ข้อใดเป็นเหตุให้เกิดการสูดลมหายใจเข้า

Long Covid กับกลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ

Long Covid กับกลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ โดย พจ.รณกร โลหะฐานัส                 กลุ่มอาการเหนื่อยล้าหลังติดเชื้อ (Post-infective fatigue syndrome, PIFS) หมายถึงอาการเหนื่อยล้าที่รุนแรงและต่อเนื่อง หลังจากการติดเชื้อที่ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยเงื่อนไขทางการแพทย์ ซึ่งมีมาอย่างน้อย 6 เดือนและส่งผลต่อการทำงานประจำวันอย่างมีนัยสำคัญ สาเหตุของกลุ่มอาการ PIFS เกิดขึ้นจากหลายสาเหตุ ตั้งแต่ความเสียของเนื้อเยื่อปอดหรือหัวใจ การทำงานของไซโตไคน์ผิดปกติอย่างต่อเนื่อง การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการทำงานของกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บภายในสมองหรือระบบประสาทส่วนปลาย ทั้งยังมีรายงานอีกว่ากลุ่มอาการ PIFS มีอัตราความชุกของความเหนื่อยล้าในแถบยุโรปที่สูงกว่าภูมิภาคอื่นๆ อาการแสดงของกลุ่มอาการ PIFS มักเกี่ยวข้องกับอาการทางระบบทางเดินหายใจหลายอย่าง เช่น เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก เจ็บหน้าอก ไอเรื้อรัง ปวดศีรษะ วิงเวียน เป็นต้น แนวทางการรักษา ทางการแพทย์แผนจีนจะให้การรักษาด้วยการฝังเข็มหรือจ่ายยาสมุนไพร ด้วยการตรวจวินิจฉัยตามกลุ่มอาการ ซึ่งการฝังเข็มจะเลือกใช้จุด LU7, LI4, ST36, SP6, SP9, SP10, HT7, KD6, TH5, GD41, LR3, LR8 เป็นจุดหลักในการรักษา […]

กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข

กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุข (Restless Legs Syndrome) คืออะไร โดย นพ.นพดล ตรีประทีปศิลป์ กลุ่มอาการขาอยู่ไม่สุขเป็นภาวะที่มีอาการอยากขยับ ขาขณะตื่น  มีความรู้สึกคล้ายมีอะไรมาไต่ขา ถ้าไม่ขยับจะมีความรู้สึกไม่สะดวกสบาย สาเหตุ : อาจพบกับ โรคอื่นๆ เช่น โรคโลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก, ไตวายเรื้อรัง เป็นต้น,ร้อยละ 30 ของผู้ป่วยมักมีประวัติของโรคนี้ในครอบครัว ผลกระทบต่อสุขภาพ : นอนหลับยาก หรือ รู้สึกหลับไม่สนิท ทำให้การนอนไม่มีคุณภาพ ส่งผลให้เกิดอาการง่วงตอนกลางวัน โรคนี้มักมี อาการที่ขาแต่สามารถเกิดขึ้นกับส่วนอื่นๆ ได้ วิธีการรักษา :  รักษาโรคที่เป็นสาเหตุ  เช่น การให้ธาตุเหล็กเพื่อรักษา ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก หาและงดปัจจัยที่ อาจเป็นสาเหตุ เช่น ยาบางกลุ่มข้างต้น หลีกเลี่ยงคาเฟอีน ในชากาแฟ น้ำอัดลม ช็อคโกแลต —————————————————————————- คลินิกโสต ศอ นาสิก ลาริงซ์ (ENT) ให้บริการวินิจฉัยและรักษาอาการที่เกี่ยวข้องกับหู คอ จมูก […]

ภาวะ Long Covid กับการรักษาทางแพทย์แผนจีน

ภาวะ Long Covid กับการรักษาทางแพทย์แผนจีน โดย แพทย์จีนธีรวุฒิ ชาญศิริเจริญกุล ภาวะลองโควิด (Long Covid) คือสภาวะที่ร่างกายได้รับการได้รับเชื้อโควิด-19 แล้วเกิดผลกระทบกับร่างกายถึงแม้ว่าจะหายจากเชื้อโรคแล้วก็ตาม ซึ่งเกิดจากร่างกายเมื่อได้รับการติดเชื้อแล้ว ร่างกายจะสร้างเม็ดเลือดขาว ไปต่อสู้กับเชื้อโรคจึงทำให้เกิดการอักเสบภายในร่างกายได้ หรือการทานยาฆ่าเชื้อไวรัสทำให้ร่างกายทำงานหนักขึ้น อาการที่มักจะพบได้บ่อย เช่น หายใจไม่อิ่ม หายใจลำบาก  อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ หลงลืม การรักษาในมุมมองของแพทย์แผนจีน เราอ้างได้จากคัมภีร์หวงตี้เน่ยจิง ซึ่งเป็นหนังสือเล่มแรกของแพทย์แผนจีน พูดไว้ว่าการป้องกัน มี 3 กรณี ยังไม่ป่วย ต้องป้องกันก่อนเกิดโรค เมื่อป่วยแล้ว รีบรักษาป้องกันไม่ให้โรครุนแรง เมื่อหายป่วยแล้ว ต้องฟื้นฟูป้องกันไม่ให้โรคกำเริบ ซึ่งโรคโควิด -19 ในมุมมองของแพทย์แผนจีนเกิดจากพิษความชื้น “湿毒” ตำแหน่งของโรคอยู่ที่ปอด อาจจะทำให้คนไข้มีอาการ ไอมีเสมหะ ปอดอักเสบ หายใจลำบาก และความชื้นมักมีผลกับกระเพาะอาหารและม้าม ที่เป็นอวัยวะที่ไม่ชอบความชื้น ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยอาหาร อาจจะทำให้ท้องอืด ไม่อยากอาหารได้ ซึ่งการรักษาของแพทย์แผนจีนก็คือการบำรุงเจิ้งชี่ ที่ทำหน้าที่คล้ายหน้าที่กับภูมิคุ้มกันของร่างกายให้ทำงานดีขึ้น และขับเซียชี่ เช่น […]

วัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก

วัคซีนป้องกันโรคมือ เท้า ปาก เรียบเรียงโดย พญ. พิมพ์ชนก วงศ์อาษา สำหรับ ป้องกันโรคมือ เท้า ปาก ชนิดรุนแรงจากการติดเชื้อไวรัส  EV 71   ประสิทธิภาพ ป้องกันมือเท้าปากจากการติดเชื้อ EV71  89.7% ป้องกันการนอนโรงพยาบาล 88 % ป้องกันภาวะแทรกซ้อนรุนแรง 100%   สามารถฉีดได้ใน เด็กอายุ 6 เดือน – 5 ปี 11 เดือน ฉีดวัคซีน 2 เข็ม ห่างกัน  1 เดือน เป็นวัคซีนชนิดเชื้อตาย สามารถให้ร่วมกับวัคซีนชนิดอื่นได้ ผู้มีภูมิคุ้มกันบกพร่องสามารถฉีดได้   ผลข้างเคียงที่พบได้ บวม แดง เจ็บ บริเวณที่ฉีด ไข้ ยังไม่มีรายงานภาวะแทรกซ้อนรุนแรง   อย่างไรก็ตามโรคมือ เท้า ปาก […]

การหายใจเข้าออกลึก ๆ หรือบางครั้งเรียกว่า การหายใจโดยใช้กะบังลม คือการหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ ให้อากาศผ่านเข้าทางจมูกจนเต็มปอด และทำให้กะบังลมยกสูงขึ้น

การหายใจเข้าออกลึก ๆ บางครั้งอาจทำให้รู้สึกไม่เป็นธรรมชาติ โดยทั่วไป เรามักจะใช้กล้ามเนื้อท้องในการหายใจ ซึ่งเรียกว่าเป็นการหายใจตื้น

การหายใจตื้นจะจำกัดการเคลื่อนที่ของกะบังลม ทำให้มีออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายน้อยลง ทำให้เราหายใจถี่ขึ้้น และมีความรู้สึกกังวลเกิดขึ้นได้

งานวิจัยพบว่าการหายใจเข้าออกลึก ๆ ส่งผลดีต่อสุขภาพกายและใจหลายด้านเลยทีเดียว

คลายความเครียด

สมองคนเราจะปล่อยฮอร์โมนคอร์ติซอล เมื่อรู้สึกเครียดและกังวล

เมื่อเราฝึกหายใจเข้าออกลึก ๆ หัวใจจะเต้นช้าลง และออกซิเจนจะเข้าสู่กระแสเลือด พร้อมกับสื่อสารไปที่สมองให้ผ่อนคลาย

การศึกษาในมหาวิทยาลัยพบว่า นักศึกษาที่ได้เข้าคอร์สฝึกการหายใจเข้าออกลึก ๆ จะรู้สึกซึมเศร้าน้อยลง กังวลน้อยลง และดื่มแอลกอฮอล์น้อยลง เมื่อเปรียบเทียบกับเพื่อนกลุ่มอื่น

การหายใจเข้าออกลึก ๆ ยังช่วยกระตุ้นการหลั่งฮอร์โมนเอนดอร์ฟิน ซึ่งสามารถลดความรู้สึกเจ็บปวดได้ แม้การถอนหายใจง่าย ๆ เพียงครั้งเดียวยังช่วยลดความตึงเครียดทางร่างกาย และปรับอารมณ์ให้ดีขึ้นได้

ปรับการทำงานของสมองให้ดีขึ้น
การศึกษาชิ้นหนึ่งได้ขอให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยหายใจเข้าลึก ๆ เป็นเวลา 5 วินาที และหายใจออกยาว ๆ เป็นเวลา 5 วินาที รวมทั้งหมด 10 นาทีต่อวัน สัปดาห์ละ 6 ครั้ง เป็นเวลานาน 6 สัปดาห์

ผลพบว่าผู้เข้าร่วมการศึกษานี้สามารถใช้สมองคิดได้เร็วขึ้น และทำคะแนนได้ดีขึ้น ในการทดสอบคิดเลขเร็ว

การเล่นโยคะและเทคนิคการหายใจบางอย่างก็พิสูจน์แล้วว่าสามารถเพิ่มความสามารถของสมองในการจดจ่อและทำงานอย่างตั้งใจ

ช่วยบรรเทาโรคเรื้อรังต่าง ๆ

การหายใจเข้าออกลึก ๆ ช่วยลดความดันโลหิตได้ด้วยการทำให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย เพิ่มการหมุนเวียนเลือด และควบคุมการเต้นของหัวใจให้เป็นปกติ

งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าเทคนิคการหายใจแบบสลับข้างจมูก (ซ้ายและขวา) เป็นเวลา 10 นาทีสามารถช่วยลดความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง

การหายใจเข้าออกลึก ๆ ยังช่วยบรรเทาโรคเบาหวานได้ด้วย

ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ฝึกการหายใจเข้าออกลึก ๆ เป็นเวลา 3 เดือน มีค่า BMI ลดลงและยังมีค่าน้ำตาลในกระแสเลือดหลังรับประทานอาหารที่ลดต่ำลงอีกด้วย

เทคนิคการหายใจอย่างผ่อนคลายสามารถทำให้การนอนหลับของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ามีคุณภาพมากขึ้น และยังช่วยลดอาการของการอักเสบหรือติดเชื้อได้อีกด้วย

ประโยชน์อื่น ๆ ต่อร่างกาย
สิ่งสำคัญเหนือสิ่งอื่นใด การหายใจเข้าออกลึก ๆ จะช่วยเพิ่มระดับออกซิเจนในเลือด ซึ่งทำให้เกิดผลดีต่าง ๆ ต่อไปนี้

  • เพิ่มระดับภูมิคุ้มกันในร่างกาย – ร่างกายจะสามารถดูดซึมแร่ธาตุและวิตามินต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

  • เพิ่มพลังให้กับร่างกาย - ร่างกายจะทำงานได้ดีขึ้น และเพิ่มความแข็งแกร่งให้กับร่างกาย

  • ขจัดสารพิษให้กับร่างกาย – ออกซิเจนที่เพิ่มมากขึ้นจะทำให้ร่างกายปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนมอนนอกไซด์และสารพิษอื่น ๆ ได้มากขึ้น

  • ทำให้ระบบการย่อยทำงานดีขึ้น – อวัยวะต่าง ๆ เช่น ลำไส้ จะทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

มาเริ่มฝึกหายใจเข้าออกลึก ๆ กันตั้งแต่วันนี้เถอะ

อ้างอิง:

  1. Harvard Health Publishing – Harvard Medical School. Relaxation techniques: Breath control helps quell errant stress response. [Internet]. 2018 [cited 4 June 2020];. Available from: //www.health.harvard.edu/mind-and-mood/relaxation-techniques-breath-control-helps-quell-errant-stress-response

  1. Watkins A. Benefits of Deep Breathing. Urban Balance [Internet]. [cited 4 June 2020];. Available from: //urbanbalance.com/benefits-deep-breathing/

  1. INFOGRAPHIC: The Benefits of Deep Breathing [Internet]. Happify. 2020 [cited 1 June 2020]. Available from: //www.happify.com/hd/the-benefits-of-deep-breathing/

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก