เหตุใดจึงมีการยืมคำจากภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย

ใบความรู้ท่ี ๑
เรอ่ื ง สาเหตกุ ารยมื คาจากภาษาตา่ งประเทศเข้ามาใช้

ภาษาเป็นส่วนหน่ึงของวัฒนธรรม เม่ือมนุษย์มีการติดต่อสื่อสารกันย่อมเกิดการแลกเปลี่ยน
ทางวัฒนธรรมข้ึน เม่ือมีการรับวัฒนธรรมอื่นมาโดยไม่มีคาในภาษาเดิมรองรับจึงเกิดความจาเป็น
ต้องยืมภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ การยืมคาจากภาษาต่างประเทศถือเป็นการรับวัฒนธรรมอ่ืนเข้ามาใช้
ในภาษาของตนด้วย ไม่ว่าการรับน้ันจะเกิดข้ึนด้วยความจงใจหรือไม่ก็ตาม นอกจากนี้ยังมีความเกี่ยวข้อง
ด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ทาให้ภาษามีความเจริญงอกงามและมีคาสาหรับติดต่อส่ือสาร
มากข้ึน

ค า ท่ี ยื ม ม า จ า ก ภ า ษ า ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ม า ใ ช้ ใ น ภ า ษ า ไ ท ย ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ค ว า ม เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ วั ฒ น ธ ร ร ม
และการติดต่อส่ือสารในด้านอ่ืน ๆ เช่น คาท่ียืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต มักเป็นคาท่ีเกี่ยวข้องกับ
พระพุทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คาที่ยืมมาจากภาษาจีนมักเก่ียวข้องกับเรื่องธุรกิจการค้า อาหาร
การกิน คาที่ยืมมาจากภาษาชวา-มลายู มีความเกี่ยวข้องกับวรรณคดี ส่วนคาที่ยืมมาจากภาษาอังกฤษ
มีความเกี่ยวขอ้ งกับวฒั นธรรมและเทคโนโลยีของตะวนั ตก เปน็ ต้น

สาเหตกุ ารยืมคาจากภาษาตา่ งประเทศเข้ามาใช้
๑. สภาพภูมิศาสตร์ ประเทศไทยมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศต่าง ๆ ได้แก่ พม่า ลาว เขมร มาเลเซีย

จึงทาให้คนไทยที่อยู่อาศัยบริเวณชายแดนเดินทางข้ามแดนไปมาหาสู่กันและมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
จงึ มีการแลกเปลี่ยนภาษากัน

๒. ประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์อันยาวนาน มีการอพยพโยกย้าย
ของคนไทยเข้ามาอยู่ในถิ่นอาศัยปัจจุบัน ซ่ึงแต่เดิมมีชนชาติอื่นอาศัยอยู่ก่อน เช่น เขมร ละว้า มอญ
หรือมีการทาศึกสงครามกับชนชาติอื่น มีการกวาดต้อนเชลยศึกและประชาชน พลเมืองชนชาติอื่น ๆ
ใหม้ าอาศัยอยใู่ นประเทศไทย ผคู้ นเหลา่ นีไ้ ด้นาถ้อยคาภาษาเดมิ ของตนเองมาใชป้ ะปนกับภาษาไทยดว้ ย

๓. ศาสนา คนไทยมีเสรีภาพในการนับถือศาสนามาเป็นเวลาช้านาน เมื่อนับถือศาสนาใด
ก็ย่อมได้รับถ้อยคาภาษาท่ีใช้ในคาสอน หรือคาเรียกช่ือต่าง ๆ ในทางศาสนาของศาสนาน้ัน ๆ มาปะปน
อยูใ่ นภาษาไทยดว้ ย

๔. การค้าขาย จากหลักฐานทางด้านประวัติศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อค้าขาย แลกเปล่ียนสินค้า
กับชนชาติต่าง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น จีน โปรตุเกส ฝรั่งเศส อังกฤษ ฮอลันดา ตลอดถึงญ่ีปุ่น
ทาให้มีถอ้ ยคาในภาษาของชนชาตินน้ั ๆ เขา้ มาปะปนอยใู่ นภาษาไทยเปน็ จานวนมาก

๕. วรรณคดี วรรณคดีอินเดียท่ีไทยนาเข้ามา เช่น เร่ืองมหากาพย์รามายณะ และมหาภารตะแต่งข้ึน
เป็นภาษาสันสกฤต อิเหนา เป็นวรรณคดีที่มีเค้าเรื่องมาจากเรื่องดาหลังของชวา ด้วยเหตุนี้วรรณคดี
ทาให้ภาษาสนั สกฤตและภาษาชวาเขา้ มาปะปนในภาษาไทย

๖. ความสัมพันธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี เม่ือชนชาติต่าง ๆ เข้ามาสัมพันธ์ติดต่อกับ
ชนชาติไทย หรือเข้ามาต้ังหลักแหล่งอยู่ในประเทศไทย ย่อมนาเอาวัฒนธรรมและประเพณีท่ีเคยยึดถือปฏิบัติ
อยู่ในสังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัติในสังคมไทยนาน ๆ เข้าถ้อยคาภาษาท่ีเก่ียวข้องกับวัฒนธรรม
และประเพณเี หล่านัน้ ก็กลายมาเป็นถอ้ ยคาภาษาทเี่ ก่ยี วข้องกบั ชวี ติ ประจาวันของคนไทยมากขึ้น

๗. การศึกษาและวิทยาการด้านต่าง ๆ จากการที่คนไทยเดินทางไปศึกษายังต่างประเทศ ทาให้ได้ใช้
และพดู ภาษาอน่ื ๆ และรบั เอาวิทยาการต่าง ๆ เมอ่ื สาเรจ็ การศกึ ษา จึงนาภาษาของประเทศนนั้ มาใช้ปะปนกับ
ภาษาของตน

๘. ความสัมพันธ์ทางการทูต การเจริญสัมพันธไมตรีทางการทูต ในการอพยพ โยกย้ายหรือ
ในการติดต่อทางการทูต ย่อมทาให้ภาษาของเจ้าของถิ่นเดิมหรือผู้อพยพโยกย้ายมาใหม่นามาใช้ร่วมกัน เช่น
องั กฤษ ฝรัง่ เศส

๙. อพยพย้ายถิ่นฐาน การอพยพย้ายถ่ินฐานมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น สภาพเศรษฐกิจ
ต้องไปประกอบอาชพี ยงั ประเทศต่าง ๆ ภัยสงคราม การเมอื งการปกครอง เปน็ ต้น

หลักการสงั เกตคาทมี่ าจากภาษาตา่ งประเทศ
คาที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศในภาษาไทยส่วนใหญ่มีลักษณะแตกต่างจากคาไทยแท้ การสังเกตว่า

คาใดเป็นคายืม คาใดเป็นคาไทยแท้ สามารถสังเกตเห็นได้ไม่ยาก โดยเฉพาะหากเข้าใจลักษณะของคาไทยแท้
ว่ามีลักษณะอย่างไร เชน่

- คาไทยแท้มกั เปน็ คาโดด เช่น พ่อ แม่ พ่ี นอ้ ง ชา้ ง มา้ ดิน น้า
- คาไทยแทห้ ลายคามหี ลายพยางค์ คาเหลา่ นีเ้ กดิ จากวธิ ีการทางภาษา ดงั น้ี

การกรอ่ นเสียง เชน่ มะมว่ ง มาจาก หมากม่วง, ตะขบ มาจาก ตน้ ขบ, สะเอว มาจาก สายเอว
การแทรกเสยี ง เชน่ ผกั กะเฉด มาจาก ผักเฉด, ลกู กระดมุ มาจาก ลกู ดุม
การเติมพยางค์หน้าคามูล เชน่ โจน มาจาก กระโจน, ท้วง มาจาก ประทว้ ง
- คาไทยแท้มกั มีตัวสะกดตรงตามมาตรา เชน่ รกั เลือด จบั แก้ม
- คาไทยแทม้ ีเสยี งวรรณยุกต์ เพอ่ื ให้เกิดระดบั เสียงตา่ งกนั ทาใหม้ ีคาใช้ในภาษาไทยมากข้ึน เช่น
ปา --------> ขวา้ ง
ป่า --------> ทร่ี กดว้ ยต้นไม้
ปา้ --------> พส่ี าวของพอ่ หรือแม่
- คาไทยแท้ไม่นิยมใชก้ ารนั ต์ เช่น เสา อนิ จนั
- คาไทยแทห้ ากออกเสียง “ไอ” จะใช้ “ใอ” เช่น ผ้ใู หญ่ ใหม่ สะใภ้ ใช้ ใส่ หลงใหล
- คาไทยแท้ไม่นิยมใช้พยัญชนะบางตัวที่เขียนยาก เช่น ฆ ฌ ญ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ธ ภ ศ ษ ฬ และสระ ฤ
ฤา ยกเวน้ คาไทยแท้บางคา ได้แก่ เฆ่ียน ฆ่า ฆอ้ ง ระฆัง หญิง ศึก ใหญ่ ณ ธ เธอ ศอก อาเภอ

แบบฝกึ หัดที่ ๑.๑
เรื่อง สาเหตุการยืมคาจากภาษาตา่ งประเทศ

คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปความรู้เรื่องสาเหตุการยืมคาจากภาษาต่างประเทศเข้ามาใช้ในภาษาไทยเป็นแผนผัง
ความคิด

แบบฝึกหดั ท่ี ๑.๒
เร่อื ง คาไทยแท้และสาเหตกุ ารยืมคาจากภาษาตา่ งประเทศ

คาช้แี จง ให้นกั เรียนนาคาทกี่ าหนดใหต้ อ่ ไปนจ้ี าแนกใส่กลอ่ งขอ้ ความด้านลา่ งใหถ้ ูกต้อง

มะขาม ชอ็ กโกแลต ข้าว มะม่วง
แก้ม
ช้าง ระฆงั น้อง ประทว้ ง
เกย๊ี ว
ตะขบ จบั ฆา่ ใหญ่

คดโกง พอ่ แบงก์

เลอื ด เชลย อาเภอ

คาไทยแท้ คาทยี่ มื มาจากภาษาต่างประเทศ

…………………………………………………… ……………………………………………………
…………………………………………………… ……………………………………………………
…………………………………………………… ……………………………………………………
…………………………………………………… ……………………………………………………
…………………………………………………... …………………………………………………...
…………………………………………………… ……………………………………………………

แบบทดสอบ
เรื่อง สาเหตกุ ารยืมคาจากภาษาตา่ งประเทศ

คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นเลอื กคาตอบที่ถกู ต้องแลว้ ทาวงกลมล้อมรอบข้อท่ีถูกต้องทสี่ ดุ เพียงขอ้ เดยี ว

๑. เหตุใดจึงมีการยืมคาภาษาต่างประเทศมาใช้ใน ๒. ข้อใดคือสาเหตุของการรับคาภาษาต่างประเทศ

ภาษาไทย เขา้ มาใชใ้ นภาษาไทย

ก. เพราะในปัจจบุ นั มีคนนิยมใชก้ ันมาก ก. ศาสนา

ข. เพราะมวี ทิ ยากรเข้ามาเผยแพร่ในประเทศไทย ข. คา้ ขาย

ค. เพราะมีการติดต่อระหวา่ งประเทศทั้งด้านการทูต ค. วรรณคดี

การคา้ ขาย ง. ถูกทกุ ขอ้

ง. เพราะภาษาต่างประเทศมีมากจึงต้องนามาใช้ใน

ประเทศไทยบา้ ง

๓. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ลักษณะของคาไทยแท้ ๔. ขอ้ ใดต่อไปน้ีไมใ่ ชค่ าไทยแท้

ก. คาไทยแท้มักเปน็ คาโดด ก. ระฆัง

ข. คาไทยแท้ไม่นิยมใชก้ ารันต์ ข. สะใภ้

ค. คาไทยแท้มักเปน็ คาควบกล้า ค. อาเภอ

ง. คาไทยแทม้ กั มตี ัวสะกดตรงตามมาตรา ง. ปญั ญา

๕. ประเทศใดต่อไมน่ ีไ้ มไ่ ด้ติดต่อกับประเทศไทยใน

เร่อื งการคา้ ขาย

ก. จนี

ข. พม่า

ค. อังกฤษ

ง. โปรตุเกต

ตั้งใจทากันนะคะเด็ก ๆ
ขอให้โชคดีคะ่


กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก