ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3


���觢����� ���͡���͹ ��ٹ���  ���͡���֡��
���㺧ҹ���͡�����¹����͹�Ԫ��ѧ���֡�� ��ʹ� ����Ѳ����� ����ͧ�ѹ�Ӥѭ�ҧ��оط���ʹ� �ѹ�Ҧ�٪� �ѹ���Ң�٪� �ѹ�ѯ��պ٪� �ѹ�����˺٪� �ѹ��Ҿ���� �ѹ⡹ �ѹ���  ��� Word
  ��� Zip

��Ҫ� : 62076


�ѧ���֡�� ��ʹ�����Ѳ����� 10 �ѹ�Ѻ����ش


�ʴ������Դ���


����/Email :������ʷ���ҹ���ŧ㹪�ͧ��������Դ��� :

��س���Ӿٴ������Ҿ ���������Ӿٴ���Ҵ�ԧ�֧�ؤ��������������� �͢ͺ�س����������������

ใบงานที่ 2 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
เติมคำ

 

ID: 2208128
Language: Thai
School subject: สังคมศึกษา
Grade/level: 4
Age: 10-11
Main content: พระพุทธศาสนา
Other contents: ศาสนพิธี
 Add to my workbooks (23)
 Download file pdf
 Embed in my website or blog
 Add to Google Classroom
 Add to Microsoft Teams
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy

bours


What do you want to do?

Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

         วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อังกฤษ: Magha Puja) เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของชาวพุทธเถรวาท

         วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 รูปนั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4 ...อ่านต่อ...

ลายไทยเกิดจากความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา จึงเป็นเหตุสำคัญให้ช่างหรือศิลปินประดิษฐ์ลายไทยโดยได้แนวคิดมาจาก ดอกบัว พวงมาลัย ควันธูป และเปลวเทียน  แล้วนำมาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายกนก ลายเปลวเพลิง ลายใบเทศ ลายพฤษชาติ ซึ่งเมื่อศึกษาถึงที่มาของลวดลายเหล่านั้น พบว่าบางส่วนมีการพัฒนาจากรูปดอกบัวหลากหลายชนิด อาทิ บัวหลวง บัวสัตตบงกช บัวสัตตบุษย์ และมีการพัฒนาจากลักษณะการเคลื่อนไหวของเปลวไฟที่มีความพลิ้วไหว จึงนำมาสร้างสรรค์ให้เกิดลายไทยที่สวยงาม

แม้ว่าศิลปะไทยจะได้รับอิทธิพลจากหลายประเทศ เช่น อินเดีย จีน ขอม เขมร แต่ช่างไทยก็สามารถนำไปพัฒนาลวดลายจนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเองที่มีความแตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือ ศิลปะไทยแตกต่างไปจากศิลปะตะวันตกตรงที่ศิลปะตะวันตกนั้นเป็นแบบธรรมชาตินิยม แต่ศิลปะไทยจะดัดแปลงธรรมชาติไปตามคตินิยมที่คิดสร้างสรรค์จากปรัชญา (ความเชื่อในเรื่องสวรรค์นรก) ดังภาพพระแม่ธรณีบิดมวยผม

ภาพพระแม่ธรณีบิดผมมวย โดย Ljungkngs
ที่มา : //pixabay.com/en/mother-earth-squeeze-the-bun-1581680/

ลวดลายไทยบางอย่างก็ได้จากธรรมชาติ ต้นไม้ หรือสัตว์ และการได้รับอิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับศาสนารวมถึงในด้านของไสยศาสตร์ ทำให้ลายไทยเข้าไปมีส่วนร่วมในการรับใช้สถาบันพุทธศาสนา และรับใช้สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยนำไปใช้ประดับตกแต่งอาคารสถานที่หรือสถาปัตยกรรม เช่น โบสถ์  วิหาร  ปราสาท  พระราชวัง  เครื่องนุ่งห่ม สิ่งของเครื่องใช้ เครื่องประดับ ทางด้านบ้านเรือนและสิ่งของเครื่องใช้มีหลายรูปแบบและถูกนำไปใช้ในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะลายไทยพื้นฐาน นอกจากนำมาประยุกต์ใช้งาน เกิดผลงานทางด้านการออกแบบสร้างสรรค์ในหลายสาขาต่างๆ แล้วยังเป็นการดำรงคุณค่าทางศิลปะ วัฒนธรรมของไทยให้ปรากฏแก่ผู้พบเห็นทั้งชาวไทยด้วยกันและชาวต่างชาติ

การศึกษาการวาดเส้นลายไทยจะแยกเป็นสองรูปแบบใหญ่ๆ คือ ลายไทย และจิตรกรรมไทย ซึ่งลายไทยที่เป็นลวดลายหลักสำคัญ ดังนี้

  1. ลายกระหนก เป็นลายพื้นฐานหนึ่งที่สำคัญของลายไทย มีพื้นฐานจากสามเหลี่ยมชายธง อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได้ มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ลายกระหนกที่สำคัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว กระหนกสามตัวเปลว

  2. ลายกระจัง เป็นลายพื้นฐานประเภทหนึ่งที่สำคัญของลายไทย รูปทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ต้นแบบลายนี้มาจากธรรมชาติ เช่น กระจังตาอ้อย ต้นอ้อย กระจังฟันปลา

  3. ลายทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ลวดลาย “ลายช่อ” ที่มีรูปทรงพุ่ม ได้รับแรงบันดาลใจมาจากข้าวปั้นตีแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวตูมที่ใช้บวงสรวงบูชา นิยมนำไปใช้งานทางด้านที่เกี่ยวกับศาสนา

  4. ลายประจำยาม ลวดลายที่มีรูปร่างสี่เหลี่ยมจัตุรัสตะแคง มีลักษณะคล้ายดอกไม้ โดยดัดแปลงมาจากดอกไม้ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ดอกสี่ทิศ”

  5. ลายกาบ เป็นลายที่กำเนิดลาย “ช่อลาย” โครงสร้างของลายนี้มาจากพืชพันธุ์ในส่วนที่เป็นกาบหุ้มตรงโคนหรือข้อ เช่น กาบของต้นไผ่ กาบต้นกล้วย

  6. ลายนกคาบและนาคขบ มีลักษณะเป็นหน้าของนกหน้านาคที่เอาปากคาบลายตัวอื่นเอาไว้หรือมีลายช่ออื่นๆ ออกทางปาก ตำแหน่งของลายนกคาบจะอยู่ตรงข้อต่อที่จะเชื่อมก้านกันและกัน

“ลายไทย” งานประดิษฐ์กรรมในเชิงศิลปะชั้นสูงและสืบเนื่องมาแต่ครั้งโบราณกาลของไทย งานศิลปะที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยบ่งบอกถึงภูมิปัญญาของคนไทยหรือช่างไทย ใช้จินตนาการในเชิงสร้างสรรค์มีแบบอย่างเฉพาะตัว นับได้ว่าเป็นศิลปะและวัฒนธรรมอันมีค่าของชาติเป็นที่เชิดหน้าชูตา ได้รับคำชื่นชมจากนานาประเทศว่า “ศิลปะลายไทยสวยงามไม่แพ้ชาติใดในโลก” แต่ปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่นั้น มักไม่ค่อยมีโอกาสได้สัมผัสกับงานศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง อาจจะทำให้ศิลปะลายไทยค่อยๆ จางหายไป เพราะฉะนั้นเราควรรักษาและสืบสานศิลปะลายไทยไว้ให้อยู่คู่กับประเทศไทยตลอดไป

บรรณานุกรม

เสน่ห์ ธนารัตน์สฤษดิ์. (2550). ศิลป์ลายไทย. กรุงเทพฯ : เฉลิมชัยการพิมพ์.

เศรษฐมันตร์ กาญจนากุล. (2535). เส้นสายลายไทย. กรุงเทพฯ : เฉลิมชัยการพิมพ์.

ภูทเรศษ์ พรมดี. (2014). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562, จาก //jtfud.blogspot.com/

ศิลวัฒ ชอบจิตต์. (ม.ป.ป). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562, จาก //sites.google.com/site/thailandsart/2

บ้านจอมยุทธ์. (2543). ศิลปะลายไทย. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2562, จาก //www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/evolution_of_thai_art/05.html

บ้านจอมยุทธ์. (2543). ลักษณะของงานศิลปะไทย. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2562, จาก html//www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/
evolution_of_thai_art/02.html

nkstec. (มปป.). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2562, จาก //www.nkstec.ac.th/UserFiles/File/information/laithai01.pdf

ภาพประกอบ

Ljungkngs. (ม.ป.ป). ภาพพระแม่ธรณีบิดผมมวย. ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562 จาก //pixabay.com/en/mother-earth-squeeze-the-bun-1581680/

วาดภาพลายไทยพื้นฐานทั้งหมด โดย นุชจรีย์ เมืองแตง เมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562

เรียบเรียงโดย นุชจรีย์ เมืองแตง นักศึกษาฝึกงานจาก มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์ (สารสนเทศศาสตร์ศึกษา) ภาคการศึกษา 2/2562

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก