ใบงานที่ 3.1 เรื่อง การกระจาย และความหนาแน่นของประชากร

ใบงานที่ 2.5 ลักษณะเฉพาะของประชากร
ประกอบการสอนในรายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5
ครูจริยา จันทวี และครูพงศธร มารวิชัย
 ID: 2859933
Language: Thai
School subject: ชีววิทยา
Grade/level: Grade 12
Age: 15+
Main content: ลักษณะเฉพาะของประชากร
Other contents: -

 Add to my workbooks (2)
 Add to Google Classroom
 Add to Microsoft Teams
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy

planttoey


What do you want to do?

Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

ความหนาแน่นของประชากรคือจำนวนประชากรต่อหน่วยพื้นที่หรือปริมาตรความหนาแน่นของประชากรแบ่งออกเป็น2ประเภทคือความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบ (crude density) และความหนาแน่นเชิงนิเวศ (ecological density)

1. ความหนาแน่นประชากรอย่างหยาบเป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่ทั้งหมดของที่อยู่อาศัยเช่น

พื้นที่ป่ามี5ไร่มีตั๊กแตนอยู่500ตัวเพราะฉะนั้น

ความหนาแน่น = 500/5ตัวต่อไร่ = 100ตัวต่อไร่

2. ความหนาแน่นเชิงนิเวศเป็นการวัดความหนาแน่นของประชากรต่อพื้นที่อยู่อาศัยจริงของสิ่งมีชีวิตนั้นเช่นในพื้นที่

ป่ามี50ไร่แต่มีบริเวณที่ปลูกผักรวมแล้วเพียง10ไร่ประชากรหนอนกระทู้มีอยู่50,000ตัวดังนั้น

ความหนาแน่น = 50,000/10ตัวต่อไร่ = 5,000ตัวต่อไร่

การวัดความหนาแน่นของประชากร (population measurement)

การนับจำนวนสิ่งมีชีวิตเพื่อหาความหนาแน่นของประชากรบางครั้งอาจจะนับได้ทั้งหมดแต่โดยทั่วไปแล้วเราจะไม่สามารถนับได้ทั้งหมดจริงค่าความหนาแน่นที่ได้จะเป็นความหนาแน่นเชิงเปรียบเทียบเท่านั้นการวัดความหนาแน่นของประชากรสามารถแบ่งเป็น2แบบคือความหนาแน่นสมบูรณ์หรือความหนาแน่นที่แท้จริง (absolute density) และความหนาแน่นสัมพัทธ์(relative density)

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก