ข้อใดเป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิที่สอดคล้องกับ “ปรโตโฆสะ” เสียงจากผู้อื่น

วันวิสาขบูชาไปทำบุญหลายที่ เห็นความแตกต่างของวัด ความคิด ความเชื่อ วัดป่า วัดบ้าน พุทธเหมือนกันแต่ คิดไม่เหมือน ทำไม่เหมือน เื่ชื่อไม่เหมือน นั่งดูไปก็อดคิดไม่ได้ว่าคนเราทำบุญด้วยความคาดหวังที่ต่างกันจริงๆ นั่นเป็นเพราะสิ่งหนึ่งที่ไม่เหมือนกัน คือ “สัมมาทิฏฐิ” การทำความเห็นให้ถูกต้อง ความเห็นนี้ก็คือความเชื่อว่าสิ่งที่เราทำนั่นถูกแล้ว ดีแล้ว ซึ่งตีความเอาเองตามความคิดของใครของมัน นั่น ตัวอย่างที่เห็นมากที่สุด คือ ความคิดที่ว่า กรรมแก้ได้ ดังนั้น ทำชั่วไปเถอะ โกงกิน เบียดเบียนไป เดี๋ยวก็มีหมอดูมาบอกเองว่า เคยทำอะไรไม่ดีไว้ ต้องแก้กรรมอย่างนั้น อย่างนี้ อย่างที่แม่ชีทศพร บอกให้ หญิงคนหนึ่งต้องไป “เอา”ผู้ชายเพื่อแก้กรรม ตัวอย่างอันหนึ่งที่เห็นในวัดแห่งหนึ่ง มีแม่ชีคนหนึ่งแกเดินแจกกระดาษ A4 แล้วขอใ้หเราช่วยแจก อ่านดูแล้วก็เป็นคำขอขมา พระรัตนตรัย “สัพพัง อะปะราทัง ……” ด้านหลังบอกมีเรื่องพญานาคมาจุติเป็นที่วัดแห่งหนึ่งเพื่อบำบัดปัดเป่าความชั่วร้าย คนที่ประสบเรื่องนี้บอกให้เอาใบพิมพ์แจก 1000 ใบ จะได้ลาภยศ ร่ำรวย  อยู่ๆก็มีเงินมีทองขึ้นมา คนที่ได้รับต่อก็ต้องพิมพ์ต่อ 
มันก็ไม่ต่างอะไรจากจดหมายลูกโซ่…. โกหกในวัดชัดๆ ก็น่าสมเพชที่ชาวพุทธไม่รู้จักคำสอนของพระพุทธเจ้าเรื่องกาลามสูตร  คนจะรวยต้องขยันทำมาหากิน ไม่ได้รวยจากกการพิมพ์จดหมายลูกโซ่ นี่เป็นการขาด สัมมาทิฏฐิ คือการทำความเห็นให้ถูกต้องก่อนว่าคนจะรวยได้ต้องขยันทำมาหากิน ไม่ได้รวยจากกการพิมพ์จดหมายลูกโซ่ .. อ่านแล้วลองคิดดูนะขอรับท่านผู้มีความรู้ทั้งหลาย มีกูรูท่านหนึ่งให้ความเห็นที่ดี เกี่ยวกับเรื่องนี้ ว่า การจะมี ความเห็นที่ถูกต้องได้นั้น ต้องใช้ ๑. ปรโตโมสะ (เสียงจากผู้อื่น การกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก คือ การรับฟังคำแนะนำสั่งสอน เล่าเรียนความรู้ สนทนาซักถาม
ฟังคำบอกเล่าชักจูงของผู้อื่น โดยเฉพาะการสดับสัทธรรมจากท่านผู้เป็นกัลยาณมิตร :
another’ s utterance; inducement by others; hearing or learning from others)

๒. โยนิโสมนสิการ (การใช้ความคิดถูกวิธี ความรู้จักคิด คิดเป็น  คือกระทำในใจโดยแยบคาย มองสิ่งทั้งหลายด้วยความคิดพิจารณา รู้จักสืบสาวหาเหตุผล แยกแยะสิ่งนั้น ๆ หรือปัญหานั้น ๆ ออก
ให้เห็นตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย : reasoned attention; systematic attention; genetical reflection; analytical reflection)
ข้อธรรม ๒ อย่างนี้ ได้แก่ ธรรมหมวดที่ (๑) และ (๒) นั่นเอง แปลอย่างปัจจุบันว่า “องค์ประกอบของการศึกษา” หรือ “บุพภาคของการศึกษา” โดยเฉพาะข้อที่ ๑ ในที่นี้ใช้คำกว้าง ๆ
แต่ธรรมที่ต้องการเน้น ก็คือ กัลยาณมิตตตา  ปัจจัยให้เกิดมิจฉาทิฏฐิ ก็มี ๒ อย่าง คือ ปรโตโฆสะ
และ อโยนิโสมนสิการ

Article Sidebar

Main Article Content

วุฒินันท์ กันทะเตียน

มหาวิทยาลัยมหิดล

Abstract

                การเป็นผู้มีอำนาจไม่เพียงแต่จะใช้อำนาจ แต่ต้องรู้จักการใช้อำนาจอย่างถูกต้อง ซึ่งรูป แบบและแนวทางของผู้มีอำนาจพึงมีนั้นต้องอาศัยสัมมาทิฐิ อันมีความสำคัญต่อผู้ทรงอำนาจ ซึ่งเป็นผู้ที่มีความเห็นชอบ มีความเห็นตรง มีความเข้าใจถูกต้อง ผู้ที่มีความเห็นถูกย่อมมีปัญญา สัมมาทิฐินั้นเป็นแกนนำให้รู้ถึงทิฐิอื่นตามมา และสามารถแยกแยะว่าสิ่งใดดีสิ่งใดไม่ดี สัมมาทิฐิคือความเห็นชอบที่มาก่อนความเห็นอื่นได้แก่ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ  สัมมาสมาธิ การกระทำที่ชอบอื่นๆดังพุทธพจน์ที่กล่าวถึงสัมมาทิฐิว่า เปรียบเสมือนสารถี และชีวิตของมนุษย์เปรียบเหมือนรถที่กำลังแล่นไป โดยไม่สามารถแล่นไปสู่จุดหมายปลายทางเองได้  หากผู้ขับรถมีความเฉลียวฉลาดโดยอาศัยสัมมาทิฐิ ย่อมพาไปสู่ทิศทางที่ดี สัมมาทิฐิจึงเป็นเหตุให้กุศลธรรมอื่นๆเกิดขึ้น เพราะความเห็นหรือทิฐิเป็นจุดเปลี่ยนแปลง ที่อาจนำวิถีชีวิตไปสู่ความเจริญหรือความเสื่อมก็ได้  ปัจจัยที่ก่อให้เกิดสัมมาทิฏฐิแบ่งได้เป็นปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน สภาพ แวดล้อมภายนอกคือ ปรโตโฆสะที่มีอิทธิพลต่อการหล่อหลอมชีวิตของบุคคล การขัดเกลาทางสังคม และปัจจัยภายในทำให้เกิดสัมมาทิฐิ (โยนิโสมนสิการ) คือการกระทำที่ถูกต้องถูกทาง ได้แก่รู้ในสิ่งที่ไม่เที่ยง-ว่าไม่เที่ยง รู้ในสิ่งที่เป็นทุกข์-ว่าเป็นทุกข์ เป็นต้น

             การเป็นผู้ที่มีอำนาจที่พึงประสงค์  จึงต้องเป็นผู้มีสัมมาทิฐิอันประกอบปรโตโฆสะ และโยนิโสมนสิการ โดยทั้งสองปัจจัยนี้ย่อมสนับสนุนซึ่งกันและกัน โดยสัมมาทิฐิประกอบด้วยปัจจัยของปรโตโฆสะ คือวิธีการที่เริ่มต้นด้วยศรัทธาและการมีศรัทธาเป็นสำคัญ  โยนิโสมนสิการเป็นการกระทำจิตใจให้แยบคายซึ่งอยู่ในส่วนของปัญญา 


             To be a authorit, it is not only use the power that you have but to use the power in the right way.The important thing is this authorit should have Sammaditthi, that will make them to have the right thought and right understanding as the educted one. Sammaditthi is lead of every ditthi and known what is right, what is wrong. Sammaditthi is a lead opinion of Sammasankappa Sammavaca Sammakammanta Samma-ajiva  Sammavayama  Sammasati Sammasamadhi. Sammaditthi likes a driver and human’s life likes a driven car that cannot goto the destination by itself without the good driver who has sammaditthi. Kusala-kamma comes from Sammaditthi become opinion or ditthi leads people to either good or bad Sammaditthi comes from two factors consist of external and internal factors. Exterternal factors can devided into 2 levels, first external environment is Paratokosa that affect to human’s life and social. internal factor that leads Sammaditthi(or Yonisomanasikarn) is doing the right way,knowing certainty and uncertainty.

             The authority is desirable.Therefore, Sammaditthi is including Paratokosa and Yonisomanasikarn. Both  factors will support each other.Sammaditthi have factor of Paratokosa.Paratokosa is the beginning of faith, to have faith is important. 

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite

อุตสาหรัมย์ ช. ., & กันทะเตียน ว. . . (2017). สัมมาทิฐิ : หลักธรรมที่สำคัญต่อผู้มีอำนาจ. Journal of Graduate MCU KhonKaen Campus, 4(2), 16–29. Retrieved from //so02.tci-thaijo.org/index.php/jg-mcukk/article/view/243737

References

ดาณุภา ไชยพรธรรม. (2537). 10 บุรุษผู้เปลี่ยนแปลงโลก. นนทบุรี : อมรินทร์บุคเซ็นเตอร์. ปรีชา ช้างขวัญยืน (2557). ธรรมรัฐ-ธรรมราชา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ อักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต. (2556). กาลานุกรม. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ ผลิธัมม์. พระมหาสมปอง มุทิโต. (2547). คัมภีร์อภิธานวรรณนา. กรุงเทพมหานคร : ประยูรวงศ์พ ริ้นท์ติ้ง จํากัด. พระโมคคัลลานะเถระ รจนา พระมหาไพโรจน์ญาณกุสโลและคณะแปล. (2559). คัมภีร์ อภิธานัปปทีปิกา. กรุงเทพมหานคร : หจก.ประยูรสาส์นไทยการพิมพ์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : นามี บุคพับลีเคชั่นส์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพมหานคร : บุคพับลีเคชั่นส์. ลิขิต ธีระเวคิน. (2553). การเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช. (2556). พระโอวาทภาค 100 บทพระนิพนธ์ สมเด็จพระสังฆราช. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภาจัดพิมพ์. หลวงวิจิตรวาทะการ (2477). จารึกพ่อขุนรามคําแหง ฉบับหลวงวิจิตร. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พระจันทร์. The John F.kennedy Foundation in Thailand. (1996). Marriam-Webster‘s Collegiate Dictionary. USA : Marriam-Webster.

ปรโตโฆสะ มีอะไรบ้าง

ปรโตโฆสะ มี 2 ประเภท คือ ที่เป็นจริง มีเหตุผล เป็นประโยชน์ ประกอบด้วยความหวังดี และที่เป็นเท็จ ไม่มีเหตุผล ไม่เป็นประโยชน์ มุ่งทำลาย

ข้อใดหมายถึงปรโตโฆสะ

= 1. ปรโตโฆสะ - เสียงจากผู้อื่น การกระตุ้นหรือชักจูงจากภายนอก เช่น การสั่งสอน แนะนำ การถ่ายทอด การโฆษณา คำบอกเล่า ข่าวสาร ข้อเขียน คำชี้แจง อธิบาย การเรียนรู้จากผู้อื่น ในที่นี้ หมายเอาเฉพาะส่วนที่ดีงามถูกต้อง เฉพาะอย่างยิ่งการรับฟังธรรม ความรู้ หรือคำแนะนำจากบุคคลที่เป็น

ข้อใด อธิบายความหมายของสัมมาทิฏฐิถูกต้องที่สุด

สัมมาทิฏฐิ (บาลี: สมฺมาทิฏฺฐิ) หมายถึง แนวคิดที่ถูกต้อง ความเห็นชอบตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดีได้ดีทำชั่วได้ชั่ว ถือเป็นองค์แรกในมรรคมีองค์แปด อันเป็นแนวทางสู่การหลุดพ้นจากทุกข์

หลักธรรมใดไปประยุกต์ใช้ในการทำงานส่วนรวม เพื่อให้เกิดผลสำเร็จอันเป็นประโยชน์ร่วมกัน

สังคหวัตถุ 4 หมายถึง เครื่องมือ หรือหลักธรรม 4 ประการ ที่ช่วยประสานคนหมู่มากให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข เป็นเครื่องช่วยขจัดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นทำให้คนอยู่ร่วมกันด้วยความรัก สามารถนำไปใช้ได้ตั้งแต่ระดับครอบรัวจนถึงระดับสังคม เป็นธรรมที่ก่อให้เกิดความผาสุกในบ้านเมือง และประเทศชาตินั่นเอง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก