หน่วยงานใดรับผิดชอบในการดูแลอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

4.5.1� �ç���ҧ��Ф����Ѻ�Դ�ͺ

              4.5.1.1 �ͧ��õ�ͧ��˹��ç���ҧ
                               �ӹҨ˹�ҷ����Ф����Ѻ�Դ�ͺ�ͧ�١��ҧ�ء�дѺ�������Ǣ�ͧ�Ѻ��èѴ���㹴�ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ��������駨Ѵ�����͡��������������ؤ�ŷ������Ǣ�ͧ����ͧ��÷�Һ�١��ҧ����ͧ��Ժѵ�˹�ҷ�����ռš�з���ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ��� ��ͧ�դس���ѵԷ���������
                4.5.1.2  ͧ��õ�ͧ�觵�駼��᷹���º����ô�ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ��� (Occupational health and safety management  representative - OH&SMR) ���ͻ�Ժѵԧҹ�����ӹҨ˹�ҷ��ѧ���
                              (1)� ��������к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��·����Ѵ�Ӣ���ա�ù� �����д��Թ�����仵����͡�˹���ҵðҹ��Ե�ѳ���ص��ˡ���������ҧ������ͧ
                              (2)� ��§ҹ�š�û�ԺѵԵ���к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��µ�ͼ��������дѺ�٧���͹����㹡�÷��ǹ�к���èѴ���������Ƿҧ����Ѻ��û�Ѻ��ا�к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ���
                4.5.1.3 ���������дѺ�٧��ͧ�繼���㹡���ʴ������Ѻ�Դ�ͺ��ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ�����д�������ա�û�Ѻ��ا�к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ������ҧ��������

   �ѵ�ػ��ʧ��
             ���͡�˹����᷹�ͧ���������дѺ�٧������ӹҨ˹�ҷ�����ҧ�Ѵਹ㹡�ô�������к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��·����Ѵ�Ӣ���ա�ù������д��Թ������ҧ������ͧ��������§ҹ�š�û�Ժѵԡ�õ�ͼ��������дѺ�٧
             ���͹����㹡�÷��ǹ��л�Ѻ��ا�к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��µ���

   �Ԩ����
   1. ���������дѺ�٧�ͧͧ����觵�駼��᷹���º����ô�ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ���
(Occupational health and safety management representative � OH&SMR) �¤ӹ֧�֧�س���ѵԴѧ���

  • �դ����繼���
  • �դ���������к�
  • �դ�������ö㹡�ú����èѴ���
  • �շѡ��㹡�þٴ ͸Ժ����餹�������
  • �繼�����դ������㨠 ��繤����Ӥѭ��ҹ������ʹ�������Ҫ��͹����
  • �դ�������ö㹡�è٧�
  • �繷������Ѻ� ���������Ͷ�ͨҡ�ؤ�ҡ�˹��§ҹ��� �
  • ���Ѻ���ʹѺʹع�ҡ���������дѺ�٧�����ҧ��

   2.� ˹�ҷ��ͧ���᷹���º����ô�ҹ�Ҫ��͹������Ф�����ʹ���
        2.1� OH&SMR ��������к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��·����Ѵ�Ӣ���ա�ù������д��Թ���仵����͡�˹���ҵðҹ ��Ե�ѳ���ص��ˡ���������ҧ������ͧ
        2.2� OH&SMR ��§ҹ�š�û�Ժѵ��к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ��µ�ͼ��������дѺ�٧ ���͹����㹡�÷��ǹ�к���èѴ��� ������Ƿҧ����Ѻ��û�Ѻ��ا�к���èѴ����Ҫ��͹���� ��Ф�����ʹ���
        2.3   ���������дѺ�٧�ͧͧ����觵�駤�зӧҹ (working group) ����Сͺ���µ��᷹�ҡ˹��§ҹ��ҧ � ���ͨѴ���к���èѴ����Ҫ��͹������Ф�����ʹ���

   �͡���

���������

����������������������������������������������������������������������

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ส่วนราชการดำเนินการตามมาตรฐานด้านการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัยฯ ให้เกิดความปลอดภัยแก่บุคลากรและผู้เกี่ยวข้องในองค์กร เช่นเดียวกับหน่วยงานเอกชน โดยหัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่จัดและดูแลสถานที่ราชการที่รับผิดชอบและผู้ใต้บังคับบัญชา ให้มีสภาพการทำงานและสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาไม่ให้ได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัย พร้อมกันนี้ ผู้ใต้บังคับบัญชามีหน้าที่ให้ความร่วมมือในการดำเนินการและส่งเสริมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน

การบริหารจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของส่วนราชการ ในขั้นต้น มีดังนี้
1) แต่งตั้งบุคคล คณะบุคคล หรือกรณีเข้าข่ายเป็นหน่วยงานที่มีการดำเนินกิจการเฉพาะให้แต่งตั้ง คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (คปอ.)
2) ทบทวนสถานะการดำเนินการด้านความปลอดภัยฯ ตามมาตรฐาน
3) จัดทำร่างนโยบาย เสนอผู้บริหารเพ่อประกาศนโยบายความปลอดภัยฯ
4) นำผลจากการทบทวนสถานะเบื้องต้นมาประเมิน เพื่อจัดลำดับความสำคัญในการดำเนินการ
5) จัดทำแผนงาน งบประมาณ การดำเนินงานด้านความปลอดภัยฯ
6) ดำเนินการตามแผนงานด้านความปลอดภัยฯ ให้เป็นไปตามแนวปฏิบัติมาตรฐาน
     (1) สำหรับทุกหน่วยงาน
     (2) สำหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ 3) สำหรับหน่วยงานที่เข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ
     (3) สำหรับหน่วยงานที่เข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ
7) ประเมินผลและจัดทำรายงานการดำเนินงานด้านความปลอดภัยฯ เสนอผู้บริหารส่วนราชการ
8) ทบทวน ปรับปรุงและแก้ไขการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยฯ ของส่วนราชการให้ปลอดภัย

ทั้งนี้ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน จัดทำคู่มือการปฏิบัติตามมาตรฐานการบริหารจัดการและการจัดการด้านความปลอดภัยฯ ให้สอดคล้องตามพรบ.ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2554 สำหรับส่วนงานราชการ เพื่อใช้เป็นแนวทางเบื้องต้นในการดำเนินการของราชการในการปฏิบัติตามพรบ.นี้ โดยแบ่งเป็น 3 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่ 1 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับทุกหน่วยงาน
ส่วนที่ 2 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ
ส่วนที่ 3 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับหน่วยงานราชการที่มีการดำเนินการเข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ

ส่วนที่ 1 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับทุกหน่วยงาน ทุกส่วนราชการ ต้องดำเนินการ มีดังนี้
- แต่งตั้งบุคคล/คณะบุคคล รับผิดชอบงานด้านความปลอดภัย
- มีนโยบายความปลอดภัยฯ
- มีแผนงานด้านความปลอดภัยฯงบประมาณ และรายงานผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยฯ
- หน่วยงานที่ตั้งในสถานที่เดียวกันมีหน้าที่ร่วมกันดำเนินงานด้านความปลอดภัยฯ
- มีกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมาตรฐานด้านความปลอดภัยฯ
- ลักษณะงานที่มีอันตรายต้องแจ้งให้บุคลากรทราบถึงอันตรายและวิธีการป้องกันอันตราย
- มีการฝึกอบรมด้านความปลอดภัย ของผู้บริหาร หัวหน้างาน และบุคลากร
- มีสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัยฯ
- งานที่มีข้อบกพร่องหรือชำรุดต้องแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องกับและดำเนินการแก้ไขโดยไม่ชักช้า
- มีอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
- มีแผนการป้องกันและระงับอัคคีภัย
- มีการซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
- มีการสำรวจตรวจสอบเพื่อประเมินสภาพการทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตราย
- บุคลากรทุกคนมีหน้าที่ดูแลสภาพแวดล้อมในการทำงานตามมาตรฐานที่กำหนด
- จัดเก็บข้อมูลประสบอันตรายจากการทำงานของหน่วยงาน

ส่วนที่ 2 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับหน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ
ความเสี่ยงเฉพาะ : งานที่เกี่ยวข้องกับความร้อน แสงสว่าง เสียงดัง รังสีชนิดก่อไอออน สารเคมีอันตราย เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ งานประดาน้ำ การทำงานในที่อับอากาศ งานก่อสร้าง และงานซ่อมบำรุงหรือลักษณะการดำเนินการอื่นที่มีความเสี่ยงจากการทำงาน

หน่วยงานที่มีความเสี่ยงเฉพาะ ต้องดำเนินการ มีดังนี้
- จัดให้มีการตรวจวัดสภาพแวดล้อมในการทำงานตามปัจจัยเสี่ยงเช่น ความร้อน เสียงดัง รังสีชนิดก่อไอออน สารเคมีอันตราย สภาพบรรยากาศอันตราย เป็นต้น
- จัดให้มีการตรวจสุขภาพของบุคลากรที่ทำงานเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยง
- จัดให้มีอุปกรณ์และเวชภัณฑ์ที่จำเป็นเพื่อปฐมพยาบาลบุคลากรที่ทำงานที่มีความเสี่ยงก่อนนำส่งโรงพยาบาล
- จัดให้มีเครื่องปัองกันอันตรายสำหรับเครื่องจักรüจัดให้มีการตรวจสอบหรือรับรองความปลอดภัยของเครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำ ลิฟท์ นั่งร้าน ค้ำยัน เครื่องตอกเสาเข็มโดยวิศวกร แล้วแต่กรณี
- จัดให้มีมาตรฐานการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย
- จัดให้มีมาตรการหรือแผนรองรับเกณฑ์เกิดเหตุฉุกเฉิน เช่น สารเคมีรั่วไหล การฟุ้งกระจายของรังสี ภัยพิบัติต่าง ๆ เป็นต้น
- จัดให้มีการกำหนดพื้นที่ควบคุมและจัดให้มีป้ายข้อความในบริเวณที่มีความเสี่ยงเกี่ยวกับ รังสีชนิดก่อไอออน สารเคมีอันตราย ที่อับอากาศ ไฟฟ้าแรงสูง เครื่องจักร ปั้นจั่น หม้อน้ำและงานก่อสร้าง รวมทั้งห้ามบุคคลภายนอกที่ไม่มีหน้าที่เข้าไปในบริเวณนั้น
- จัดให้มีระบบการขออนุญาตเข้าทำงานในงานอันตราย
- การทำงานเกี่ยวกับรังสีชนิดก่อไอออนจัดให้มีผู้รับผิดชอบดำเนินการทางด้านเทคนิค
- ติดตั้งเครื่องสัญญาณแสงหรือเสียงเพื่อเตือนอันตรายในการทำงานของเครื่องจักรพร้อมทั้งติดสัญลักษณ์เตือน
- กรณีมีงานก่อสร้างขนาดใหญ่เช่น อาคารขนาดใหญ่ ต้องกำหนดให้ผู้รับเหมาก่อสร้างจัดทำแผนงานด้านความปลอดภัยในการทำงานสำหรับงานก่อสร้าง


ส่วนที่ 3 : แนวปฏิบัติตามมาตรฐานสำหรับหน่วยงานราชการที่มีการดำเนินการเข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ
ประเภทกิจการเฉพาะ : 
1) การทำเหมืองแร่เหมืองหิน กิจการปิโตรเลียม หรือ ปิโตรเคมี
2) การทำผลิต ประกอบ บรรจุ ซ่อม ซ่อมบำรุง เก็บรักษา ปรับปรุง ตกแต่ง เสริมแต่ง ดัดแปลงแปรสภาพ ทำให้เสีย หรือทำลายซึ่งวัตถุหรือทรัพย์สิน รวมทั้งการต่อเรือการให้กำเนิด แปลง และจ่ายไฟฟ้าหรือพลังงานอย่างอื่น
3) การก่อสร้างต่อเติม ติดตั้ง ซ่อม ซ่อมบำรุง ดัดแปลง หรือรื้อถอนอาคาร สนามบินทางรถไฟ ทางรถรางทางรถใต้ดิน ท่าเรือ อู่เรือ สะพานเทียบเรือ ทางน้ำ ถนน เขื่อน อุโมงค์ สะพานท่อระบาย ท่อน้ำ โทรเลข โทรศัพท์ ไฟฟ้า ก๊าซหรือประปา หรือสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ รวมทั้งการเตรียมหรือวางรากฐานของการก่อสร้าง
4) การขนส่งคนโดยสารหรือสินค้าโดยทางบกทางน้ำ ทางอากาศ และรวมทั้งการบรรทุก ขนถ่ายสินค้า
5) สถานีบริการหรือจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงหรือก๊าซ
6) โรงแรม
7) ห้างสรรพสินค้า
8) สถานพยาบาล
9) สถาบันทางการเงิน
10) สถานตรวจทดสอบทางกายภาพ
11) สถานบริการบันเทิง นันทนาการหรือการกีฬา
12) สถานปฏิบัติการทางเคมีหรือชีวภาพ
13) สำนักงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนสถานประกอบกิจการตาม(1) ถึง (12)
14) กิจการอื่นตามที่กระทรวงแรงงานประกาศกำหนด

หน่วยงานราชการที่มีการดำเนินการเข้าข่ายประเภทกิจการเฉพาะ ต้องดำเนินการ มีดังนี้
- จัดให้มีข้อบังคับและคู่มือว่าด้วยความปลอดภัยในการทำงาน (ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงานที่ปลอดภัย)
- จัดให้มีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
- หน่วยงานที่มีบุคลากรตั้งแต่ 50 คนขึ้นไป จัดให้มีคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน(คปอ.)
- หน่วยงานที่มีการดำเนินการตามข้อ(1) ที่มีบุคลากรตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป และหน่วยงานดำเนินการตามข้อ (2) ถึง (5)มีบุคลากรตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป ต้องมีหน่วยงานความปลอดภัยฯ และเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน

ศึกษารายละเอียดตามปฏิบัติตามคู่มือ ตามไฟล์แนบท้ายนี้

หน่วยงานใดเกี่ยวข้องกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัย

สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) เป็นหน่วยงานภายใต้การกำกับดูแลของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน โดยอำนาจหน้าที่หนึ่งของสถาบันส่งเสริมความปลอดภัยฯ คือ การพัฒนาและสนับสนุนการจัดทำมาตรฐานเพื่อส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน มาตรฐานที่จัดทำขึ้นนั้นได้ผ่าน ...

หน่วยงานด้านความปลอดภัย มีอะไรบ้าง

หน่วยราชการในประเทศที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุอันตรายและความปลอดภัยในการทำงานมีอยู่หลายหน่วยงาน ซึ่งเน้นหนักไปคนละด้าน ได้แก่.
กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม กฎหมายหลัก คือ พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541. ... .
กระทรวงอุตสาหกรรม ... .
กระทรวงสาธารณสุข ... .
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.

หน่วยงานที่คอยกำกับเรื่อง ความปลอดภัย อาชีวอนามัย คือ หน่วยงานใดบ้าง

พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความมั่นคงได้จัดตั้งหน่วยงานของรัฐบาลกลางสองแห่งคือ OSHA และ National Institute for Safety and Health Safety (NIOSH) OSHA ถูกสร้างขึ้นเพื่อดูแลและบังคับใช้พระราชบัญญัติ NIOSH เป็นองค์กรวิจัย ดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัยและเสนอแนะถึง OSHA.

หน่วยงานด้านความปลอดภัยในองค์การมีหน้าที่อะไรบ้าง

1) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎความปลอดภัย 2) จัดทำแผนงานโครงการด้านความปลอดภัยในการทำงานเสนอต่อนายจ้าง 3) ตรวจสอบการปฏิบัติงานของบริษัท ฯ ให้เป็นไปตามแผนงานโครงการหรือมาตรการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน 4) กำกับดูแลให้ลูกจ้างปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ คำสั่ง เกี่ยวกับความปลอดภัย

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก