ข้อใดเป็นผลการสืบค้นรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ได้จากการสืบค้นบน webopac

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โอแพ็ก (อังกฤษ: OPAC: Online Public Access Catalog) เป็นระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์[1] เพื่อค้นคืนตามเลขเรียกหนังสือ สถานที่จัดเก็บ และสถานภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนที่จะไปหาตัวเล่มบนชั้น เริ่มมีใช้ในช่วงกลางคริสต์ทศวรรษที่ 1990 แทนที่ระบบแบบเก่าที่เป็นบัตรกระดาษ[2] ผู้ใช้บริการห้องสมุดหรือบรรณารักษ์ สามารถสืบค้นผ่านคอมพิวเตอร์ในห้องสมุด หรือว่าใช้คอมพิวเตอร์ผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ตได้

ระบบโอแพ็กที่ใหญ่ที่สุดคือระบบฐานข้อมูลของ WorldCat

ประโยชน์[แก้]

  • 1. ค้นหาข้อมูลทางบรรณานุกรมของรายการทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการ
  • 2. ตรวจสอบรายการยืมทรัพยากรสารสนเทศของตนเอง
  • 3. ค้นหาบทความจากวารสารที่มีให้บริการในห้องสมุด
วิกิตำรามีตำราในหัวข้อ OPAC

อ้างอิง[แก้]

  1. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-11-24. สืบค้นเมื่อ 2011-08-02.
  2. Husain R & Alam Ansari M (2006). "From Card Catalog to Web OPACs". DESIDOC Bulletin of Information Technology 26 (2): 41–7.

Blog ไทยก็มีเยอะนะค่ะ แต่ส่วนใหญ่ เค้าไม่ให้มีโฆษณาใน Blog จึงขอแนะนำ Blog ของ google ดีกว่า ซึ่งมีภาษาไทย ในการอธิบายเมนูต่างๆด้วยและสามารถเลือกภาษาที่จะแสดงเมนูใน blog ได้ (กรณีทำโฆษณาภาษาอังกฤษ)
การสร้าง blog กับ blogger.com ชื่อที่ได้ จะได้เป็น ชื่อที่ตั้ง.blogspot.com
ถามว่า Blog สู้การทำเว็บ .com ได้มั้ย ลองเข้า

google.co.th

แล้วค้นคำว่า เที่ยวลาว ดูนะค่ะ จะเห็นว่า blog สู้ .com ได้อย่างสบาย การที่เว็บจะอยู่อันดับต้น มันขึ้นกับเนื้อหาในเว็บค่ะ

วิธีการสมัคร Blogger.com 
เข้า //www.blogger.com

 

ถ้าคุณเคยสมัครอะไรของ google ไว้แล้ว เช่น เคยสมัครเมล์ gmail ก็สามารถใช้ รหัส gmail login ในช่อง ลงชื่อเข้าใช้งานได้เลย...หรือถ้าไม่เคยสมัครอะไร หรืออยากจะสมัครใหม่ ก็ คลิกคลิกที่ลูกศรสีส้ม สร้างบล็อคของคุณทันที

1.สร้างบัญชี Google

- ที่อยู่อีเมล ใส่เมล์ของเรานะค่ะ เมล์อะไรก็ได้ ไม่จำเป็นต้องเป็น gmail ค่ะ ก็ประมาณว่า เมล์ที่เราใช้อยู่นั่นแหละค่ะ
- ใส่เมล์นั้นอีกครั้งค่ะ
- กำหนดรหัสผ่าน ตั้งขึ้นมาเลย ไม่ใช่รหัสเมล์นะค่ะ เป็นรหัสที่เราตั้งขึ้นเพื่อสมัคร blogger ครับ
- ชื่อที่แสดง ก็อย่างที่ในเว็บบอกค่ะ คือ คือนี่จะแสดงว่าเราเราโพสข้อความอะไรใน blog ของเรา หรือเขียนคอมเม้น แสดงความคิดเห็น blog ของคนอื่น
- รหัสยืนยัน ใส่รหัสสุ่มตามภาพที่ขึ้นมา
- ทำเครื่องหมายช่องสี่เหลี่ยม ยอมรับข้อตกลง ...จากนั้นคลิก ดำเนินการต่อ

ตั้งชื่อเว็บบล็อกเลยค่ะ ชื่อจะปรากฏที่บนสุดของ blog เช่น ดังภาพ

ที่อยู่บล็อก ก็คือ ชื่อที่อยู่ url ของ blog นั่นเองค่ะ ตัวอย่างชื่อ blog

สำหรับการ ตรวจสอบความพร้อมคือ ตรวจสอบว่าชื่อที่ตั้งอยู่ ซ้ำหรือมีใครใช้อยู่หรือยังถ้าขึ้น ที่อยู่บล็อกนี้สามารถใช้ได้ ก็สามารถใช้ชื่อนี้ได้ค่ะ
*** ทั้งชื่อเว็บบล็อก และที่อยู่ บล็อก สามารถเปลี่ยนแปลงได้ในภายหลังค่ะ และ 1 user ที่ใช้ login blogger สามารถ สร้าง blog ได้ 100 blog ค่ะ ถ้าอยากสร้างอีก ก็สมัคร account blogger ใหม่ เพิ่มอีกค่ะ ***

ขั้นตอนต่อไปก็จะมีให้เลือกรูปแบบของ blog เลือกได้เลยค่ะ ชอบแบบไหนก็เลือกไปก่อน สามารถเปลี่ยนแปลงภายหลังได้

คลิก ดำเนินการต่อ ...

หลังจากนั้น จะมาถึงขั้นตอน เริ่มต้นการเขียนบล็อก เพื่อนำเสนอสิ่งที่เราต้องการนำเสนอ

ทำความเข้าใจ เกี่ยวกับ blog ของ blogger ก่อนค่ะ ก่อนเขียน blog เราต้องทำความเข้าใจและวางแผนก่อนค่ะ
- blog เราสามารถ เขียนข้อความต่างๆ แทรกภาพ หรือนำเสนอต่างๆได้

การเขียน blog ที่ blogger
- ข้อความล่าสุด จะอยู่ที่หน้า blog
- ข้อความต่างๆที่เขียนไป จะเป็นหัวข้อ รวมอยู่ในคลังบทความของบล็อก ซึ่งคำว่า "คลังบทความของบล็อก"

คลิกเข้าที่แก้ไข เพื่อเข้าไปแก้ไขคำว่า คลังบทความของบล็อก

- สำหรับรูปแบบของ blog เกี่ยวกับคลังของบทความ เราควรวางแผนแล้วว่า บทความหรือข้อความต่างๆที่เราจะเขียน blog จะเรียงลงมา เมื่อมีผู้เข้าเยี่ยมชม blog ของเรา ผู้เยี่ยมก็จะเห็นหัวข้อเหล่านั้น และเลือกที่จะคลิกอ่านได้ เป็นผลดีในการนำเสนอ
- สำหรับบทความต่างๆ หรือข้อความต่างๆที่เราจะนำเสนอใน blog ข้อความล่าสุดจะอยู่หน้าแรกค่ะ หน้าแรกของ blog ควรจะเป็นเหมือนหน้ารับแขก ซึ่งออกแบบ เพื่อดึงดูดให้ผู้เข้าเยี่ยมชมได้สนใจ และอ่าน blog  แล้วจะทำงัยล่ะ ? เมื่อข้อความต่างๆที่เรา เขียนไป เป็นหัวข้อต่างๆ ข้อความล่าสุดจะอยู่หน้าแรก ถ้าเราออกแบบ หน้าที่ดึงดูดความสนใจ ไว้เป็นหน้าแรกแล้ว ถ้าเรามีข้อความมาเขียน หรือ นำเสนออีก จะทำงัย ให้หน้าที่เราออกแบบไว้ อยู่หน้าแรก
- วิธีการง่ายๆก็คือ แต่ละบทความที่เราเขียนไป สามารถแก้ไขได้ เราเข้าไปแก้ไขบทความนั้น แก้ไขตรงวันที่ หรือจะแก้ไขเวลาด้วยก็ได้ ให้เป็นวันที่ล่าสุด เพื่อให้บทความนั้นยังอยู่หน้าแรกนั่นเอง  อยู่ล่างๆ นะค่ะ คลิกที่ตัวเลือกของบทความ แล้วจะมีให้แก้ไขได้

สำหรับ ป้ายกำกับสำหรับบทความนี้   หมายถืง คีย์เวิร์ด สำคัญ หรือน่าสนใจ ในบทความหรือข้อความนั้นๆนะค่ะ เวลาโพสต์หรือเขียนข้อความไปแล้ว จะขึ้นเป็นข้อความ ป้ายกำกับ อยู่ล่างสุดของบทความ
- ทำความเข้าใจ การโพส หรือการเขียนข้อความ

- เผยแพร่บทความ คือเขียนข้อความเสร็จแล้ว ต้องการโพสใน blog แล้ว
- สำหรับ บันทึกทันที หมายถึง เราเขียนแล้ว แต่ยังไม่อยากนำเสนอลงใน blog เราอาจยังเขียนไม่เสร็จ เราใช้ปุ่มบึนทึกทันที บันทึกไว้ก่อน ยังไม่แสดงใน blog เพื่อไว้จะมาแก้ไขเพิ่มเติมให้สมบูรณ์อีกทีในภายหลังค่ะ
- กลับมาเรื่องป้ายกำกับ เราสามารถแทรกไว้ใน blog เป็นเมนูได้ เพื่อให้ผู้เยี่ยมชม ได้เลือกอ่านได้
- สำหรับการเพิ่ม ส่วนของป้ายกำกับ ทำได้โดย มาที่องค์ประกอบของหน้า


มาที่เพิ่ม Gadget ตรงไหนก็ได้ครับ ปกติจะอยู่ทางด้านซ้าย และล่างสุด

เลือก ป้ายกำกับ แล้วคลิกเครื่องหมาย บวก + เพื่อเลือกรูปแบบ ป้ายกำกับ เข้ามาใน blog

- จะมีป้ายกำกับขึ้นมา เพื่อให้คลิก บันทึก เป็นการแทรกโดยสมบูรณ์  หรือจะแก้ไข คำว่า ป้ายกำกับ เลยก็ได้ หรือค่อยกลับมาแก้ไขภายหลังได้ค่ะ เมื่อแทรกแล้ว ก็จะมีรูปแบบของป้ายกำกับเข้ามาใน blog

- สำหรับ หัวข้อส่วนต่างๆ สามารถเคลื่อนย้ายได้ เพื่อจัดรูปแบบต่างๆของ blog โดยเอาเม้าส์ คลิกค้าง แล้วลากไปตามส่วนต่างๆ ได้ตามต้องการ

การใส่แม่แบบนอกเหนือจากแม่แบบที่มี ใน blogger ทำดังนี้
เข้าไปที่ //btemplates.com/ จะมีรูปแบบต่างๆให้เลือก ดาวน์โหลด ไฟล์ที่โหลดมา จะเป็นไฟล์ .zip ให้เรา แตกไฟล์ .zip ออกมา จะได้เป็นไฟล์ .xml

  เราจะเอาไฟล์ .xml เข้า blog ได้อย่างไร ?
- มาที่เมนูรูปแบบ หัวข้อ แก้ไข HTML จะมีให้ Browse เพื่อเลือกไฟล์ .xml ที่เรามีในเครื่อง (ที่เราไปโหลดมา) แล้วคลิก อัปโหลด เพื่อ โหลดไฟล์ xml เข้าไปใน blog

จะมีบางรายการขึ้นมา ว่าส่วนไหนบ้างของแม่แบบเก่าจะหายไป ก็คลิกที่ยืนยันและบันทึก เพื่อเปลี่ยนแปลงให้ blog เรา เป็นแม่แบบใหม่ ที่ต้องการ
-

สำหรับข้อความ

บทความในการโพสต่างๆ ก็จะยังอยู่นะค่ะ จะไม่หายไปไหน เป็นการเปลี่ยนแม่แบบเฉยๆแต่ส่วนของการตกแต่ง หรือ Gadget ต่างๆที่เราเพิ่มเติมเสริมใน แม่แบบเก่า จะหายไป เราค่อยมาเลือก Gadget เพื่อตกแต่งใหม่ได้ค่ะ

-

มาดูเมนูการตั้งค่า ซะหน่อย

บางคนสงสัยครับว่า blog ที่เขียน บทความต่างๆ ยาวลงมามาก ไม่รู้จะทำงัย มาที่ เมนูการตั้งค่า แล้วมาที่ การจัดรูปแบบ สามารถเลือกได้ว่า จะแสดง หน้าละกี่บทความค่ะ
-

ในเมนูนี้ ยังสามารถเปลี่ยนภาษาได้ด้วย

เป็นการเปลี่ยนภาษาของเมนูต่างๆ ใน blog ของเราค่ะ กรณี เราทำ blog ภาษาอังกฤษ แล้วอยากให้เมนูต่างๆเป็นภาษาอังกฤษ

-

และอย่าลืมเข้ามาเปลี่ยน โซนเวลา ให้เป็น GMT +7 กรุงเทพ

ด้วยนะค่ะ จะได้เช็คเวลาได้ กรณีมีใครมาเขียน แสดงความคิดเห็นใน blog เราค่ะ

ชื่อ blog สามารถ เปลี่ยนแปลงได้ด้วยนะค่ะ มาที่ เมนู การเผยแพร่ค่ะ มีประโยชน์กรณีที่เรา เขียนและตกแต่ง blog เยอะแล้ว แต่ไม่พอใจชื่อ blog ที่ใช้อยู่ค่ะ เราก็สามารถแก้ไขได้ค่ะ

-

1 user สามารถเขียน blog ได้ 100 blog 

เห็นหัวบนสุด ในระบบการเขียน blog มั้ยค่ะ คลิกที่แผงควบคุม จะมีรายการ blog ต่างๆที่เราทำไว้เรียงลงมาให้เห็น
- กรณีที่ยังไม่มี ก็จะมี blog ที่เราพึ่งทำนั่นแหละค่ะ 1 รายการ ถ้าเราจะทำ blog ใหม่เพิ่มอีก เราก็คลิกที่ สร้างบล็อกค่ะ ก็จะมีให้ตั้งชื่อ เพื่อสร้าง blog เพิ่มค่ะ ซึ่ง 1 user ของ blogger สามารถ สร้าง blog ได้ 100 blog ถ้าเราอยากสร้างมากกว่านั้น เราก็สมัคร blogger เพิ่มใหม่อีก User ค่ะ

- จบแล้วค่ะ ความรู้ในการเขียน blog และการวางแผนในการจัดรูปแบบ blog เพื่อความสวยงาม

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก