ปัญหาสำคัญของ unctad คืออะไร

  • หน้าหลัก
  • > เกี่ยวกับ ธปท.
  • > ความร่วมมือระหว่างประเทศ

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิก (APEC)

1. ความเป็นมาและวัตถุประสงค์

  • กลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชียแปซิฟิก หรือ เอเปค เป็นการรวมตัวระหว่างเขตเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เพื่อส่งเสริมความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในภูมิภาค และเป็นเวทีสำหรับการแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นทางเศรษฐกิจที่ประเทศสมาชิกสนใจการดำเนินงานยึดหลักฉันทามติ ความเท่าเทียมกัน และผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก โดยก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2532 ณ กรุงแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย
  • ขณะนี้เอเปคมีสมาชิกรวม 21 เขตเศรษฐกิจ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ จีน ฮ่องกง นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ ไทย จีนไทเป ชิลี เม็กซิโก ปาปัวนิวกินี เปรู รัสเซีย และเวียดนาม
  • วัตถุประสงค์ของความร่วมมือเอเปค เพื่อส่งเสริมระบบการค้าพหุภาคี สนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของภูมิภาคและของโลก ด้วยการลดอุปสรรคและอำนวยความสะดวกทางด้านการค้า การค้าบริการ และการลงทุนระหว่างประเทศสมาชิก โดยให้สอดคล้องกับกฎเกณฑ์ขององค์กรการค้าโลก นอกจานี้ยังส่งเสริมความร่วมมือทางด้านการเงินการคลังในการแก้ไขวิกฤตเศรษฐกิจ

2. บทบาทของธนาคารแห่งประเทศไทย

  • ธนาคารกลางได้เข้าร่วมการประชุมภายใต้กรอบเอเปคอย่างเป็นทางการ ภายหลังจากมติการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปคครั้งที่ 6 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เมื่อเดื อนพฤศจิกายน พ.ศ.2541
  • ธปท. มีบทบาทในการประชุมเศรษฐกิจระดับเจ้าหน้าที่อาวุโส (Senior Finance Officials' Meetings - SFOM) เวทีการประชุมรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง และรองผู้ว่าการธนาคารกลางของเอเปค (APEC Finance and Central Bank Deputies' Meeting) ซึ่งจัดขึ้นปีละ 1 ครั้ง และผลของการประชุมดังกล่าวจะถูกรายงานต่อไปยังการประชุมรัฐมนตรีคลัง (APEC Finance Ministers' Meeting - AFMM)
  • นอกจากนี้ ธปท. ยังมีส่วนร่วมในการร่างและปรับปรุง APEC Model Measures เพื่อใช้เป็นต้นแบบสำหรับการเจรจาจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรี และการให้ข้อมูลใน Individual Action Plan ทางด้านการค้าการบริการ ประจำปีของประเทศไทย ซึ่งเป็นข้อมูลที่กล่าวถึงความคืบหน้าของไทยในการเตรียมพร้อมการเปิดเสรีการค้าการลงทุน

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ทีมความร่วมมือระหว่างประเทศ ฝ่ายความร่วมมือระหว่างประเทศ
โทร. 0-2283-5187 หรือ 0-2283-5168
e-mail:

กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ

เว็บย่อ:

  • UNCTAD

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)


การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนารัสพจน์หัวหน้าสถานะสำนักงานเว็บไซต์ต้นสังกัด

  ชาติสมาชิก

  ชาติสมาชิกอังค์ถัด

อังค์ถัด
เรเบกา กรินส์ปัน (เลขาธิการ)
ดำเนินการอยู่
เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
unctad.org
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ
สำนักเลขาธิการสหประชาชาติ

สำนักงานใหญ่ในเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์

การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ อังค์ถัด (อังกฤษ: United Nations Conference on Trade and Development ย่อว่า UNCTAD) ก่อตั้งขึ้นใน พ.ศ. 2507 เพื่อเป็นองค์กรถาวรระหว่างรัฐบาล ที่เป็นเครื่องมือหลักของสหประชาชาติที่จัดการด้านการค้า การลงทุน และการพัฒนา

เป้าหมายขององค์กรนี้คือ "การเพิ่มโอกาสทางการค้า การลงทุน และการพัฒนา และช่วยเหลือประเทศเหล่านั้นในการเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจโลก ในพื้นฐานแห่งความเท่าเทียม" (จากเว็บไซต์อย่างเป็นทางการ)

ปัจจุบัน อังค์ถัดมีประเทศสมาชิก 194 ประเทศ และมีสำนักงานใหญ่ที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ อังค์ถัดมีเจ้าหน้าที่ประจำ 400 คนและมีงบประมาณรายปีประมาณ 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีงบเพิ่มเติมช่วยเหลือด้านเทคนิคอีก 25 ล้านดอลลาร์สหรัฐ

เลขาธิการของคนไทย คือ ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ ดำรงตำแหน่งตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2548-2551

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • เว็บไซต์ของ UNCTAD เก็บถาวร 2007-08-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  • International Trade Centre home page

สหประชาชาติ

ระบบสหประชาชาติสมาชิกและผู้สังเกตการณ์ประวัติหัวเรื่องที่เกี่ยวข้อง
เสาหลักโครงการและ
ทบวงการชำนัญพิเศษสำนักงานหลัก

  • สมัชชาใหญ่ (ประธาน)
  • คณะมนตรีความมั่นคง (สมาชิก)
  • คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคม
  • สำนักเลขาธิการสหประชาชาติ (เลขาธิการ)
  • ศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ
  • คณะมนตรีภาวะทรัสตี

  • FAO
  • ICAO
  • ILO
  • IMO
  • ITC
  • IPCC
  • IAEA
  • UNIDO
  • ITU
  • UNAIDS
  • SCSL
  • UNCTAD
  • UNCITRAL
  • UNCDF
  • UNDAF
  • UNDG
  • UNDP
  • UNDPI
  • DPO
  • UNEP
  • UNESCO
  • UNFIP
  • UNIFEM
  • UNFPA
  • UN-HABITAT
  • OHCHR
  • UNHCR
  • UNHRC
  • UNICEF
  • UNICRI
  • UNIDIR
  • UNITAR
  • UN-Oceans
  • UNODC
  • UNOPS
  • UNOSAT
  • UNRISD
  • UNRWA
  • UNU
  • UNV
  • UN Women
  • UNWTO
  • UPU
  • WFP
  • WHO
  • WMO

  • นิวยอร์ก (สำนักงานใหญ่)
  • เจนีวา
  • ไนโรบี
  • เวียนนา

  • รัฐสมาชิก
  • สมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคง
  • ผู้สังเกตการณ์

  • สันนิบาตชาติ
  • การขยายตัว

  • ระบบเบรตตันวูดส์
  • กฎบัตร
  • CTBTO
  • Delivering as One
  • ธง
  • ธงเกียรติยศ
  • พันธสัญญาโลก
  • ICC
  • หนังสือผ่านแดน
  • ภาษาราชการ
  • OPCW
  • การรักษาสันติภาพ
  • ชุดสนธิสัญญา
  • วันสหประชาชาติ
  • UDHR
  • MDG
  • การปฏิรูปสหประชาชาติ

บทความเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ การเงิน ธุรกิจ หรือ การค้านี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก