ข้อใด ไม่ใช่ ข้อดี ของ ภาพถ่าย ทางอากาศ

1.    รีโมตเซนซิงประกอบด้วยข้อมูลรูปแบบใดบ้าง
ก.    กราฟ  แผนผัง                                             ข.    รูปถ่ายทางอากาศ  ภาพจากดาวเทียม
ค.    รูปถ่ายทางอากาศ  พิกัดทางภูมิศาสตร์    ง.    ข้อมูลจากการสำรวจทางอากาศ  แผนภูมิ

2.    ดาวเทียมที่ให้ข้อมูลซึ่งเป็นประโยชน์ด้านอุตุนิยมวิทยาต้องมีคุณสมบัติอย่างไร
ก.    บันทึกข้อมูลเป็นภาพขาว – ดำ
ข.    ดาวเทียมที่ใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
ค.    โคจรรอบโลกจากขั้วโลกเหนือลงสู่ขั้วโลกใต้
ง.    โคจรรอบโลกในความเร็วเท่ากับการหมุนของโลก

3.    ข้อใด ไม่ใช่ ข้อดีของการบันทึกข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เป็นระบบตัวเลข
ก.    บันทึกบนกระดาษ ใช้งานได้ง่าย
ข.    วิเคราะห์ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
ค.    ข้อมูลมีความคงที่ สามารถแก้ไขได้ง่าย
ง.    กำหนดรายละเอียดของข้อมูลตามความต้องการได้

4.    รัฐบาลใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้านใด
ก.    จัดทำแผนที่ท่องเที่ยว       ข.    วางแผนการจัดทำแผนที่
ค.    แก้ไขสภาวะทางอากาศ    ง.    หาตำแหน่งของสิ่งต่างๆ

5.    ถ้านักเรียนต้องการข้อมูลสภาพภูมิอากาศจากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ของกรมอุตุนิยมวิทยา แหล่งข้อมูลใดมีความสะดวกและรวดเร็วที่สุด
ก.    เว็บไซต์กรมอุตุนิยมวิทยา                  ข.    เดินทางไปกรมอุตุนิยมวิทยา
ค.    ส่งจดหมายไปยังกรมอุตุนิยมวิทยา    ง.    โทรศัพท์ขอข้อมูลจากกรมอุตุนิยมวิทยา

6.    บริเวณพื้นผิวของโลกส่วนใดมีเนื้อที่มากที่สุด
ก.    ธรณีภาค        ข.    ชีวภาค
ค.    อุทกภาค        ง.    บรรยากาศภาค

7.    ลักษณะภูมิประเทศแบบใดที่มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะต่อการเพาะปลูก
ก.    ที่ราบที่เกิดจากตะกอนน้ำพัดพา
ข.    เกาะกลางมหาสมุทรในเขตน้ำลึก
ค.    ทิวเขาที่เกิดจากการโก่งตัวของเปลือกโลก
ง.    ทะเลสาบที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก

8.    ถ้าเดินทางผ่านตอนเหนือของทวีปแอฟริกา จะพบภูมิอากาศแบบใด
ก.    ทุนดรา                  ข.    ชื้นภาคพื้นทวีป
ค.    ทุ่งหญ้าสะวันนา    ง.    ทะเลทรายเขตร้อน

9.    เขตภูมิอากาศแบบใดจะพบพืชพรรณธรรมชาติน้อย
ก.    ป่าดิบชื้น            ข.    ทุ่งน้ำแข็ง
ค.    มรสุมเขตร้อน    ง.    กึ่งทะเลทราย

10.    การเพาะปลูกในพื้นที่กว้างขวาง มีการใช้เครื่องจักรทันสมัยเข้ามาช่วยในการผลิต เป็นลักษณะการเพาะปลูกแบบใด
ก.    การเพาะปลูกแบบยังชีพ               ข.    การเพาะปลูกแบบไร่ขนาดใหญ่
ค.    การเพาะปลูกแบบไร่เลื่อนลอย    ง.    การเพาะปลูกแบบไร่นาสวนผสม

11.    ในปัจจุบันการทำเหมืองแร่สามารถขุดแร่ได้มากขึ้น เพราะสาเหตุใด
ก.    แร่ธาตุมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น               ข.    มีความต้องการใช้แร่ธาตุมากขึ้น
ค.    บริษัทเอกชนที่ขุดแร่มีเพิ่มมากขึ้น    ง.    เทคโนโลยีในการขุดแร่เจริญขึ้น

12.    ข้อใดคือแหล่งน้ำมันสำคัญที่อยู่นอกบริเวณภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้
ก.    คิวบา             ข.    นิวซีแลนด์
ค.    เวเนซุเอลา    ง.    ออสเตรเลีย

13.    แหล่งที่อยู่อาศัยที่สำคัญของประชากรชาติพันธุ์ต่างๆ ข้อใด ไม่ถูกต้อง
ก.    นิกรอยด์ : แอฟริกา    ข.    มองโกลอยด์ : เอเชีย
ค.    คอเคซอยด์ : ยุโรป     ง.    คอเคซอยด์ : หมู่เกาะมหาสมุทรแปซิฟิก

14.    ประเทศในข้อใด มีระบอบการปกครองแตกต่างไปจากข้ออื่น
ก.    ญี่ปุ่น  ไทย  สหรัฐอเมริกา    ข.    ฝรั่งเศส  เบลเยียม  อาร์เจนตินา
ค.    จีน  คิวบา  เกาหลีเหนือ          ง.    อินเดีย  สวีเดน  มาเลเซีย

15.    วัฒนธรรมของทวีปยุโรปมีรากฐานมาจากอารยธรรมใด
ก.    กรีก – โรมัน      ข.    อียิปต์ – ฮิบรู
ค.    อินคา – มายา    ง.    ลาติน – สเปน

16.    เมืองหลวงกับประเทศในทวีปยุโรปข้อใด ไม่ สัมพันธ์กัน
ก.    โรม : อิตาลี               ข.    ออสโล : นอร์เวย์
ค.    บูคาเรสต์ : ฮังการี     ง.    ลิสบอน : โปรตุเกส

17.    ภูมิประเทศแบบทิวเขาที่มียอดแหลม ฟยอร์ด ของทวีปยุโรปเกิดจากกระบวนการใด
ก.    การทับถมของดินลมหอบ       ข.    การกัดกร่อนจากธารน้ำแข็ง
ค.    การกัดเซาะจากแม่น้ำลำธาร    ง.    การดันตัวของหินหนืดร้อนใต้เปลือกโลก

18.    ชาวรัสเซียในเขตไซบีเรียต้องสวมใส่เสื้อผ้าขนสัตว์หนาๆ เพราะมีภูมิอากาศแบบใด
ก.    ขั้วโลก                  ข.    อบอุ่นชื้น
ค.    ชื้นภาคพื้นทวีป    ง.    เมดิเตอร์เรเนียน

19.    ทรัพยากรธรรมชาติชนิดใด ที่มีผลต่อความเจริญก้าวหน้าของทวีปยุโรปมาตั้งแต่อดีต
ก.    นิกเกิล – ยูเรเนียม    ข.    ดีบุก – ทังสเตน
ค.    ทองแดง – ตะกั่ว       ง.    ถ่านหิน – เหล็ก

20.    แหล่งทำการประมงที่สำคัญของทวีปยุโรปคือข้อใด
ก.    อ่าวเอเดน    ข.    ทะเลเหนือ
ค.    คูริวแบงก์     ง.    ทะเลแคสเปียน

21.ข้อใดหมายถึงแผนที่
ก. การแสดงลักษณะพื้นผิวโลก
ข. การย่อขนาดของสถานที่ลงบนแผ่นกระดาษ
ค. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อแสดงลักษณะของพื้นผิวโลก แล้วจำลองลงบนแผ่นราบ
ง. ถูกทุกข้อ

22.หากนักเรียนต้องการหาตำแหน่งที่ตั้งของจังหวัดเชียงใหม่ นักเรียนควรศึกษาจากองค์ประกอบในข้อใด ในแผนที่ที่ง่ายและสะดวกที่สุด
ก. ทิศ
ข. สัญลักษณ์
ค. มาตราส่วน
ง. พิกัดภูมิศาสตร์

23. ข้อใดเป็นการใช้สี แทนสัญลักษณ์ ไม่ถูกต้อง
ก. สีฟ้า แสดงบริเวณที่เป็นที่ราบ
ข. สีเขียว แสดงบริเวณที่เป็นป่าไม้
ค. สีเหลือง แสดงบริเวณที่เป็นที่ราบสูง
ง. สีน้ำตาล แสดงบริเวณที่เป็นเทือกเขา

24. ข้อใดคือแผนที่ภูมิประเทศ
25. ข้อใดจัดเป็นแผนที่มาตราส่วนขนาดใหญ่
ก. 1 : 50,000
ข. 1 : 80,000
ค. 1 : 500,000
ง. 1 : 800,000

26. ประเทศไทยจัดตั้งกองทำแผนที่ขึ้นเป็นครั้งแรกในรัชสมัยใด
ก. รัชกาลที่ 3
ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 4
ง. รัชกาลที่ 6

27. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) เป็นการรวบรวม จัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลทางภูมิศาสตร์โดยใช้หลักเครื่องมือ ชนิดใด
ก. ยานขนส่งอวกาศ
ข. ดาวเทียมสื่อสาร
ค. ระบบคอมพิวเตอร์
ง. สถานีรับสัญญาภาคพื้นดิน

28. การนำระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มาใช้ทำแผนที่ขั้นตอนสุดท้ายจะได้ผลเป็นอะไร
ก. แผนที่ใหม่
ข. ข้อมูลเชิงเลขง
ค. แผนที่มูลฐาน
ง. ภาพจากดาวเทียม

29. ข้อใดคือประโยชน์ของ GPS
ก. การใช้อ้างอิงในการนับเวลา
ข. การสำรวจรังวัดและการทำแผนที่
ค. การติดตามการเคลื่อนที่ของคนและวัตถุ
ง. ถูกทุกข้อ

30. ข้อใดจัดเป็นเทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์
ก. การสัมผัสระยะไกล
ข. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ค. ระบบกำหนดตำแหน่งทางภูมิศาสตร์
ง. ถูกทุกข้อ

31. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับภูมิศาสตร์
ก. การศึกษาลักษณะภูมิประเทศ
ข. การจัดการและการใช้ที่ดิน
ค. การจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อมของมนุษย์
ง. การเปลี่ยนแปลงของภูมิประเทศ

32. ภูมิศาสตร์เป็นศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านใดมากที่สุด
ก. คณิตศาสตร์ ข. วิทยาศาสตร์
ค. ประวัติศาสตร์ ง. ศิลปะศาสตร์

33. ถ้านักเรียนจะศึกษามิติของพื้นที่ จะต้องเลือกศึกษาในเรื่องใด
ก. ปรากฏการณ์น้าขึ้นน้าลง ข. ความสูง ความกว้าง ความลึกของพื้นที่
ค. ลักษณะและระบบต่างๆ ในพื้นที่ ง. เทคนิคการใช้พื้นที่

34. ปรากฎการณ์ใดที่ทาให้พื้นที่ในแผนที่แต่ละช่วงเวลาแตกต่างกัน
ก. แผ่นดินไหว ข. การเพิ่มขึ้นของประชากร
ค. การพัฒนาเมือง ง. การขยายเมือง

35.การให้ได้ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่มีความคลาดเคลื่อนน้อยที่สุด นักเรียนควรเลือกวิธีการศึกษา ในข้อใด
ก. การศึกษาในสานักงาน ข. การศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญ
ค. การศึกษาด้วยเครื่องมือที่ทันสมัย ง. การศึกษาในพื้นที่จริง

36. ถ้านักเรียนต้องการศึกษาตาแหน่งของเมืองหลวงในทวีปเอเชีย ควรเลือกเครื่องมือภูมิศาสตร์ใด จึงเหมาะสมและสะดวกที่สุด
ก. ลูกโลก ข. ภาพถ่ายจากดาวเทียม
ค. เครื่อง GPS ง. ภาพถ่ายทางอากาศ

37. “วัสดุทรงกลมที่แสดงลักษณะต่าง ๆ ของผิวโลก” ข้อความดังกล่าวหมายถึงเครื่องมือภูมิศาสตร์ใด
ก. แผนที่ ข. ภาพถ่ายดาวเทียม
ค. ลูกโลก ง. ระบบรีโมทเซนซิ่ง

38. ข้อมูลใดที่ ไม่ ปรากฏในลูกโลก
ก. ลองติจูด ข. ละติจูด
ค. จานวนประชากร ง. เส้นวันที่สากล

39. ถ้านักเรียนต้องการศึกษาซีกโลกตะวันตกและซีกโลกตะวันออก จะต้องเริ่มศึกษาจากเมริเดียนใด
ก. เมริเดียนแรก ข. เมริเดียน ๑๐๐ องศาตะวันออก
ค. เมริเดียน ๘๐ องศาตะวันตก ง. เมริเดียน๑๘๐ องศาตะวันออก

40. ถ้าขณะนี้เวลาท้องถิ่นกรีนิชเป็นเวลา ๐๕.๐๐ น. ถ้าประเทศ ก ตั้งอยู่ที่ลองจิจูด ๙๐ องศา ตะวันออก ประเทศ ก จะเป็นเวลาเท่าไร
ก. ๑.๐๐ น. ข. ๒.๐๐ น.
ค. ๑๑.๐๐ น. ง. ๑๗.๐๐ น.
41. ช่วงห่างทางลองจิจูดช่วงละ ๑๕ องศา เทียบเวลาได้เท่าไร
ก. ๓๐ นาที ข. ๔๕ นาที
ค. ๑ ชั่วโมง ง. ๒ ชั่วโมง

42. เส้นสมมติละติจูดที่ ๔๐ องศาเหนือ ลากผ่านประเทศจีน นักเรียนจะบอกลักษณะอากาศอย่างไร
ก. อากาศร้อนจัด ข. อากาศอบอุ่น
ค. อากาศหนาว ง. อากาศหนาวจัด

43. ถ้านักเรียนต้องการศึกษาวงโคจรของโลก ควรเลือกใช้เครื่องมือภูมิศาสตร์ใดดีที่สุด
ก. ลูกโลก ข. แผนที่
ค. เครื่อง GPS ง. เครื่อง RPS

44. สิ่งใดปรากฏในแผนที่
ก. ระยะทาง ข. มาตราส่วน
ค. เชื้อชาติของประชากร ง. อาชีพ

45. ข้อใดเป็นองค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ก. บุคลากร ข. ดาวเทียม
ค. กล้องถ่ายภาพ ง. เครื่องบิน

46. องค์ประกอบที่สาคัญที่สุดของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ คือข้อใด
ก. ระบบ RIS ข. ข้อมูลภูมิศาสตร์
ค. ระบบGPS ง. ภาพถ่ายทางอากาศ

47. ถ้านักเรียนต้องการหาข้อมูลเรื่อง แหล่งหินในประเทศไทย ควรหาข้อมูลจากแหล่งใดจึงจะได้ ข้อมูลที่หลากหลายและรวดเร็วที่สุด
ก. สอบถามนักธรณีวิทยา ข. ค้นคว้าจากแผนที่
ค. ค้นคว้าจากลูกโลก ง. ค้นคว้าจากภาพถ่ายดาวเทียม

48. เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงเกิดพายุหมุนบ่อยครั้ง
ก. มีความแตกต่างของความกดอากาศ ข. มีอากาศร้อนมาก
ค. มีปริมาณฝนตกชุก ง. มีความแตกต่างของอุณหภูมิมาก

49. สาเหตุใดที่ทาให้ประเทศไทยเกิดภัยพิบัติจากดินถล่มมากที่สุด
ก. การทาลายแหล่งต้นน้าและป่าไม้ ข. การทาลายป่าธรรมชาติ
ค. ภาวะโลกร้อน ง. การสร้างอ่างเก็บน้า

50. นักเรียนสามารถระวังภัยพิบัติต่าง ๆ ได้ด้วยการศึกษาข้อมูลข่าวสารจากหน่วยงานใด
ก. ศูนย์ป้องกันภัยพิบัติ ข. ศูนย์ช่วยเหลือประชาชน
ค. ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชาติ ง. ศูนย์ป้องกันภัยสาธารณะ

เฉลย
1.    ข.  2.    ง. 3.    ก.   4.    ข.   5.    ก.
6.    ค.    7.    ก.    8.    ง.    9.    ข.    10.    ข.
11.    ง.    12.    ค13.    ง.    14.    ค.    15.    ก.
16.    ค.    17.    ข.    18.    ก.    19.    ง.    20.    ข.

21. ค      22. ง      23. ก       24. ก     25. ก  
26. ข     27. ง       28. ก      29. ง     30. ง

31.ค        32.ข       33. ก        34.ก            35.ง

36. ก       37. ค      38. ค       39.ก             40.ค

41. ค       42.ข        43.ก        44. ข            45.ก

46.ข        47. ข       48. ก       49. ก           50.ก

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก