สนามบินใดอยู่ภายใต้การบริหารของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

พิมพ์เมื่อ 26 พฤศจิกายน 2565 22:43

Company Profile บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

กรุณาระบุเงื่อนไขในการค้นหา

ค้นหาบริษัท

 ล้างเงื่อนไข

บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

ข้อมูล Sustainability Development

CG Score 1/

คะแนน CG

AGM Level 2/

คะแนน AGM

Thai-CAC 3/

Thai CAC 3/
n/a

Thailand Sustainability Investment 4/

Thailand Sustainability Investment
THSI (SET) และ DJSI

Ranking หมวดอุตสาหกรรม

ลักษณะธุรกิจ 5/

ข้อมูลเบื้องต้น 5/

รายการรายละเอียด
ที่อยู่ 333 หมู่ที่ 7 ถนนเชิดวุฒากาศ แขวงสีกัน เขตดอนเมือง กทม.10210
เบอร์โทรศัพท์ 0-2535-1111
เบอร์โทรสาร 0-2531-5559, 0-2535-4061
URL www.airportthai.co.th

ข้อมูลผู้ติดต่อ

ผู้ติดต่อชื่อผู้ติดต่อ
ฝ่ายผู้ลงทุนสัมพันธ์ นางอรอนงค์  หยิบยานนท์
เลขานุการบริษัท นายกฤช  ภาคากิจ

ข่าวเกี่ยวกับบริษัท

  • การเปิดเผยข่าวธุรกรรมที่สำคัญและรายการที่เกี่ยวโยง 5/
  • ข่าวของสำนักงาน

การเปิดเผยข้อมูลของบริษัท

  • รายงานการเปิดเผยข้อมูลล่าสุด (แบบ 56-1 / แบบ 56-2)
  • บริษัทจดทะเบียนพบผู้ลงทุน (Opportunity day) 5/

ข้อมูลผลิตภัณฑ์

  • หนังสือชี้ชวน/แบบFiling

ข้อมูลอื่นๆ ของบริษัท

  • ประวัติการถูกทำคำเสนอซื้อกิจการของบริษัท
  • รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือหลักทรัพย์ของกรรมการและผู้บริหาร (59-2)
  • รายงานการได้มาและจำหน่ายไปซึ่งหลักทรัพย์ของกิจการ (246-2)

งบการเงินฉบับย่อ และข้อมูลทางการเงิน 5/

งบการเงินฉบับเต็ม

1 ข้อมูล CG Score ประจำปี 2565 จาก สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
2 ข้อมูล AGM ประจำปี 2564 จาก สมาคมส่งเสริมผู้ลงทุนไทย
3 ข้อมูลบริษัทที่เข้าร่วมโครงการแนวร่วมปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านทุจริต (Thai CAC) ของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (ข้อมูล ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2565) 2 กลุ่ม คือ

  • ได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าร่วม CAC
  • ได้รับการรับรอง CAC
4 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย : ข้อมูลรายชื่อบริษัทจดทะเบียนที่มีการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน Thailand Sustainability Investment ประจำปี 2564 ประกอบด้วย
  • บริษัทจดทะเบียนที่ผ่านการประเมินโดยตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Thailand Sustainability Investment: THSI (SET) และ THSI (mai)
  • บริษัทจดทะเบียนที่ผ่านการประเมินโดย Dow Jones Sustainability Indices (DJSI)
5 ข้อมูลทางการเงิน / ลักษณะธุรกิจ / ที่อยู่ / ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ / กรรมการ / ข่าวการเปิดเผยธุรกรรมที่สำคัญและรายการที่เกี่ยวโยง / Opportunity day เป็นของ ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ทั้งนี้ ผู้ใช้งานเว็บไซต์ตกลงและรับทราบว่าลิขสิทธิ์ข้อมูลดังกล่าวเป็นของตลาดหลักทรัพย์ฯ และสามารถใช้งานเพื่อการศึกษา หรือการลงทุนส่วนตัวเท่านั้น ในกรณีที่ใช้งานข้อมูลในเชิงพาณิชย์ กรุณาติดต่อฝ่ายธุรกิจข้อมูล ตลาดหลักทรัพย์ฯ e-mail:

ปรับปรุงล่าสุด 25 พฤศจิกายน 2565

AOT หรือบริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) ถือเป็นผู้บริหารสนามบินรายหลักในประเทศไทย โดยในปัจจุบันมีสนามบินอยู่ในการบริหารรวม 6 สนามบิน ซึ่งแต่ละสนามบินถือเป็นสนามบินหลักและมีจำนวนผู้โดยสารจำนวนมากทั้งสิ้น ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง โดยยังคงมีอีก 28 ท่าอากาศยานที่ยังอยู่ในการดูแลของกรมท่าอากาศยาน

ล่าสุดท่าอากาศยานไทย (ทอท.) รายงานว่าได้เข้าร่วมพูดคุยกับกรมท่าอากาศยาน (ทย.) ถึงการใช้ประโยชน์จากสนามบินที่เหลืออีก 28 แห่งเพื่อลดปัญหาความแออัดของสนามบินในปัจจุบัน และส่งเสริมการท่องเที่ยวเมืองรองตามนโยบายของนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีด้วย โดยผลสรุปมติออกมาระหว่างทอท.และทย. คือ ทย.จะให้ทอท.เข้าบริหารสนามบินอีก 4 สนามบิน ได้แก่ ท่าอากาศยานอุดรธานี ท่าอากาศยานสกลนคร ท่าอากาศยานตาก และท่าอากาศยานชุมพร โดยทอท.จะนำมติเสนอที่ประชุมคณะกรรมการ หากอนุมัติก็จะเสนอต่อรัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรีให้พิจารณาอนุมัติต่อไป

จากข้อมูลของบทวิเคราะห์ของ ASP securities ทอท.ได้ยื่นขอพิจารณาบริหารสนามบินไปกับทางทย.ทั้งหมด 15 สนามบิน และมีเพียง 1 สนามบินที่ได้รับอนุมัติคือท่าอากาศยานอุบลราชธานี ในขณะที่อีก 3 ท่าอากาศยานที่เหลือ ไม่ได้อยู่ในรายการที่ระบุไว้ในตอนต้น

จากแผนงานของทอท. หากบริษัทได้รับอนุมัติจากครม.ให้เข้าบริษัททั้ง 4 สนามบินเป็นที่เรียบร้อย บริษัทจะเร่งเข้าพัฒนาสนามบินอุดรธานีและสกลนครก่อนเป็นอันดับแรก โดยมีเงินลงทุนประมาณหนึ่งพันล้านบาทในการปรับปรุงอุปกรณ์ภาคพื้นดิน อาคารผู้โดยสาร รวมไปถึงสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น โดยมุ่งมั่นที่จะผลักดันสนามบินอุดรธานีให้กลายเป็นฮับของการบินทางด้านอีสาน เนื่องจากปัจจุบันมีความต้องการบินตรงจากอีสานไปยุโรปค่อนข้างมาก หากสนามบินอุดรธานีพร้อมมากขึ้น อาจจะเปิดสายการบินตรงจากอีสานไปกลับยุโรป เพื่อลดความแออัดของสนามบินสุวรรณภูมิและดอนเมือง

ส่วนสนามบินสกลนครจะพัฒนาเป็นสนามบินรองในเขตภาคอีสานเพื่อกระแสผู้โดยสารออกไปลดความแออัด สนามบินตากวางแผนจะใช้พื้นที่ 2 พันไร่เพื่อเน้นเป็นสนามบินเพื่อการขนส่งสินค้าไปยังภูมิภาคเพื่อนบ้านเป็นหลัก แต่จะไม่เน้นการเดินทางเพื่อที่จะไม่แย่งผู้โดยสารมาจากสนามบินแม่สอดของทย. ที่อยู่บริเวณเดียวกัน ส่วนสนามบินชุมพร ทางทอท.จะต้องดูแผนพัฒนาการท่องเที่ยวฝั่งทะเลตะวันตกก่อนว่าจะออกมาเป็นอย่างไร เพื่อที่จะทำงานสอดคล้องไปได้อย่างถูกต้อง

มุมมองของนักวิเคราะห์จาก ASP คาดว่าสนามบินอีก 4 แห่งดังกล่าวจะส่งผลดีต่อ AOT อย่างจำกัด

เนื่องจากมีเพียงสนามบินอุดรธานีเพียงสนามบินเดียวที่มีกำไรแล้ว และกำไรดังกล่าวก็ไม่มากเมื่อเทียบกับฐานกำไรเดิมของบริษัทที่สูงมาก ในขณะที่อีก 3 สนามบินยังมีผลขาดทุนซึ่งอาจจะส่งผลรวมเข้ามาในงบการเงินได้

ภาพรวมยังคงต้องดูไปในระยะยาวมากกว่าว่าบริษัทจะสามารถดึงเอาศักยภาพของ 4 สนามบินใหม่ออกมาใช้ได้มากน้อยแค่ไหน หากบริษัทสามารถเจียระไนเพชรทั้งสี่ได้สำเร็จ อนาคต สนามบินทั้งสี่นี้ก็อาจจะกลายเป็นส่วนขับเคลื่อนการเติบโตของบริษัทก็เป็นได้

ลงทุนศาสตร์ – Investerest

อัพเดทล่าสุดเมื่อ : 2 พฤษภาคม 2018

บทความที่เกี่ยวข้อง

เกี่ยวกับผู้เขียน

ผมเขียนบทความเกี่ยวกับการลงทุนตั้งแต่เบื้องต้น เหมาะสำหรับผู้ลงทุนหรือผู้ที่มีความสนใจที่จะลงทุนที่รักหรือมีทีท่าว่าจะรักในศาสตร์ของการลงทุนเหมือนกัน

ท่าอากาศยานใดอยู่ภายใต้กำกับดูแลของ บริษัท ท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)

ทอท.เป็นผู้นำในการประกอบธุรกิจท่าอากาศยานของประเทศไทย ธุรกิจหลักของทอท.ประกอบด้วยการจัดการ การดำเนินงานและการพัฒนาท่าอากาศยาน และมีท่าอากาศยาน ที่อยู่ในความรับผิดชอบ 6 แห่ง ประกอบด้วย ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานเชียงราย ซึ่ง ...

ท่าอากาศยานใดอยู่ในสังกัดของบริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน)?

ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานภูเก็ต ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย

บริษัทท่าอากาศยานไทย มีที่ไหนบ้าง

ท่าอากาศยานที่ให้บริการเชิงพาณิชย์เครื่องบินขนาดใหญ่ ท่าอากาศยานเชียงใหม่, ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย, ท่าอากาศยานภูเก็ต, ท่าอากาศยานหาดใหญ่ และท่าอากาศยานดอนเมือง สามารถรองรับเที่ยวบินของเครื่องบินขนาดใหญ่ ชนิด โบอิง 747.

AOT เป็นเจ้าของสนามบินกี่แห่ง

สำนักงานใหญ่ และท่าอากาศยานทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ท่าอากาศยานดอนเมือง ท่าอากาศยานเชียงใหม่ ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย ท่าอากาศยานภูเก็ต และท่าอากาศยานหาดใหญ่ จะสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างต่อเนื่อง ไม่เกิดการหยุดชะงัก โดยมีการป้องกันและตอบสนองต่ออุบัติการณ์ต่างๆ และฟื้นคืนบริการสำคัญ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก