เป็นหลักฐานข้อมูลที่เป็นตัวหนังสือ
    ตัวอย่างได้แก่ จารึก พงศาวดาร จดหมายเหตุ หนังสือพิมพ์ จดหมาย บันทึก
    เอกสารทางราชการ เป็นต้น

  • ด.ช.นิติพงษ์ กันทะพงษ์ ม.3/3 เลขที่ 9 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน

    จากากรดูวิดีโอ

    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่

    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.ขจิตจัทร์ จันทะภา ม.3/2 เลขที่ 33 พูดว่า:

    จากที่ดฺฉันดูคลิปแล้วดิฉันรู้ว่าวิธิการทางประวัติศาสตร์ เป็นขั้นตอนแรก ของนักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด ซึ่งมันเป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา ของนักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

  • ด.ญ.เจนจิรา ชุ่มวงค์ เลขที่ 20 ม.3/3 พูดว่า:

    จากการที่ีดิฉันได้ศึกษา ทำให้ดิฉันได้รู้ว่า วิธีทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1. การค้นหาและรวบรวมข้อมูล
    2. การตรวจสอบหลักฐาน
    3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอน
    1กำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา
    2ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3การตรวจสอบข้อมูล
    4การตีความ
    5การนำเสนอ
    และวิธีทางประวัติศาสตร์ก็คล้ายกับวิธีทางวิทยาศาสตร์

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์
    คือวิธีการที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในอดีต ค่ะ

  • ด.ช.จิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาทำให้ผมทราบว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

  • ด.ช.จิรภัทร คำเรือง เลขที่ 1 ม.3/1 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาทำให้ผมทราบว่า นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

  • ด.ญ.วลัยลักษณ์ ปานสมุทร ม.3/3 เลขที่26 พูดว่า:

    จากที่ดิฉันได้ดูคลิปวีดีโอนี้แล้ว ทำให้ดิฉันรู้ถึงวิธีทางประวัติศาสตร์ว่า มี 5 ขั้นตอน

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอได้รู้ว่า
    ประวัติศาสตร์ เป็นการศึกษาเรื่องราวหรือเหตุการณ์ในอดีตของมนุษย์ทุกด้านทั้งด้านความคิด การประดิษฐ์ ความเจริญรุ่งเรือง ความสำเร็จ ความขัดแย้ง ความร่วมมือ ความเสื่อม รวมทั้งการเปลี่ยนแปลง ซึ่งนับตั้งแต่มนุษย์ในยุคแรกตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์โดยนับเวลาถอยหลังย้อนไปกว่า 3 ล้านปี จนกระทั่งมนุษย์ได้เริ่มเข้าสู่ยุคประวัติศาสตร์เมื่อประมาณ 5,000 ปีที่ผ่านมา โดยมีมิติของช่วงเวลา และหลักฐานของประวัติศาสตร์ พร้อมทั้งนำวิธีการทางประวัติศาสตร์มาช่วยในการศึกษาประวัติศาสตร์

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอได้รู้ว่า มีหลักฐานมากมายเช่นตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

  • ดช.อิทธิมนต์ ยาเตชะ 305 13 พูดว่า:

    จากได้ดูวีดีโอนี้แล้วได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ มาอยู่ 5 ขั้น ตอนเป็นต้น

  • ด.ช.อภิสิทธิ์ เครือธิ ม.3/2 เลขที่10 พูดว่า:

    วีธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมด5 ขั้นตอน 1.การค้นหาเเล้วรวบรวมข้อมูล 2. การตรวจสอบหลักฐาน 3. การกำหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา 4. การตีความหลักฐาน เเละ 5. การนำเสนอข้อมูล

  • ศึกษาแล้วได้รู้ว่าขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์มีดั้งนี้
    ขั้นที่ 1 กำหนดประเด็นปัญหา
    ขั้นที่ 2 รวบรวมหลักฐาน
    ขั้นที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นที่ 4 ตีความหลักฐาน
    ขั้นที่ 5 เรียบเรียงแล้วนำเสนอ

    -_-ไม่ง่ายเลยที่จะรู้ว่าหลักฐานนั้นเป็นจริงหรือเท็จ-_-

  • ด.ญ.พัทธ์ธีรา ทำทอง เลขที่25 ชั้นม.3/2 พูดว่า:

    ได้รู้เรื่องเกี่ยวกับวิธีการทางประวัติศาสตร์มี5ขั้นตอนดังนี้
    1กำหนดเป้าหมาย
    2รวบรวมข้อมูล
    3ประเมินหลักฐาน
    4ตีความ
    5วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ.จิรัชญา ชุ่มวงค์ ม.3/2 เลขที่ 14 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1.การค้นคว้ารวบรมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    และนี่คือวิธีการทางประวัติศาสตร์ ค่ะ

  • เสกสรรค์ เดชอุดม เลขที่9 ม.3/4 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคต

  • ด.ญ.ณัฐชา ยาดี ม.3/3 เลขที่23 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ฐิติรัตน์ เฟื่องฟู เลขทิ่22 ม.3/3 พูดว่า:

    ป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ
    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. ปาริชาต รายณะสุข พูดว่า:

    ลำดับขั้นตอนทางประวัติศาสตร์
    1.กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2.ค้นคว้าแล้วรวบรวมข้อมูล
    3.ตรวจสอบหลับฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    เราสามารถใช้วิธีทางประวัติศาสตร์เพื่อมาตีความว่าหลักฐานที่เราได้มานั้น มีความเป้นมาอย่างไร

  • อภิปรัชญ์ ชุ่มวงศ์ 304 14 พูดว่า:

    ประวัติศาสตร์มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะจะทำให้เราได้ทราบถึงเรื่องราวต่างๆ และเห็นคุณค่าของสิ่งนั้นค่ะ ซึ่ง
    ขั้นตอนวิธีการประวัติศาตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนดังนี้ค่ะ
    1.กำหนดหัวจ้อที่จะศึกษา
    2.รวบรวมข้อมูล
    3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    4.การตีความหลักฐาน
    5.วิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ. เสาวณีย์ สมัครผล ม.304 เลขที่ 23 พูดว่า:

    จากการที่ดิฉันได้ศึกษาดูในเรื่อง วิธีการทางประวัติศาสตร์
    วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง วิธีการที่ผู้ต้องการสืบค้นเรื่องราวในอดีต
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. ตรวจสอบหลักฐาน
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. พลอยศิริ วิชัยโน ชั้น ม.3/4 เลขที่21 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาตร์มีความสำคัญ คือ สามารถใช้ในการสืบค้นเรื่องราวต่าง ๆ ที่สนใจได้ เช่น การหาความรู้เกี่ยวกับ โรงเรียน วัด ชุมชน จังหวัด

  • ด.ญ. จามรีย์ เมืองสุวรรณ ม3/3 เลขที่ 21 พูดว่า:

    สามารถสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับได้หลายอย่างวิธีการประวัติศาสตร์ได้ง่าย

  • วัชรพงค์ ฟูแสง พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีที่เกี่ยวข้องกับประวัติสตร์ใช้เพื่อค้นคว้าหาข้อมูลในประวัติศาสตร์
    ซึ่งมีอยู่ 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช. ณัฐวัฒน์ ศีลลัย เลขที่3 303 พูดว่า:

    หลังฐานชั้นรอง หมายถึง หลักฐานที่รวบรวมไว้ภายหลังเหตูการณ์ โดยได้ข้อมูลจากการใช้ข้อมูลหลักฐานชั้นต้น เช่น ตำนาน

  • อินทัช กันตรี เลขที 11 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น สนธิสัญญา บันทึกคำให้การ จดหมายเหตุ และที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ภาพเขียนสีผนังถ้ำ เครื่องมือเครื่องใช้

    จากที่ได้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • สิทธิพร ทิศรีไชย เลขที 10 ชั้น ม 3/4 พูดว่า:

    จากากรดูวิดีโอ
    วิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย
    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน
    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมู

  • ด.ญ.ศิริธร ยอดมณี เลขที่.23 ม.3/5 พูดว่า:

    จากศึกษาแล้วรู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน

    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.กฤติยา ไชยา ม.3/5 เลขที่ 15 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีการประวัติศาสตร์ได้สำรวจมาจากสิ่งของหรือวัสดุต่างๆที่เก็บรวบรวมได้มา และมีวิธีการประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนในการดำเนินงานในทางประวัติศาสตร์ ได้แก่ 1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.ช่อลัดดา อดทน ชั้น ม.3/2 เลขที่ 19 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.พิชนันท์ นักหล่อ ชั้น ม.3/5 เลขที่ 19 พูดว่า:

    ดิฉันด้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ. ศศิวิมล ไชยกุล ชั้นม.3/5 เลขที่22 พูดว่า:

    ดิฉันด้ศึกษาแล้วได้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช. ณัฐภณ ใจยืน เลขที่ 10 ม.305 พูดว่า:

    จากการดูวิดีโอแล้ว ได้รู้วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา คับ

  • ด.ช.ธนกร สมเครือ เลขที่ 3 ม 3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความสำคัญคือ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ช.ธนกร แสงแก้ว เลขที่ 2 ม.3/5 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีอยู่ทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล

  • พิรุฬห์กร โยวัง 3/5 เลขที่ 7 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์ เป็นวิธีการขั้นพื้นฐานที่เราจะต้องนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันและในอนาคตของเรา วิธีการทางประวัติศาสตร์ทำให้เราได้รู้ถึงเรื่องต่างๆที่เราต้องการรู้โดยเป็นวิธีการที่เป็นระบบ ระเบียบ

  • อชิตพล ทองจินดา 3/5เลขที่9 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล หลักฐานชั้นต้น ได้แก่ ข้อมูลสอบถามจากผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์ หลักฐานชั้นรอง ได้แก่ บทความทางวิชาการหนังสือต่างๆ
    2.การตรวจสอบหลักฐาน การวิพากษ์กหลักฐานแบ่งออกเป็น 2 ข้อย่อย -วิพากษ์ภายนอก -วิพากษ์ภายใน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา ได้แก่ ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อใร อย่างไร
    4.การตีความหลักฐาน พิจารณาความหมายในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาแอบแฝงหรือไม่ อย่างไร
    5.การนำเสนอข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลก่อนจะไปนำเสนอเรื่องต่างๆได้แก่
    เรื่องทวีปแอฟริกา

  • ด.ช. ภูตะวัน พะแดงโค ม.3/5 เลขที่ 8 พูดว่า:

    ผมได้รู้ว่าวิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน
    -การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    -การตรวจสอบหลักฐาน
    -การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    -การตีความหลักฐาน
    -การนำเสนอข้อมูล
    ทำให้มีความรู้มากขึ้นขอบคุณครับ

  • ด.ช.กฤตเมธี บุญวงค์ เลขที่ 1 3/3 พูดว่า:

    จากที่ได้ศึกษาแล้ว ทำให้รู้ว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน
    1.การค้นคว้ารวบรมข้อมูล
    2.การตรวจสอบหลักฐาน
    3.การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4.การตีความหลักฐาน
    5.การนำเสนอข้อมูล
    และนี่คือวิธีการทางประวัติศาสตร์ ค่ะ

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่า ประวัติศาสตร์คือ การศึกษาเรื่องราวและพฤติกรรมของสังคมมนุษย์ในอดีต ซึ่งเกิดขึ้นในช่วงเวลาและยุคสมัยต่างๆกัน คุณค่าสำคัญของประวัติศาสตร์คืออดีตเป็นบทเรียนที่สำคัญสำหรับปัจจุบันและอนาคต

  • ด.ญ.ดวงกมล ยงเขตรการณ์ ม3/1 เลขที่ 22 พูดว่า:

    ได้รู้ว่าวิธีทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน ได้แก่

    ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

    ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล

    ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐาน

    ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล

  • ด.ญ. ชนาภา เมืองมา ม.3/2 เลขที่ 18 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอน 1. การค้นคว้าข้อมูล 2. การตรวจสอบ 3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา 4. การตีความ 5. การนำเสนอ และได้เข้าใจหลักการ การอ่าน การสังเกต และต้องความเฉลียวฉลาดในการค้นคว้า ค่ะ

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    จากการที่ีดิฉันได้ศึกษา ทำให้ดิฉันได้รู้ว่า วิธีทางประวัติศาสตร์ มี 5 ขั้นตอน ได้แก่
    1. การค้นหาและรวบรวมข้อมูล
    2. การตรวจสอบหลักฐาน
    3. การกำหนดเรื่องที่จะศึกษา
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การนำเสนอข้อมูล

  • ด.ญ.สิตานันท์ คำสุ ชั้น ม.3/1 เลขที่ 26 พูดว่า:

    หลักฐานชั้นต้น หมายถึง หลักฐานที่บันทึก สร้าง หรือจัดทำขึ้น โดยผู้เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์นั้นโดยตรง มีทั้งที่เป็นลายลักษณ์อักษรและที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

  • ด.ญ.ดาวอนงค์ พงษ์ขาว เลขที่ 32 ม.3/1 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัิติศาสตร์ มีอยู่ 5 ขั้นตอนค่ะ
    ขั้นตอนที่ 1 การตั้งประเด็นที่จะศึกษา นับว่าเป็นขั้นตอนแรกของวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่ นักประวัติศาสตร์ หรือผู้สนใจทางประวัติศาสตร์มีความสนใจอยากรู้ เหตุการณ์ประวัติศาสตร์ตอนใดตอนหนึ่ง โดยตั้งประเด็นคำถามว่า ศึกษาเรื่องอะไรในช่วงเวลาใด ทำไมจึงต้องศึกษา

    ขั้นตอนที่ 2 สืบค้นและรวบรวมข้อมูล ข้อมูลทางประวัติศาสตร์ คือ หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สามารถสอบสวนเข้าไปให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นได้ ประกอบด้วยหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น โบราณสถาน โบราณวัตถุ คำบอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์ และหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น ศิลาจารึก จดหมายเหตุ บันทึกและเอกสารต่างๆ ในการสะสม และรวบรวมข้อมูล ต่าง ๆ เหล่านี้ นักประวัติศาสตร์จำเป็นต้องใช้วิจารณญาณของตนสำรวจ เนื่องจากข้อมูลแต่ละประเภทเป็นผลิตผลที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยมีจุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นต้องค้นหาต้นตอหรือสาเหตุของข้อมูลอย่างลึกซึ้งเท่าที่จะทำได้ เพื่อป้องกันมิให้ข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ถูกบิดเบือน

    ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่ง นักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง

    ขั้นตอนที่ 4 การคัดเลือกและประเมินข้อมูล นักประวัติศาสตร์จะต้องนำข้อมูลที่ได้รวบรวมไว้มาคัดเลือก และประเมินเพื่อค้นหาความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ต้องการทราบ

    ขั้นตอนที่ 5 การเรียบเรียงรายงานข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ได้รับอันเป็นผลมาจากการวิเคราะห์และการตีความข้อมูล หรืออธิบายข้อสงสัย เพื่อนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบ ตลอดจนความรู้ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าในรูปแบบการรายงานอย่างมีเหตุผล

  • ด.ญ. จตุพร ยิ้มโปรยคำ เลขที่13 ม.3/2 พูดว่า:

    วิธีการทางประวัติศาสตร์มี 5 ขั้นตอนค่ะ
    1. กำหนดเรื่องที่จะศึกษา / ตั้งประเด็นคำถาม
    2. ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
    3. การวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูล
    4. การตีความหลักฐาน
    5. การเรียนเรียงและนำเสนอ

  • Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก