รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ 2565ชื่ออะไร

ที่มาของระยะเวลาคณะรัฐมนตรีดำรงตำแหน่ง:เอกสารวงงานรัฐสภา. รวมคำแถลงนโยบายของรัฐบาลตั้งแต่คณะแรกถึงคณะปัจจุบัน. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

ประกาศแต่งตั้ง

  • ประกาศ แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี

  • ประกาศ แต่งตั้งรัฐมนตรี

ปรับปรุงคณะรัฐมนตรี

มีการปรับคณะรัฐมนตรีแล้ว 1 ครั้ง โปรดเลือกครั้งที่ต้องการ

  • ครั้งที่ 1

WordPress Tabs Plugin

ประวัตินายกรัฐมนตรีไทย (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน)

ลำดับที่

รูป

นาม

ครม.
คณะที่

นรม.ดำรงตำแหน่ง

นรม.พ้นจากตำแหน่ง

วันแถลง
นโยบาย

วันที่

โดย

วันที่

โดย

1.

พระยามโนปกรณ์ นิติธาดา

(ก้อน หุตะสิงห์)

1

28 มิถุนายน 2475

มติสภาผู้แทนราษฎร

10 ธันวาคม 2475

ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ
ฉบับถาวร
(10 ธันวาคม 2475)

ไม่มีการแถลง
มีหลัก 6 ประการ
28 มิถุนายน 2475

2

10 ธันวาคม 2475

มติสภาผู้แทนราษฎร

30 มีนาคม 2476

พระราชกฤษฎีกา
ให้ปิดสภา
ผู้แทนและตั้ง
ครม. ชุดใหม่

20 ธันวาคม 2475

3

1 เมษายน 2476

พระราชกฤษฎีกา

20 มิถุนายน 2476

รัฐประหาร
นำโดย
พ.อ.พระยาพหล
พลพยุเสนา

ไม่มีการแถลง

2.

พันเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา

(พจน์ พหลโยธิน)

4

21 มิถุนายน 2476

มติสภาผู้แทนราษฎร

15 ธันวาคม 2476

ลาออก
เพราะมีการ
เลือกตั้ง ส.ส.
ประเภท 1

26 มิถุนายน 2476

5

16 ธันวาคม 2476

มติสภาผู้แทนราษฎร

21 กันยายน 2477

ลาออก
เพราะสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล

25 ธันวาคม 2476

6

22 กันยายน 2477

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 สิงหาคม 2480

ลาออก
เพราะกระทู้
เรื่องขายที่ดิน
พระคลังข้างที่

24 กันยายน 2477

7

9 สิงหาคม 2480

มติสภาผู้แทนราษฎร

20 ธันวาคม 2480

สภาครบวาระมีการเลือกตั้งทั่วไป

11 สิงหาคม 2480

8

21 ธันวาคม 2480

มติสภาผู้แทนราษฎร

15 ธันวาคม 2481

รัฐบาลยุบสภา
11 กันยายน 2481
เลือกตั้งทั่วไป

23 ธันวาคม 2480

3.

จอมพล แปลก พิบูลสงคราม

(แปลก ขีตตะสังคะ)

9

16 ธันวาคม 2481

มติสภาผู้แทนราษฎร

6 มีนาคม 2485

ลาออก
เพื่อให้มีการเปลี่ยนแปลง
ครม.ใหม่

26 ธันวาคม 2481

10

7 มีนาคม 2485

มติสภาผู้แทนราษฎร

31 กรกฎาคม 2487

ลาออก
เพราะสภาไม่รับ
พรก. นครบาล
เพ็ชรบูรณ์

16 มีนาคม 2485

21

8 เมษายน 2491

มติสภาผู้แทนราษฎร

24 มิถุนายน 2492

สิ้นสุดลง
เมื่อมีการเลือกตั้ง
ส.ส. เพิ่ม

21 เมษายน 2491

22

25 มิถุนายน 2492

มติสภาผู้แทนราษฎร

28 พฤศจิกายน 2494

รัฐประหาร
นำโดย
พล.อ.ผิน
ชุณหะวัณ

6 กรกฎาคม 2492

23

29 พฤศจิกายน 2494

มติคณะรัฐประหาร

5 ธันวาคม 2494

มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภท
ที่ 2 ขึ้นใหม่

ไม่มีการแถลง

24

6 ธันวาคม 2494

มติสภาผู้แทนราษฎร

23 มีนาคม 2495

มีการเลือกตั้งสมาชิกประเภท ที่ 1 (ส.ส.)

11 ธันวาคม 2494

25

24 มีนาคม 2495

มติสภาผู้แทนราษฎร

20 มีนาคม 2500

ส.ส.ครบวาระ
มีการเลือกตั้ง
ทั่วไป

3 เมษายน 2495

26

21 มีนาคม 2500

มติสภาผู้แทนราษฎร

16 กันยายน 2500

รัฐประหาร
นำโดย
จอมพล สฤษดิ์
ธนะรัชต์

1 เมษายน 2500

4.

พันตรี ควง อภัยวงศ์

11

1 สิงหาคม 2487

มติสภาผู้แทนราษฎร

30 สิงหาคม 2488

ลาออก
เพื่อให้ผู้เหมาะสมมาแทนหลังสงครามโลก
ครั้งที่ 2

3 สิงหาคม 2487

14

31 มกราคม 2489

มติสภาผู้แทนราษฎร

23 มีนาคม 2489

ลาออก
เพราะแพ้มติ
สภาที่เสนอ
พ.ร.บ.ที่รัฐบาล
รับไม่ได้

7 กุมภาพันธ์ 2489

19

10 พฤศจิกายน 2490

มติคณะอภิรัฐมนตรี

20 กุมภาพันธ์ 2491

มีการเลือกตั้งทั่วไป

27 พฤศจิกายน 2490

20

21 กุมภาพันธ์ 2491

มติสภาผู้แทนราษฎร

7 เมษายน 2491

ลาออก
โดยถูกคณะรัฐประหาร
(8 พฤศจิกายน 2490)
บังคับให้ลาออก

1 มีนาคม 2491

5.

นายทวี บุณยเกตุ

12

31 สิงหาคม 2488

มติสภาผู้แทนราษฎร

16 กันยายน 2488

ลาออก
เพื่อให้
ผู้เหมาะสม
มาแทน

1 กันยายน 2488

6.

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช

13

17 กันยายน 2488

มติสภาผู้แทนราษฎร

30 มกราคม 2489

รัฐบาลยุบสภา
15 ตุลาคม 2488

19 กันยายน 2488

35

15 กุมภาพันธ์ 2518

มติสภาผู้แทนราษฎร

13 มีนาคม 2518

ไม่ได้รับความไว้
วางใจจาก
ส.ส. ในการแถลงนโยบาย

6 มีนาคม 2518

37

20 เมษายน 2519

มติสภาผู้แทนราษฎร

24 กันยายน 2519

ลาออก
เพราะวิกฤตการณ์
เกี่ยวกับจอมพล ถนอมฯ
กลับมาอุปสมบท

30 เมษายน 2519

38

25 กันยายน 2519

มติสภาผู้แทนราษฎร

6 ตุลาคม 2519

รัฐประหาร
นำโดย
พล.ร.อ. สงัด
ชลออยู่

ไม่มีการแถลง

7.

นายปรีดี พนมยงค์

(หลวงประดิษฐ์มนูธรรม)

15

24 มีนาคม 2489

มติสภาผู้แทนราษฎร

10 มิถุนายน 2489

ลาออก
เพราะประกาศ
ใช้ รธน. 2489

25 มีนาคม 2489

16

11 มิถุนายน 2489

มติสภาผู้แทนราษฎร

22 สิงหาคม 2489

ลาออก
เพราะตรากตรำ
งานหนัก

13 มิถุนายน 2489

8.

พลเรือตรี ถวัลย์
ธำรงนาวาสวัสดิ์

(หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์)

17

23 สิงหาคม 2489

มติสภาผู้แทนราษฎร

29 พฤษภาคม 2490

ลาออก
หลังจากการอภิปรายทั่วไป
7 วัน 7 คืน
(รัฐบาลชนะ)

26 สิงหาคม 2489

18

30 พฤษภาคม 2490

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 พฤศจิกายน 2490

รัฐประหาร
นำโดย
พล.ท.ผิน
ชุณหะวัณ

5 มิถุนายน 2490

9.

นายพจน์ สารสิน

27

21 กันยายน 2500

มติสภาผู้แทนราษฎร

31 ธันวาคม 2500

มีการเลือกตั้งทั่วไป

24 กันยายน 2500

10.

จอมพล ถนอม กิตติขจร

28

1 มกราคม 2501

มติสภาผู้แทนราษฎร

20 ตุลาคม 2501

รัฐประหาร
นำโดย
จอมพล สฤษดิ์
ธนะรัชต์

9 มกราคม 2501

30

9 ธันวาคม 2506

มติสภาผู้แทนราษฎร

6 มีนาคม 2512

มีการเลือกตั้ง
ทั่วไปตาม
รธน.2511

19 ธันวาคม 2506

31

7 มีนาคม 2512

มติสภาผู้แทนราษฎร

16 พฤศจิกายน 2514

รัฐประหาร
นำโดย
จอมพล ถนอม
กิตติขจร

25 มีนาคม 2512

คณะปฏิวัติ

18 พฤศจิกายน 2514

-

17 ธันวาคม 2515

-

-

32

18 ธันวาคม 2515

มติสภาผู้แทนราษฎร

13 ตุลาคม 2516

ลาออก
เพราะเกิดจลาจล
วันมหาวิปโยค

22 ธันวาคม 2515

11.

จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์

29

9 กุมภาพันธ์ 2502

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 ธันวาคม 2506

อสัญกรรม

12 กุมภาพันธ์ 2502

12.

นายสัญญา ธรรมศักดิ์

33

14 ตุลาคม 2516

พระบรม
ราชโองการ

26 พฤษภาคม 2517

ลาออก อ้างเหตุร่าง รธน.
ไม่เสร็จ

25 ตุลาคม 2516

34

27 พฤษภาคม 2517

มติสภาผู้แทนราษฎร

14 กุมภาพันธ์ 2518

มีการเลือกตั้งทั่วไป
ตาม รธน. 2517

7 มิถุนายน 2517

13.

พลตรี หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช

36

14 มีนาคม 2518

มติสภาผู้แทนราษฎร

19 เมษายน 2519

รัฐบาลยุบสภา
12 มกราคม 2519
เลือกตั้งทั่วไป

19 มีนาคม 2518

14.

นายธานินทร์ กรัยวิเชียร

39

22 ตุลาคม 2519

มติคณะปฏิรูปฯ

20 ตุลาคม 2520

รัฐประหาร
นำโดย
พล.ร.อ.สงัด
ชลออยู่

29 ตุลาคม 2519

15.

พลเอก เกรียงศักดิ์
ชมะนันทน์

40

11 พฤศจิกายน 2520

มติคณะปฏิวัติ

11 พฤษภาคม 2522

มีการเลือกตั้งทั่วไป
ตาม รธน.2521

1 ธันวาคม 2520

41

12 พฤษภาคม 2522

มติสภาผู้แทนราษฎร

2 มีนาคม 2523

ลาออก
เพราะวิกฤตการณ์
น้ำมัน และผู้ลี้ภัย

7 มิถุนายน 2522

16.

พลเอก เปรม ติณสูลานนท์

42

3 มีนาคม 2523

มติสภาผู้แทนราษฎร

29 เมษายน 2526

รัฐบาลยุบสภา
19 มกราคม 2526
เลือกตั้งทั่วไป

28 มีนาคม 2523

43

30 เมษายน 2526

มติสภาผู้แทนราษฎร

4 สิงหาคม 2529

รัฐบาลยุบสภา
1 พฤษภาคม 2529
เลือกตั้งทั่วไป

20 พฤษภาคม 2526

44

5 สิงหาคม 2529

มติสภาผู้แทนราษฎร

3 สิงหาคม 2531

รัฐบาลยุบสภา
29 เมษายน 2531
เลือกตั้งทั่วไป

27 สิงหาคม 2529

17.

พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ

45

4 สิงหาคม 2531

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 ธันวาคม 2533

ลาออก
แล้วจัดตั้ง
รัฐบาลใหม่

25 สิงหาคม 2531

46

9 ธันวาคม 2533

มติสภาผู้แทนราษฎร

23 กุมภาพันธ์ 2534

รสช.ยึดอำนาจ นำโดย
พล.อ.สุนทร
คงสมพงษ์

9 มกราคม 2534

18.

นายอานันท์ ปันยารชุน

47

2 มีนาคม 2534

ประธาน รสช.
เห็นชอบ

6 เมษายน 2535

มีการเลือกตั้ง
ทั่วไปตาม
รธน.2534

4 เมษายน 2534

49

10 มิถุนายน 2535

มติสภาผู้แทนราษฎร

22 กันยายน 2535

รัฐบาลยุบสภา
30 มิถุนายน 2535
เลือกตั้งทั่วไป

22 มิถุนายน 2535

19.

พลเอก สุจินดา คราประยูร

48

7 เมษายน 2535

มติสภาผู้แทนราษฎร

9 มิถุนายน 2535

ลาออก
เพราะเกิดจลาจล
พฤษภาทมิฬ

6 พฤษภาคม 2535

20.

นายชวน หลีกภัย

50

23 กันยายน 2535

มติสภาผู้แทนราษฎร

12 กรกฎาคม 2538

รัฐบาลยุบสภา
19 พฤษภาคม 2538
เลือกตั้งทั่วไป

21 ตุลาคม 2535

53

9 พฤศจิกายน 2540

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 กุมภาพันธ์ 2544

รัฐบาลยุบสภา
9 พฤศจิกายน 2543
เลือกตั้งทั่วไป

20 พฤศจิกายน 2540

21.

นายบรรหาร ศิลปอาชา

51

13 กรกฎาคม 2538

มติสภาผู้แทนราษฎร

24 พฤศจิกายน 2539

รัฐบาลยุบสภา
27 กันยายน 2539
เลือกตั้งทั่วไป

26 กรกฎาคม 2538

22.

พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ

52

25 พฤศจิกายน 2539

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 พฤศจิกายน 2540

ลาออก
เพราะวิกฤตการณ์
เศรษฐกิจ

11 ธันวาคม 2539

23.

พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร

54

17 กุมภาพันธ์ 2544

มติสภาผู้แทนราษฎร

10 มีนาคม 2548

อายุสภาฯสิ้นสุด
ครบวาระ 4 ปี
5 มกราคม 2548

26 กุมภาพันธ์ 2544

55

11 มีนาคม 2548

มติสภาผู้แทนราษฎร

19 กันยายน 2549

1. รัฐบาลยุบสภา
24 กุมภาพันธ์ 2549
2. ยึดอำนาจ
โดย คปค.
นำโดย
พลเอกสนธิ
บุญยรัตกลิน

23 มีนาคม 2548

คณะ
ปฎิรูป
การปกครอง

19 กันยายน 2549

-

1 ตุลาคม 2549

-

-

24.

พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์

56

1 ตุลาคม 2549

มติคณะมนตรี
ความมั่นคงแห่งชาติ

6 กุมภาพันธ์ 2551

รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550
เมื่อมีการแต่งตั้ง
นรม. คนใหม่

3 พฤศจิกายน 2549

25.

นายสมัคร สุนทรเวช

57

6 กุมภาพันธ์ 2551

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 กันยายน 2551

คำวินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมนูญ

18 กุมภาพันธ์ 2551

26.

นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

58

24 กันยายน 2551

มติสภาผู้แทนราษฎร

2 ธันวาคม 2551

คำวินิจฉัยของ
ศาลรัฐธรรมนูญ
ตรมความใน
มาตรา 182

ประกอบกับมาตรา 174
มาตรา 107 และ
มาตรา 100 แห่ง
ของรัฐธรรมนูญราช
อาณาจักรไทย

7 ตุลาคม 2551

27.

นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ

59

20 ธันวาคม 2551

มติสภาผู้แทนราษฎร

8 สิงหาคม 2554

รัฐบาลยุบสภา
10 พฤษภาคม 2554
เลือกตั้งทั่วไป

30 ธันวาคม 2551

28.

นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร

60

8 สิงหาคม 2554

มติสภาผู้แทนราษฎร

7 พฤษภาคม 2557

1. รัฐบาลยุบสภา
9 ธันวาคม 2556
เลือกตั้งทั่วไป
2. คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญให้พ้นจากรักษาการนายกรัฐมนตรี กรณีย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี ตั้งแต่วันที่ 7 พฤษภาคม 2557

23 สิงหาคม 2554

คณะรักษาความสงบแห่งชาติ

22 พฤษภาคม 2557

-

23 สิงหาคม 2557

รัฐประหาร
นำโดย
พลเอก ประยุทธ์
จันทร์โอชา

-

29.

พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา

61

24 สิงหาคม 2557

มติสภานิติบัญญัติ
แห่งชาติ

5 มิถุนายน 2562

-

12 กันยายน 2557

62

9 มิถุนายน 2562

มติสมาชิกรัฐสภา

-

-

25 กรกฎาคม 2562

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 13 สิงหาคม 2563

WordPress Tabs Plugin

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก