ข้อใด ไม่ใช่ ที่ มา ของคำว่า ละคร

  1. การแสดงนาฏศิลป์ไทย นิยมอยู่เพียงเรื่องเดียว  คือเรื่องรามเกียรติ์  ซึ้งได้เค้าเดิมมาจากเรื่องรามายณของอินเดียคืออะไร

ก.ละคร                                  ข.ลิเก                                     ค.โขน                                    ง.ระบำ

ตอบ  ค.โขน

  1. ละครที่ถือเป็นต้นแบบของละครรำทุกชนิด คือ  ละครอะไร

ก.ละครใน                            ข.ละครนอก                         ค.ละครเสภา                        ง.ละครชาตรี

ตอบ  ง.ละครชาตรี

  1. ละครที่ปรับปรุงขึ้นใหม่ มีลักษณะการแสดงคล้ายละครโอเปร่าแบบตะวันตก  คือ  ตัวละครพูดเองร้องเอง  และเปลี่ยนฉากไปตามเนื้อเรื่อง  คือ  ละครอะไร

ก.ละครพันทาง    ข.ละครดึกดำบรรพ์             ค.ละครเสภา        ง.ละครนอก

ตอบ  ข.ละครดึกดำบรรพ์

  1. ระบำชนิดที่ถือเป็นมาตรฐาน แสดงประกอบละครดึกดำบรรพ์ เรื่องสังข์ทอง คือระบำอะไร

ก.ระบำไก่                       ข.ระบำดาวดึงส์              ค.ระบำเทพบันเทิง     ง.ระบำกฤษดาภินิหาร

ตอบ    ข.ระบำดาวดึงส์

  1. การแสดง โขน ที่ไม่มีการสร้างโรง แสดงกับพื้นดินกลางสนาม  นิยมเล่นตอนที่เกี่ยวกับ  การรบ การยกทัพ คือข้อใด

ก.โขนกลางแปลง                                                               ข.โขนโรงใน

ค.โขนหน้าขอ                                                      ง.โขนโรงนอกหรือโขนนั่งราว

ตอบ  ก.โขนกลางแปลง

  1. นาฏยศัพท์ คือ  ศัพท์ที่ใช้เกี่ยวกับท่ารำ  การยกแขนให้ได้ส่วนยกสูง  ตั้งข้อมือ  ฝ่ามือเหยียดตรงทั้งสี่นิ้ว นิ้วหัวแม่มืองอเข้าหาฝ่ามือเล็กน้อย หักข้อมือเข้าหาลำแขน  หมายถึงข้อใด

ก.กันวง                                 ข.ตั้งวง                                  ค.จีบหงาย                             ง.จีบวง

ตอบ  ข.ตั้งวง

  1. การตัดตอนจากวรรณคดีเอกเรื่องรามเกียรติ์ เพื่อใช้แสดงในข้อใด

ก.ละครนอก                         ข.ละครใน                            ค.โขน                    ง.ระบำ

ตอบ ค.โขน

  1. ภาษาทางนาฏศิลป์ใช้เรียกการแสดงท่าทางในการพูดของตัวละครว่าอย่างไร

ก.นาฏยศัพท์                        ข.การตีบท                ค.บทของละคร             ง.ภาษาของการแสดง

ตอบ ข.การตีบท

  1. การละครและการฟ้อนรำของไทยที่ปรากฏอยู่จนทุกวันนี้ ได้แบบแผนมาจากชนชาติใด

ก.จีน                                      ข.เขมร                                   ค.ลาว                                     ง.อินเดีย

ตอบ ง.อินเดีย

  1. การละครที่ใช้ผู้แสดงเป็นชายล้วน และมีตัวแสดงเพียง 3 ตัว  คือละครในข้อใด

ก.ละครใน                    ข.ละครนอก                       ค.ละครชาตรี                      ง.ละครดึกดำบรรพ์ตอบ  ข.ละครนอก

  1. การละครของไทยที่แสดงท่าทางเหมือนอย่างสามัญชนและเปลี่ยนฉากไปตามท้องเรื่อง คือละครในข้อใด

ก.ละครพูดกับละครพันทาง                                              ข.ละครพูดกับละครดึกดำบรรพ์

ค.ละครพูดกับละครเสภา                                                               ง.ละครพูดกับละครร้อง

ตอบ  ก.ละครพูดกับละครพันทาง

  1. ต้นกำเนิดของการแสดงละคร มาจากอะไร

ก.การสวดอ้อนวอน                                                        ข.การร้องเพลงพื้นบ้าน

ค.การร่ายรำบูชาเทพเจ้า                                                     ง.การแสดงทางศาสนา

ตอบ   ค.การร่ายรำบูชาเทพเจ้า

  1. ศิลปะการแสดงละคร ประกอบด้วยบุคคลหลายฝ่ายเข้าด้วยกัน จึงได้ชื่อว่าอย่างไร

ก.รำแม่บท            ข.รำอวยพร             ค.พระลอตามไก่               ง.ฉุยฉายพราหมณ์

ตอบ   ง.ฉุยฉายพราหมณ์

  1. ละครนอกแสดงได้ทุกเรื่อง ส่วนการแสดงละครในแสดงเรื่องใดในต่อไปนี้

ก.อิเหนา รามเกียรติ์ และมณีพิชัย                                   ข.อิเหนา รามเกียรติ์ และอุณรุท

ค.อิเหนา รามเกียรติ์ และราชาธิราช                               ง.อิเหนา รามเกียรติ์ และสกุลตลา

ตอบ  ข.อิเหนา รามเกียรติ์ และอุณรุท

  1. การแสดงของภาคใต้ คือข้อใด

ก.มโนราห์-ลำกลอน                                                          ข.มโนราห์-ลำหมู่

ค.มโนราห์-หนังตะลุง                                                       ง.มโนราห์-ลำตัด

ตอบ  ค.มโนราห์-หนังตะลุง

  1. บ้องไฟ คือการละเล่นพื้นเมืองของภาคใด

ก.เหนือ                                 ข.กลาง                                  ค.อีสาน                                 ง.ใต้

ตอบ  ค.อีสาน

  1. ลำตัด คือการแสดงพื้นเมืองของภาคใด

ก.เหนือ                                             ข.กลาง                                             ค.อีสาน                            ง.ใต้

ตอบ  ข.กลาง

  1. ฟ้อนเล็บ คือการแสดงพื้นเมืองของภาคใด

ก.เหนือ                              ข.กลาง                            ค.อีสาน                           ง.ใต้

ตอบ  ก.เหนือ

  1. การแสดงของภาคอีสาน คือข้อใด

ก.ลำตัด                               ข.ฟ้อนเล็บ                       ค.มโนราห์                        ง.ลำเพลิน

ตอบ  ง.ลำเพลิน

  1. ก่อนจะมีการแสดงละคร ผู้แสดงจะต้องกระทำสิ่งใดก่อน

ก.  ไหว้ครู                          ข. บรรเลงดนตรี                ค.  ร้องเพลงนำ                 ง. ร้องเพลงโชว์

ตอบ  ก.  ไหว้ครู

  1. “เถิดเทิง หรือ  เทิ่งบอง” เรียกตามเสียงกลองที่ได้ยินิ  ใช้ประกอบการรำพื้นเมืองของไทยภาคใด

ก.   ภาคเหนือ                    ข.  ภาคกลาง                     ค.  ภาคอีสาน                                     ง.  ภาคใต้

ตอบ  ข.  ภาคกลาง

  1. บทบาทของตัวละครบนเวที ที่ปรากฎต่อผู้ชมในด้านต่างๆ เช่น สีหน้า ท่าทาง จังหวะ การเคลื่อนไหวคืออะไร

ก.  การใช้ภาษา                 ข.   ภาพ                           ค.     ความคิด                   ง.   ตัวละคร

ตอบ  ข.   ภาพ

  1. บทพูดร้องที่ดี จะต้องเป็นอย่างไร

ก.    เหมาะสมกับลักษณะของผู้แสดงแต่ละคราว

ข.    ปรับปรุงไปตามความเหมาะสมกับเวลาและโอกาส

ค.    เหมาะสมกับลักษณะของการละครและนิสัยของตัวละคร

ง.     เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพและเหตุการณ์ของบ้านเมือง

ตอบ  ค.    เหมาะสมกับลักษณะของการละครและนิสัยของตัวละคร

  1. ควรใช้ภาษาพูดในข้อใดเมื่อแสดงละคร

ก.   คำพูดที่ใช้กันอยู่ปกติ                               ข.   คำพูดที่ใช้ต้องประหยัดถ้อยคำ

ค.    จะต้องพูดให้เกินความเป็นจริง                ง.   คำพูดต้องให้กินใจอย่างลึกซึ้ง

ตอบ  ง.   คำพูดต้องให้กินใจอย่างลึกซึ้ง

  1. การประพันธ์ที่เป็นศิลปะของการถ่ายทอดทางด้านบทเพลงที่ตัวละครจะต้องขับร้องหรือความเงียบของช่วงการเจรจา ควรมีจังหวะลีลา  มีน้ำเสียงสูงต่ำ ในคำพูดของบทละคร  เรียกว่าอย่างไร

ก. บทร้อง               ข. ภาษา                          ค. เพลง                 ง. บทร้องประกอบ

ตอบ  ค. เพลง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก