บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป

  • หน้าหลัก
  • รายละเอียด: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป :

Khwāmrū bư̄angton kīeokap kotmāi thūapai : trīam sō̜p khao nitisāt / Phansawat Phūnthō̜ngphan, Praphatphong Prīchā, ʻAnuwat Bunyanan.

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป : เตรียมสอบเข้านิติศาสตร์ / พรรษวัฒน์ พูนทองพันธ์, ประพัฒน์พงศ์ ปรีชา, อนุวัฒน์ บุญนันท์.
(Text)

พรรษวัฒน์ พูนทองพันธ์, 2528- ประพัฒน์พงศ์ ปรีชา | อนุวัฒน์ บุญนันท์, 2527-

Call no.: KPT68 .พ445 2557Publication: Krung Thēp... : Bō̜risat Samnakphim Winyūchon Čhamkat, 2557 [2014] Publication: กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์วิญญูชน จำกัด, 2557 [2014]Edition: Phim khrang thī 6, kǣkhai phœ̄mtœ̄m. Edition: พิมพ์ครั้งที่ 6, แก้ไขเพิ่มเติมDescription: 325 หน้าISBN: 9786162692512; 6162692515Other title: Trīam sō̜p khao nitisāt khwāmrū bư̄angton kīeokap kotmāi thūapai Other title: เตรียมสอบเข้านิติศาสตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป [Spine title]Subject(s): กฎหมาย -- ไทยกฎหมาย -- ไทย -- คำถามและแบบฝึกหัดLOC classification: KPT68 | .พ445 2557

Contents:ภาค 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป -- บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป -- ภาค 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- บทที่ 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- บทที่ 3 กฎหมายลักษณะบุคคล -- บทที่ 4 กฎหมายลักษณะนิติกรรม -- บทที่ 5 กฎหมายลักษณะหนี้ -- บทที่ 6 กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา -- บทที่ 7 กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน -- บทที่ 8 กฎหมายลักษณะครอบครัว -- บทที่ 9 กฎหมายลักษณะมรดก -- ภาค 3 กฎหมายอาญา -- บทที่ 10 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป -- บทที่ 11 กฎหมายอาญาภาคความผิด -- ภาค 4 กฎหมายมหาชน -- บทที่ 12 กฎหมายรัฐธรรมนูญ -- บทที่ 13 กฎหมายปกครอง -- ภาค 5 กฎหมายพิเศษ -- บทที่ 14 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา -- บทที่ 15 กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน -- ภาค 6 แบบฝึกหัดและเฉลย -- บทที่ 16 แบบฝึกหัด -- บทที่ 17 เฉลยแบบฝึกหัด.

แท็ก: ไม่มีแท็กจากห้องสมุดสำหรับชื่อเรื่องนี้

  • รายการฉบับพิมพ์ ( 6 )
  • Title notes ( 1 )
  • สารบัญ

ภาค 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป -- บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป -- ภาค 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- บทที่ 2 กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- บทที่ 3 กฎหมายลักษณะบุคคล -- บทที่ 4 กฎหมายลักษณะนิติกรรม -- บทที่ 5 กฎหมายลักษณะหนี้ -- บทที่ 6 กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา -- บทที่ 7 กฎหมายลักษณะทรัพย์สิน -- บทที่ 8 กฎหมายลักษณะครอบครัว -- บทที่ 9 กฎหมายลักษณะมรดก -- ภาค 3 กฎหมายอาญา -- บทที่ 10 กฎหมายอาญาภาคทั่วไป -- บทที่ 11 กฎหมายอาญาภาคความผิด -- ภาค 4 กฎหมายมหาชน -- บทที่ 12 กฎหมายรัฐธรรมนูญ -- บทที่ 13 กฎหมายปกครอง -- ภาค 5 กฎหมายพิเศษ -- บทที่ 14 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา -- บทที่ 15 กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน -- ภาค 6 แบบฝึกหัดและเฉลย -- บทที่ 16 แบบฝึกหัด -- บทที่ 17 เฉลยแบบฝึกหัด.

คลิกที่รูปภาพเพื่อดูในตัวแสดงภาพ

    ห้องสมุด:

    กฎหมาย เป็นเครื่องมือชนิดหนึ่งท่ีใช้ควบคุม ความ
    ประพฤติหรือเป็นแนวทางปฏิบัติในสังคม โดยกฎหมายนั้นมีท่ีมา
    ห รื อ แ น ว ท า ง ค ว า ม คิ ด ท่ี พั ฒ น า ม า จ า ก ศี ล ธ ร ร ม จ ร ร ย า
    ขนบธรรมเนยี มประเพณี ปฏิบัติ โดยมีจุดมงุ่ หมายหรือวัตถุประสงค์
    เพ่ือรักษาความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดีของประชาชนใน
    สังคม เพ่ือให้การอยู่ร่วมกันของคนในจานวนมากไม่เกิดปัญหาใดๆ
    และเพ่ือสะทอ้ นถงึ ความตอ้ งการของสมาชิกในสงั คมทุกภาคส่วน

    “ท่ใี ดมมี นษุ ย์ ทีน่ ั้นมสี งั คม ที่ใดมสี งั คม ทีน่ ้ันมกี ฎหมาย”

    ความหมายของ “กฎหมาย”

    1.1 สานักกฎหมายธรรมชาติ
    เน้นเร่ืองเหตุผลและความถูกต้อง โดยถือว่าเหตุผลและ

    ความถกู ต้องมคี ณุ ค่าสงู ส่งเหนอื กว่าอานาจของผปู้ กครอง
    ดังนั้น สานักกฎหมายธรรมชาติ จึงเห็นว่า “กฎหมาย”

    คือ เหตุผลท่ีถูกต้อง ซ่ึงมนุษย์ทุกคนสามารถรับรู้ได้ด้วย
    ตนเองเพราะเป็นสิง่ ทอ่ี ยู่ภายในจิตใจของมนษุ ย์ทกุ คน

    1.2 สานักกฎหมายบ้านเมอื ง
    เป็นสานักความคิดที่เน้นเร่ืองอานาจของผู้ปกครอง โดย

    ถือว่าอานาจหรือคาสั่งของผู้ปกครองเป็นส่ิงท่ีมีสถานะสูงสุด ไม่มี
    ส่ิงใดมาขดั หรอื แย้งกบั อานาจหรือคาสั่งดังกล่าวได้

    ดังนั้น สานักกฎหมายบ้านเมือง จึงเห็นว่า “กฎหมาย” คือ
    คาสั่งของรฏั ฐาธิปัตย์ (อานาจอธิปไตย) ซึ่งมีเน้ือหาชัดเจนแน่นอน
    บงั คับให้ประชาชนต้องปฏิบัติตาม หากฝา่ ฝืนย่อมได้รับโทษ

    1.3 สานักกฎหมายประวัตศิ าสตร์
    กฎหมายพัฒนามาจากศีลธรรมจนได้รับการ

    ยอมรับว่าเป็นส่ิงท่ีถูกต้องและทุกคนต้องปฏิบัติตาม
    กฎหมายไม่หยุดนิง่ ตายตัว แต่จะมีวิวัฒนาการไปตาม
    สงั คม กฎหมายจงึ ไม่ใชเ่ ร่อื งที่ใครจะบญั ญตั หิ รือสั่งได้
    ทันทีทันใด

    สรุปได้ว่า “กฎหมาย” หมายถึง กฎเกณฑ์ท่ี
    เป็นแบบแผนความประพฤติของมนุษย์ในสังคมซ่ึงมี
    กระบวนการบังคับทเ่ี ปน็ กิจจะลักษณะ

    ลกั ษณะของ “กฎหมาย”

    1) กฎหมายเปน็ คาสงั่ หรือข้อบงั คับ
    2) กฎหมายจะตอ้ งออกมาจากผูม้ ีอานาจภายในรัฐ (รัฏฐาธปิ ัตย์)
    3) กฎหมายจะตอ้ งใชบ้ ังคับได้เป็นการท่ัวไป
    4) กฎหมายจะต้องใชบ้ ังคบั ไดเ้ สมอไปจนกว่าจะมีคาสัง่ ให้ยกเลิกกฎหมายน้นั
    5) กฎหมายจะตอ้ งมีสภาพบงั คับ

    ววิ ฒั นาการของกฎหมายไทย

    สมยั สโุ ขทยั
    จากหลักฐานทค่ี ้นพบโดยพิจารณาจากศิลาจารึก จะเห็นได้
    ว่าในสมัยสุโขทัยมีการกาหนดกฎหมายใช้อยู่แล้วหลายลักษณะ
    เช่น กฎหมายลักษณะโจร กฎหมายว่าด้วยการร้องทุกข์ กฎหมาย
    ลักษณะท่ีดินและทรัพย์ ซ่ึงการท่ีเราศึกษาจากศิลาจารึกจะทาให้
    เห็นได้ว่าในสมัยสุโขทัยนั้น รูปแบบของกฎหมายจะเป็นไปใน
    ลกั ษณะจารตี ประเพณที ี่คนทุกคนยดึ ถอื ปฏิบัติโดยองิ จากศีลธรรม
    เป็นหลกั แตไ่ ม่ไดบ้ ญั ญัตไิ ว้เปน็ ลายลกั ษณ์อักษรอย่างชดั เจน

    แต่ในขณะเดียวกันดินแดนที่อยู่ทางตอนเหนือใกล้ๆกับสุโขทัยก็ได้มีการ
    ตง้ั ราชธานีขน้ึ มาโดยพระเจา้ มังรายซึ่งเป็นพระสหายกับพ่อขุนรามคาแหง โดยใช้
    ช่ือว่าอาณาจักร ล้านนา มีพระเจ้ามังรายเป็นปฐมกษัตริย์ ได้โปรดให้จารึก
    กฎหมายไว้ในใบลาน เรียกกันว่า “มังรายศาสตร์” หรือ “วินิจฉัยมังราย” โดย
    ได้รับอิทธิพลมาจากคัมภีร์ พระธรรมศาสตร์ ซ่ึงเปน็ คัมภีร์เก่าแก่ของอินเดียผ่าน
    ทางมอญ ทาให้มังรายศาสตร์ถือเป็นกฎหมายท่ีรวบรวมบทบัญญัติต่างๆทั้ง
    ในทางแพง่ อาญาและมีการกาหนดโทษ

    สมัยอยธุ ยา

    หลังจากพระเจ้าอู่ทองได้สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรใหม่ในแถบลุ่ม
    แม่น้าเจ้าพระยาและภาคกลางได้ กรุงศรีอยุธยาก็เริ่มปกครองท่ีอิงหลักหรือได้รับ
    อทิ ธพิ ลจาก อินเดีย

    โดยกฎหมายท่ีสาคัญในสมัยน้ีมีลักษณะเป็นลายลักษณ์อักษรมากขึ้น
    กล่าวคือ กรุงศรีอยุธยาได้นาเอาคัมภีร์ พระธรรมศาสตร์ โดยนาเข้าจากมอญและ
    ลักษณะของคัมภีร์ถือเป็นประกาศิตจากสวรรค์ซึ่งถือว่ามีความศักด์ิสิทธิ์และเป็น
    อมตะ ถอื เป็นของสูง ทผ่ี ู้เปน็ กษตั ริยจ์ ะนาไปใช้ในการปกครองราษฎร

    นอกจากน้ียังมี พระราชศาสตร์ ซึ่งเป็นคาบรม
    ราชวินิจฉัยอรรถคดีต่างๆที่กษัตริย์ได้ทรงมีพระบรม
    ราชวินิจฉัยเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ในราชการแผ่นดินหรือ
    สภาพบุคคลในสังคม โดยพระบรมราชวินิจฉัยนั้นๆ มี
    ข้อแม้ว่าจะต้องไม่ขัดต่อ คัมภีร์พระธรรมศาสตร์
    นอกจากน้ีก็จะมีกฎหมายท่ัวไปที่พระเจ้าแผ่นดินทรง
    ตราขึ้นมาเพื่อกาหนดกฎเกณฑ์ ในพระราชอาณาจักรซึ่ง
    เรียกชื่อรวมว่า “พระราชกาหนดบทพระอัยการ”

    สมัยรตั นโกสนิ ทร์

    ในยุคสมัยกรุงรัตนโกสินทร์มี พระอัยการ เป็นกฎหมายที่มีลักษณะเป็น
    กฎหมายแมบ่ ทเรยี กชอ่ื ว่า กฎหมายตราสามดวง เปรยี บได้กบั รฐั ธรรมนูญ

    ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    (รชั กาลที่ 5) พระองค์มพี ระประสงค์ใหป้ ฏริ ปู บ้านเมืองให้ทัดเทียมกับ
    ชาติตะวันตก และด้วยเหตุท่ีรัชกาลท่ี 4 เราได้เสียสิทธิสภาพนอก
    อาณาเขต โดยสาเหตุประการหน่ึงคือ การที่ระบบกฎหมายของเรา
    ชาวต่างชาติมองว่าล้าหลัง ป่าเถ่ือน และจะไม่ยอมขึ้นศาลไทยเป็น
    อันขาด ทาให้ศาลไทยไม่สามารถดาเนินคดีกับชาวต่างชาติหรือ
    บรรษัทของชาวตา่ งชาติได้

    เมื่อรชั กาลท่ี 5 ขน้ึ ครองราชย์จึงได้ทรงพระกรุณาโปรด
    เกล้าใหป้ ฏริ ปู ระบบศาลและจัดระบบกฎหมายเสียใหม่ โดยทรง
    แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจชาระกฎหมายและจัดทาร่าง
    กฎหมายในปี พ.ศ.2440 โดยมพี ระประสงค์จะให้ประเทศไทยใช้
    ระบบกฎหมายแบบ ซิวลิ ลอว์ (Civil Law)

    ซ่ึงคณะกรรมการร่างกฎหมายประกอบด้วยนักกฎหมาย
    ชาวไทยและที่ปรึกษาชาวต่างประเทศ เช่น ญี่ปุ่น เบลเย่ียม
    ฮอลันดา โดยได้ดาเนินการร่างกฎหมาย อาทิเช่น กฎหมาย
    ลักษณะอาญา กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ กฎหมายวิธีพิจารณา
    ความแพ่ง กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ฯลฯ ซึ่งกฎหมาย
    ลกั ษณะอาญาไดร้ ่างเสร็จในปี พ.ศ.2451 ถือเป็น “ประมวลกฎหมาย
    ฉบับแรกของไทย” โดยใช้ชือ่ “กฎหมายลักษณะอาญา ร.ศ. 127

    ระบบกฎหมาย

    1. ระบบกฎหมายลายลักษณอ์ ักษร (Civil Law)
    1.1 ความเปน็ มา

    มีรากฐานมากจากชาวโรมัน โดยในรัชสมัย จักรพรรดิจัสติเนียน
    (Justinian) พระมหากษัตริย์ชาวโรมันทรงโปรดให้นักกฎหมายรวบรวม
    กฎหมายของโรมันให้ระบบ เป็นประมวลกฎหมายที่เรียก Corpus Juris
    Civillis หรือประมวลกฎหมายจสั ติเนียน

    1.2 แนวความคิดเกยี่ วกับคาพพิ ากษา
    คาพิพากษาในคดีก่อน (Precedent) ไม่ถือว่าเป็นบรรทัด

    ฐานหรือเป็นข้อผูกมัดท่ีศาลหรือผู้พิพากษาในคดีหลังจะต้อง
    ตัดสินหรือพิพากษายึดตาม แตกต่างจากประเทศท่ีใช้ระบบ
    กฎหมายคอมมอนลอว์ซึ่งถือว่า คาพิพากษาเป็นบรรทัดฐานท่ีผู้
    พพิ ากษาหรือศาลในคดหี ลงั หรือคดตี ่อมาต้องยึดถือไว้

    1.3 ประมวลกฎหมาย
    มักมีการจัดทาประมวลกฎหมายขึ้นเพ่ือเป็นการรวบรวมตัวบท

    กฎหมายประเภทเดียวกันที่กระจัดกระจายอยู่เข้าด้วยกัน โดยจัดให้เป็น
    หมวดหมู่และมขี ้อความเก่ยี วเนือ่ งกันอย่างเปน็ ระบบ

    1.4 กล่มุ ประเทศท่ใี ช้ระบบกฎหมาย (Civil Law)

    2. ระบบกฎหมายไม่เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร (Common Law)
    2.1 ความเปน็ มา
    มีท่ีมาจากประเทศ อังกฤษ ซ่ึงอาศัยการนาคาพิพากษาของศาลใน

    คดีก่อนมาเป็นหลักในการพิพากษาหรือวินิจฉัยในคดีหลังที่มีข้อเท็จจริง
    ทานองเดียวกันจนเกิดเป็นหลักเกณฑ์ทั่วไป กล่าวอีกนัยหน่ึง คือ คาตัดสิน
    ของผู้พิพากษาเป็นที่มาประการหนึ่งของหลักเกณฑ์กฎหมาย อย่างไรก็ตาม
    ในประเทศท่ีใช้ระบบกฎหมาย คอมมอนลอว์เองก็มีการตรากฎหมายท่ีเป็น
    ลายลักษณอ์ ักษรขึ้นมาใชบ้ งั คบั เชน่ เดียวกนั

    2.2 ระบบลูกขนุ
    ในประเทศอังกฤษระบบลูกขุนถือว่าเป็น

    ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม บ ท บ า ท ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ใ น
    กระบวนการยุติธรรม ลูกขุนเป็นบุคคลธรรมดา
    ท่ีถกู เรียกมาให้พิจารณาข้อเท็จจริงของคดี ส่วน
    ผ้พู ิพากษาเป็นผวู้ ินิจฉัยขอ้ กฎหมาย

    2.3 กล่มุ ประเทศท่ใี ช้ระบบกฎหมาย Common Law

    ประเภทของ “กฎหมาย”

    1. แบง่ ตามรปู แบบของกฎหมาย

    1.1 กฎหมายลายลกั ษณอ์ กั ษร Civil Law
    คือ กฎหมายที่บัญญัติข้ึนโดยผ่านกระบวนการในการ

    ตรากฎหมายตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติ เช่น พระราชบัญญัติ
    พระราชกาหนด

    1.2 กฎหมายไมเ่ ปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร
    คือ กฎหมายท่ีไม่ได้บัญญัติข้ึน โดยผ่านกระบวนการในการ

    ตรากฎหมายท่ีรัฐธรรมนูญบัญญัติ เช่น กฎหมายจารีตประเพณี
    หลกั กฎหมายท่วั ไป

    2. แบ่งตามความสัมพันธข์ องคกู่ รณี
    2.1 กฎหมายเอกชน (Private Law)
    คือ กฎหมายท่ีกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรกับราษฎร

    หรือบุคคลกับบุคคลในรัฐเดียวกัน หรือรัฐกับรัฐ แต่รัฐจะต้องมีฐานะ
    เท่าเทียมกับราษฎร มีความเสมอภาคกัน และไม่มีเอกสิทธิ์ใดๆ เช่น
    กฎหมายแพ่ง กฎหมายพาณิชย์ เป็นต้น

    2.2 กฎหมายมหาชน (Public Law)
    คือ กฎหมายที่กาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐหรือ

    หน่วยงานของรัฐกับราษฎร ในฐานะที่รัฐมีฐานะเหนือกว่า
    เพราะเป็นผู้ปกครอง เช่น รัฐธรรมนูญ กฎหมายอาญา
    กฎหมายวิธีพจิ ารณาความอาญา เปน็ ตน้

    3. แบง่ ตามบทบาทหน้าท่ขี องกฎหมาย
    3.1 กฎหมายสารบญั ญัติ (Substantive Law)
    กฎหมายที่มีลักษณะเป็นส่วนเนื้อแท้ของกฎหมาย เป็นบทบัญญัติที่สั่ง

    ห้ามบุคคลให้กระทาหรืองดเว้นการกระทา เช่น ประมวลกฎหมายแพ่งและ
    พาณิชย์ ซึ่งจะกาหนดสิทธิและหน้าที่ของคู่กรณี ประมวลกฎหมายอาญา ซึ่ง
    เป็นคาส่ังหรือข้อบังคับของรัฐท่ีมีต่อบุคคล กาหนดว่าการกระทาใดเป็น
    ความผดิ และโทษท่ีจะไดร้ ับ

    3.2 กฎหมายวิธสี บัญญตั ิ (Procedural Law)
    เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย ท่ี มี ห น้ า ท่ี ช่ ว ย ใ ห้ ส ภ า พ

    บังคับของกฎหมายสารบัญญัติเป็นไปได้ตามที่
    กาหนดไว้ เพราะเป็นกฎหมายท่ีบัญญัติถึง
    วิธีการเพื่อให้ข้อห้ามข้อบังคับที่บัญญัติไว้ใน
    กฎหมายอาญา หรือสิทธิหน้าท่ีซ่ึงบัญญัติไว้ใน
    กฎหมายแพ่งได้รับการปฏิบัติตาม เช่น ประมวล
    กฎหมายวธิ พี จิ ารณาความแพง่ เปน็ ตน้

    4. แบ่งตามแหลง่ กาเนิดกฎหมาย (Internal Law)
    4.1 กฎหมายภายในประเทศ (Internal Law)
    กฎหมายท่ีออกโดยองค์กรท่ีมีอานาจในการตรากฎหมายภายในประเทศ เช่น

    พระราชบัญญตั ิตา่ งๆของประเทศไทย เป็นตน้

    4.2 กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law)
    4.2.1 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง คือ กฎหมายที่ว่าด้วย

    ความสมั พนั ธ์ระหว่างรฐั ในฐานะเปน็ นติ ิบคุ คล เชน่ สนธิสัญญาระหวา่ งประเทศ เป็นต้น

    4.2.2 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คือ กฎหมายที่บังคับเก่ียวกับ
    ความสมั พันธ์ระหว่างบุคคลที่เป็นพลเมืองของรัฐหน่ึง แต่ต้องไปมีนิติสัมพันธ์กับพลเมือง
    ของอีกรฐั หน่ึงในทางแพง่ เช่น การโอนสญั ชาติ การได้สญั ชาติ การสมรส เป็นต้น

    4.2.3 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา
    คือ กฎหมายท่ีกาหนดความสัมพันธ์ระหว่างรัฐใน
    คดีอาญา เมอื่ พลเมอื งรัฐกระทาความผดิ อาญา
    เช่น กฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งผูร้ า้ ยขา้ มแดน

    5. แบ่งตามสภาพบงั คบั ของกฎหมาย
    5.1 กฎหมายแพง่
    เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชน เก่ียวกับ

    สิทธิ หน้าท่ี ความรับผิดชอบของบุคคลตามกฎหมาย มีสภาพ
    บงั คบั เชน่ การบงั คับให้ลูกหนีช้ าระหน้คี นื แกเ่ จา้ หนี้

    5.2 กฎหมายอาญา
    ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับเอกชนในฐานะท่ีรัฐเป็น

    ผดู้ ูแลความสงบเรียบร้อยของสงั คม โดยมสี ภาพบังคับ ไดแ้ ก่
    รบิ ทรพั ย์สิน ปรบั กักขัง จาคุก ประหารชีวติ

    ลาดบั ศกั ดก์ิ ฎหมายไทย

    รฐั ธรรมนญู
    พระราชบญั ญตั ิ
    ประมวลกฎหมาย
    พระราชกาหนด

    พระราชกฤษฎกี า

    กฎกระทรวง

    ประกาศ ระเบยี บ
    ขอ้ บังคบั คาสัง่

    กฎหมายทอ่ี อกโดยองคก์ ร
    ปกครองส่วนท้องถิน่

    1. รัฐธรรมนญู (Constitution)
    คาว่า “รัฐธรรมนูญ” หมายถึง กฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครอง
    ประเทศ กฎหมายใดขัดแย้งไม่ได้ มีเนื้อหาเกี่ยวกับการใช้อานาจอธิปไตย
    ตลอดจนกาหนดสทิ ธิ เสรีภาพและหน้าท่ีของชนชาวไทย

    ในส่วนของประเทศไทย รัฐธรรมนูญฉบับแรกของ
    ไทยเกิดข้ึนหลังจากการมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง
    ในวันท่ี 24 มิถุนายน 2475 โดยรัฐธรรมนูญฉบับแรก
    ของไทยใช้ช่ือว่า “พระราชบัญญัติธรรมนูญการ
    ปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ.2475” โดย
    ประ กาศใช้เม่ือวั น ท่ี 27 มิถุน ายน 24 75 ร่างโดย
    ศาสตราจารย์ปรดี ี พนมยงค์

    2. พระราชบญั ญตั ิ (พ.ร.บ.)
    คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ตราข้ึนโดยคาแนะนาและยินยอม
    ของรฐั สภา (ฝ่ายนิตบิ ญั ญตั ิ) เป็นกฎหมายเฉพาะเร่อื งทจี่ าเพาะเจาะจงและ
    แคบลงมา เมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศใน
    ราชกจิ จานุเบกษาแลว้ มีผลใชบ้ ังคับเป็นกฎหมายได้

    การเสนอร่างพระราชบญั ญัตจิ ะเสนอได้กแ็ ต่โดย
    1. คณะรฐั มนตรี
    2. สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจานวนไม่นอ้ ยกว่ายสี่ ิบคน
    3. ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายท่ี
    เกี่ยวกับการจัดองค์กรและกฎหมายที่ประธานศาลและประธาน
    องค์กรนน้ั เป็น ผู้รักษาการ
    4. ผ้มู ีสทิ ธิเลือกตั้งจานวนไมน่ อ้ ยกว่าหนง่ึ หมน่ื คนเขา้ ช่อื เสนอต่อ
    ประธานรฐั สภา

    3. ประมวลกฎหมาย
    คือ กฎหมายที่ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ เป็นการรวบรวมเอาหลัก
    กฎหมายในเรือ่ งใหญๆ่ มาจดั เปน็ หมวดหมู่

    ปัจจุบันมีประมวลกฎหมายที่สาคัญ ได้แก่ ประมวลกฎหมายอาญา , ประมวล
    กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ , ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง , ประมวล
    กฎหมายวิธพี ิจารณาความอาญา , ประมวลกฎหมายท่ดี ิน , ประมวลรัษฏากร เปน็ ตน้

    4. พระราชกาหนด (พ.ร.ก.)
    ก ฎ ห ม า ย ซึ่ ง พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริ ย์ ท ร ง ต ร า ขึ้ น โ ด ย ค า แ น ะ น า แ ล ะ ยิ น ย อ ม ข อ ง

    คณะรัฐมนตรี (ฝ่ายบริหาร) โดยอาศัยอานาจตามท่ีรัฐธรรมนูญวางไว้ว่าเป็น กรณี
    ฉุกเฉิน ท่ีมีความจาเป็นรีบด่วนอันมิอาจหลีกเล่ียงได้ เพ่ือประโยชน์ในการรักษาความ
    ปลอดภัยของประเทศ , ความปลอดภัยสาธารณะ , ความม่ันคงในทางเศรษฐกิจของ
    ประเทศ หรือป้องปัดภัยพิบัติสาธารณะ หรือในกรณีท่ีมีความจาเป็นต้องมีกฎหมาย
    เก่ยี วดว้ ยการภาษีอากรหรือเงินตรา ซ่ึงจะต้องได้รับการพิจารณาโดยด่วนและลับ เพื่อ
    รักษาประโยชนข์ องแผน่ ดิน

    5. พระราชกฤษฎกี า (พ.ร.ฎ.)
    กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราข้ึน โดยอาศัยอานาจตาม
    รัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือ
    พระราชกาหนด เพื่อใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินตามคาแนะนาของ
    คณะรฐั มนตรี (ฝ่ายบริหาร)

    6. กฎกระทรวง
    เป็นบทบัญญัติที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงออกโดยอาศัย

    อานาจตามพระราชบัญญัติ หรือพระราชกาหนด ซึ่งให้อานาจ
    รัฐมนตรีกระทรวงน้ันๆ ออกกฎกระทรวงจะเป็นผู้เสนอร่าง
    กฎกระทรวงต่อคณะรัฐมนตรี เมื่อคณะรัฐมนตรีเห็นชอบแล้ว ให้
    รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงน้นั ๆ ตราร่างกฎกระทรวง แล้วประกาศใน
    พระราชกิจจานเุ บกษา บงั คับใช้เปน็ กฎหมายต่อไป

    7. ประกาศ/ระเบยี บ/ขอ้ บงั คบั /คาสง่ั
    กฎหมายปลีกย่อยประเภทท่ีเป็นเรื่อง

    เล็ก ๆ น้อย ๆ ไดแ้ ก่ เรื่องที่เกย่ี วกับระเบียบการ
    ปฏบิ ตั ริ าชการภายใน

    8. กฎหมายทอ่ี อกโดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
    คือ กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพ่ือใช้ใน
    แต่ละท้องที่นั้นๆ เช่น ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติ
    เมอื งพัทยา ขอ้ บัญญัติจงั หวัด เทศบัญญัติ

    การอุดชอ่ งวา่ งทางกฎหมาย

    ในทางแพง่

    “เมื่อไม่มีบทกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได้ ให้วินิจฉัยคดีนั้น
    ตามจารีตประเพณีแห่งท้องถ่ิน ถ้าไม่มีจารีตประเพณีเช่นว่าน้ัน ให้
    วินิจฉัยคดีอาศัยเทียบบทกฎหมายที่ใกล้เคียงอย่างย่ิง และถ้าบท
    กฎหมายเช่นนนั้ ก็ไม่มดี ้วย ใหว้ นิ ิจฉัยตามหลักกฎหมายทว่ั ไป”

    ในทางอาญา

    “บุคคลจักต้องรบั โทษในทางอาญาตอ่ เมอ่ื ได้กระทาการ
    อันกฎหมายที่ใช้ในขณะกระทาน้ันบัญญัติเป็นความผิดและ
    กาหนดโทษไว้ และโทษที่จะลงแก่ผู้กระทาความผิดนั้น ต้อง
    เป็นโทษทบี่ ัญญัตไิ วใ้ นกฎหมาย”

    การบงั คบั ใช้กฎหมาย

    ระยะเวลาทกี่ ฎหมายใชบ้ งั คบั
    1. ใหใ้ ช้ตัง้ แตว่ ันทป่ี ระกาศในราชกจิ จานเุ บกษา
    กรณีท่ีมีการให้ประกาศใช้กฎหมายโดยนับต้ังแต่วันที่ประกาศในราชกิจจา
    นเุ บกษา โดยมากจะเป็นกรณีทเ่ี รง่ ด่วน จาเป็นต้องให้กฎหมายบังคับในทันที ตัวอย่างเช่น
    พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว
    (ฉบับที่ 4 พ.ศ.2559) ในมาตรา 2 บัญญัติว่า “พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันท่ี
    ประกาศในราชกิจจานเุ บกษาเป็นตน้ ไป”

    Toplist

    โพสต์ล่าสุด

    แท็ก