วิศวกรรมระบบ ไอ โอ ที่ และสารสนเทศ เรียน อะไร

บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (June 29, 2018) (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

วิศวกรรมสารสนเทศ (อังกฤษ: Information Engineering) เป็นสาขาทางวิศวกรรมศาสตร์ ว่าด้วยการนำความรู้ทางวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ มาประยุกต์ใช้ในกระบวนการจัดการข้อมูลข่าวสาร ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อความต้องการของมนุษย์

การจัดการข้อมูลข่าวสาร ในที่นี้นั้นหมายถึงการกระทำใด ๆ ต่อข้อมูล เช่น การจัดเก็บ การรับส่งข้อมูล การประมวลผลข้อมูล เป็นต้น

สาขาวิชาวิศวกรรมสารสนเทศ จะมุ่งเน้นการศึกษาและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในสาขาต่าง ๆ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ อิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม ตลอดจนถึงสาขาทางวิศวกรรมไฟ้ฟ้าอื่น ๆ เช่น ระบบควบคุม เป็นต้น

ยกตัวอย่างเช่น การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์แล้วส่งผ่านระบบโครงข่ายการสื่อสารแบบมีสายหรือแบบไร้สายไปยังปลายทาง ตลอดจนการจัดเก็บและการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด เป็นต้น

วิศวกรรมสารสนเทศในประเทศไทย[แก้]

มุมมองและกรณีตัวอย่างในบทความนี้อาจไม่ได้แสดงถึงมุมมองที่เป็นสากลของเรื่อง คุณสามารถช่วยแก้ไขบทความนี้ โดยเพิ่มมุมมองสากลให้มากขึ้น หรือแยกประเด็นย่อยไปสร้างเป็นบทความใหม่ (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

วิศวกรรมสารสนเทศเป็นสาขาใหม่ของ ภาควิชาเทคนิคอุตสาหกรรมคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เมื่อ พฤศจิกายน พ.ศ. 2516 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้โอนเข้าสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย เมื่อเริ่มแรกนั้นคณะวิศวกรรมศาสตร์มีภาควิชาเพียง 3 ภาค ได้แก่ ภาควิชาวิศวกรรมโทรคมนาคม ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า และภาควิชาเทคนิคอุตสาหกรรม

ภาควิชาเทคนิคอุตสาหกรรม เริ่มก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2517 เริ่มแรกภาควิชานี้ตั้งอยู่ที่ศูนย์นนทบุรี และตึกโทรคมนาคมที่ลาดกระบัง โดยเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ) สาขาวิชาเทคโนโลยีโทรทัศน์เพียงสาขาเดียว โดย รับนักศึกษาที่จบ ป.ว.ส. สาขาไฟฟ้าโทรคมนาคม สาขาอิเล็กทรอนิกส์และสาขาวิทยุโทรทัศน์ ซึ่งมีการเรียนรอบค่ำเป็นระยะเวลา 3 ปี หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2539 ได้เปิดสอนสาขาเทคโนโลยีโทรคมนาคม และสาขาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มขึ้นอีก และได้ย้ายภาควิชาจากตึกโทรคมนาคมมาอยู่ที่อาคาร 12 ชั้นคณะวิศวกรรมศาสตร์

ทางภาควิชาได้มีการทำวิจัยและได้รับทุนสนับสนุนทางด้าน Broadcasting จากรัฐบาลญี่ปุ่นมาตลอด ทางภาควิชาจึงได้ผลักดันหลักสูตรวิศวกรรมสารสนเทศ เข้าในแผน 8 ในปี พ.ศ. 2536 และต่อมาปี พ.ศ. 2539 ทางทบวงมหาวิทยาลัย ได้อนุมัติให้ทำการเปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมสารสนเทศ ได้ในปี พ.ศ. 2541 ซึ่งภาควิชานี้เป็นแห่งแรกในประเทศไทยที่เปิดทำการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนสาขาวิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศไทย[แก้]

มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาตรี ระดับปริญญาโท ระดับปริญญาเอก
คณะเทคโนโลยีและการจัดการอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ วิทยาเขตปราจีนบุรี
  • ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
  • วิศวกรรมสารสนเทศและเครือข่าย หลักสูตร 4 ปี รับผู้สำเร็จการศึกษา ม.6, ปวช.
  • วิศวกรรมสารสนเทศและเครือข่าย (เทียบโอน) หลักสูตร 3 ปี รับผู้สำเร็จการศึกษา ปวส.
- -
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • หน่วยวิศวกรรมนานาชาติ (ไอเอสอี)[1]
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
  • วิศวกรรมสารสนเทศและการสื่อสาร (หลักสูตรนานาชาติ)
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

  • สาขาวิศวกรรมระบบสารสนเทศและเครือข่าย (หลักสูตรนานาชาติ) Archived 2017-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

-

-

คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
  • ภาควิชาวิศวกรรมสารสนเทศ
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต
  • วิศวกรรมสารสนเทศ หลักสูตร 4 ปี
  • วิศวกรรมสารสนเทศ หลักสูตร 3 ปี (เทียบโอน) ปัจจุบันไม่เปิดรับนักศึกษาแล้ว
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
  • วิศวกรรมสารสนเทศ หลักสูตร 2 ปี
    • แผน ก แบบ ก1
    • แผน ก แบบ ก2
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต
  • -
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
  • สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

  • สาขาวิชาวิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ Archived 2016-12-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

-

-

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ประวัติความเป็นมาของภาควิชาวิศวกรรมสารสนเทศ Archived 2010-09-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน

สาขาวิชาสำคัญด้านเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์ประยุกต์สารสนเทศ และ การสื่อสารอุตสาหกรรมการทหารคหกรรมศาสตร์วิศวกรรมศาสตร์สุขภาพ และ ความปลอดภัยการขนส่ง

  • เทคโนโลยีการสะสมพลังงาน
  • เทคโนโลยีการเกษตร
  • เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
  • เทคโนโลยีนิวเคลียร์
  • เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม
  • นาโนเทคโนโลยี
  • การประมงศาสตร์
  • ปัญญาประดิษฐ์
  • พลังงาน
  • ฟิสิกส์วิศวกรรม
  • พันธุวิศวกรรม
  • ไมโครเทคโนโลยี
  • วัสดุศาสตร์
  • วิศวกรรมเซรามิก
  • วิศวกรรมทัศนศาสตร์
  • สัตวศาสตร์
  • อิเล็กทรอนิกส์
  • เครื่องมือวัด

  • การรู้จำคำพูด
  • เทคโนโลยีดนตรี
  • เทคโนโลยีทางสายตา
  • เทคโนโลยีการสื่อสาร
  • เรขภาพ

  • การก่อสร้าง
  • การเงินเชิงคอมพิวเตอร์
  • การทำเหมืองแร่
  • การประมง
  • การผลิต
  • เครื่องกล

  • เทคโนโลยีและอุปกรณ์การทหาร
  • นาวิกวิศวกรรม
  • อาวุธปืนและเครื่องกระสุนปืน
  • ระเบิด

  • เครื่องใช้ไฟฟ้า
  • เทคโนโลยีการศึกษา
  • เทคโนโลยีในบ้าน
  • เทคโนโลยีอาหาร

  • วิศวกรรมชลประทาน
  • วิศวกรรมทางหลวง
  • วิศวกรรมต่อเรือ
  • วัสดุศาสตร์
  • วิศวกรรมก่อสร้าง
  • วิศวกรรมเกษตร
  • วิศวกรรมการเงิน
  • วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
  • วิศวกรรมเคมี
  • วิศวกรรมเครื่องกล
  • วิศวกรรมโครงสร้าง
  • วิศวกรรมชีวเคมี
  • วิศวกรรมชีวเวช
  • วิศวกรรมชีวะ
  • วิศวกรรมซอฟต์แวร์
  • วิศวกรรมเซรามิก
  • วิศวกรรมนิวเคลียร์
  • วิศวกรรมเนื้อเยื่อ
  • วิศวกรรมประมง
  • วิศวกรรมปิโตรเลียม
  • วิศวกรรมไฟฟ้า
  • วิศวกรรมแมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์
  • วิศวกรรมเหมืองแร่
  • วิศวกรรมโยธา
  • วิศวกรรมสำรวจ
  • วิศวกรรมระบบควบคุม
  • วิศวกรรมโลหการ
  • วิศวกรรมสถาปัตย์
  • วิศวกรรมสารสนเทศ
  • วิศวกรรมขนถ่ายวัสดุ
  • วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
  • วิศวกรรมสิ่งทอ
  • วิศวกรรมหลังการเก็บเกี่ยวและแปรสภาพ
  • วิศวกรรมการทำความเย็นและการปรับอากาศ
  • วิศวกรรมการบินและอวกาศยาน
  • วิศวกรรมอาหาร
  • วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
  • วิศวกรรมอุตสาหการ
  • อติสีตศาสตร์
  • วิศวกรรมการขนถ่ายวัสดุ
  • วิศวกรรมอัตโนมัติ
  • วิศวกรรมการวัดคุม
  • วิศวกรรมโทรคมนาคม
  • วิศวกรรมการขนส่ง
  • วิศวกรรมมัลติมีเดียและเอ็นเตอร์เทนเมนต์

  • เคมีสารสนเทศศาสตร์
  • ชีวสารสนเทศศาสตร์
  • เทคโนโลยีชีวภาพ
  • วิทยาศาสตร์สุขภาพ
  • วิศวกรรมความปลอดภัยด้านอัคคีภัย
  • วิศวกรรมความปลอดภัย
  • วิศวกรรมชีวการแพทย์
  • วิศวกรรมสุขาภิบาล

  • การขนส่ง
  • เครื่องยนต์
  • เทคโนโลยีอวกาศ
  • วิศวกรรมทางทะเล
  • วิศวกรรมการบินและอวกาศยาน
  • อวกาศยาน

บทความเกี่ยวกับวิศวกรรมศาสตร์นี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยการเพิ่มเติมข้อมูล

IoT ต้องเรียนอะไร

ถ้าพูดชื่อนี้หลายคนคงยังสงสัยกันอยู่ว่าคือสาขาวิชาอะไร ที่จริงแล้ววิศวกรรม IoT ก็คือส่วนหนึ่งของคณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์นั่นเอง โดยคำว่า IoT ย่อมาจาก Internet of Things หรือการที่สิ่งต่าง ๆ รอบตัวเรา ถูกเชื่อมต่อกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งจะช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้ชีวิตได้มากขึ้น เช่น Smart ...

IoT Engineer ทำอะไร

2. Internet of Things (IOT) Engineering Technicians: วิศวกร IoT. มีหน้าที่ในการพัฒนา วิจัย ออกแบบ ตรวจสอบ และดูแลรักษาแพลตฟอร์ม (Platform), ชิป (Chip), เซ็นเซอร์ (Sensor) และ Smart Tag.

วิศวะซอฟแวร์ เรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง

วิศวกรรมซอฟต์แวร์ คือหลักสูตรที่เรียนเกี่ยวกับการออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “การเขียนโปรแกรม” โดยเป็นการเรียนรู้ในกระบวนการพัฒนาโปรแกรมตั้งแต่ต้นจนจบ เริ่มตั้งแต่การประเมินความต้องการของลูกค้า, การออกแบบโครงสร้างของโปรแกรม, การวางแผนกระบวนการพัฒนา, การ Coding, การทดสอบโปรแกรม เป็นต้น

วิศวะคอม สจล เรียนอะไรบ้าง

วิศวะคอมลาดกระบังเรียนอะไรกันบ้างนะ พี่ต๊ะ : ภาควิชาของเราส่วนใหญ่จะเรียนเรื่องการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ครับ ตั้งแต่การทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ การเขียนโปรแกรมและสร้าง Application ขึ้นมาเพื่ออำนวยความสะดวกหรือควบคุมอุปกรณ์ได้ รวมถึงการสื่อสารกันของอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยครับ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก