อุฏฺฐาตา วินฺทเต ธนํ คําอ่าน

“���էҹ������ѡ�繰ҹ ���㨷ӧҹ �������͡����������” �ѧ��鹢�鹪�����Ҥ���ѹ �������������鵹��繤���ҧ�ҹ ������Сͺ�Ҫվ�ب�Ե ���Ҫվ���á����赹�ͧ��Ѵ���ʹ㨷��з� �� �Ҫվ����Ҫ��� �Ѱ����ˡԨ ��ͤ�� ��ʹ���繪������ǹ� �ҡ�դ�����ѹ�������û�Сͺ�Ҫվ�ͧ�� �դ����������ӹҭ����ǡѺ�ҹ��赹��з����������ҧ�� ���������ŧҹ����ջ���Է���Ҿ ���������ѡ�ͧ�Է�Ժҷ 4 ��� �դ��������Ҫվ��çҹ�ͧ�� (�ѹ��) �դ�����ѹ�������ô��šԨ��çҹ���ͧ���¤���ʹ��ʹ���� (������) �ըԵ㨨�����դ������㨷��С�зӡԨ��çҹ���������������ǧ仴��´�����ջ���Է���Ҿ (�Ե��) ������蹾ԹԨ�Ԩ�ó����;Ѳ�ҡԨ��çҹ�ͧ���ͧ�����ԭ����˹����� � ���� (���ѧ��) ���������� �ҡ����դ�����ѹ�������û�Сͺ�Ԩ��çҹ�ͧ�����´� ���������Ѻ�ŵͺ᷹���� ��Ф�����Ҵ���

เหล่า จอมมุนีผู้เป็นใหญ๋ทั้งหลาย (สฺพเพ เต มุนิสฺสรา) จงมาตั้งอยู่เฉพาะในกระบาลของข้า(ปติฏฺฐิตา มยฺหํ มตฺถเก)

สหายโก

ราชคหนครสฺมิํ หิ ราชคหเสฏฺฐิโน เคเห อหิวาตกโรโค อุปฺปชฺชติฯ ตสฺมิํ อุปฺปนฺเน,

ดังจะกล่าวโดยพิสดาร อ.อหิวาตกโรค โรคอันเกิดจากลมพิษอันมีพิษเยี่ยงงู ย่อมเกิดขึ้น ในเรือนของราชคหเศรษฐี ในพระนครราชคฤห์ฯ ครั้นเมื่อ อหิวาตกโรคนั้น เกิดขึ้นแล้ว,

มกฺกโฏ

สีตํ อุณฺหํ ชิฆจฺฉา ปิปาสา อุจฺจาโร ปสฺสาโวติ อิติ อิมสฺมึ กาเย อาทีนวานุปสฺสี วิหรติ อยํ วุจฺจตานนฺท อาทีนวสญฺญา

ความหนาว ความร้อน ความหิว ความกระหาย ปวดอุจจาระ ปวดปัสสาวะ เป็นผู้พิจารณาเห็นโดยความเป็นโทษในกายนี้อยู่อย่างนี้ นี้เรียกว่า อาทีนวสัญญา

สหายโก

อิตฺถิมิสฺโส กุโต สีลํ

คนคลุกคลีกับสตรี จะมีศีลแต่ไหน

มกฺกโฏ

อุทยพฺพยานุปสฺสเน ญาณํ

ญาณ ที่เห็น การเกิดและ ดับ ของรูป และ นาม

Yang Iah

เตน วจนํ ส เว พาโลติ วุจฺจติ อิติ ภควตา วุตฺตํ.

เพราะเหตุนั้น อ.พระดํารัส ว่า "ส เว พาโลติ วุจฺจติ อิติ ดังนี้ อันพระผู้มีพระภาค ตรัสแล้ว

มกฺกโฏ

ฯ องฺคารถูโป ทสโม ตทาเยว ปติฏฺฐิโต

สถูปที่บรรจุอังคาร เป็น แห่งที่สิบ ประดิษฐานตั้งแต่กาลนั้นจนถึงกาลไหนๆ นั่นเทียว

มกฺกโฏ

เกสนฺโต ปิฏฺฐิภาคสฺมิํ สุริโย ว ปภํกโร นิสินฺโน สิริสมฺปนฺโน โสภิโต มุนิปุํคโว

พระโสภิต มุนีผู้ประเสริฐ ถึงพร้อมแล้วด้วยสิริ ได้ประทับอยู่แล้ว ที่ มวยผมด้านหลัง ส่องแสงสว่างไปทั่วราวกะ พระอาทิตย์

มกฺกโฏ

กึสุ อิสฺสริยํ โลเก วโส อิสฺสริยํ โลเก

อะไรหนอ เป็นเครื่องใหญ่กว่า ในโลก อํานาจ เป็นเครื่องใหญ่กว่า ในโลก

มกฺกโฏ

เอตฺถ ชาตคจฺเฉ หาเรตฺวา เคหํ อุฏฺฐาเปตฺวา วสาหีติ อาห

กล่าวแล้วว่า " ท่าน จงอยู่เถิด ยังกอไม้ ที่เกิดแล้วให้นําไปแล้ว ยังเรือน ให้ตั้งขึ้นแล้ว ในที่นั้น ดังนี้

มกฺกโฏ

อิมสฺมึ ปน คามสฺส ปาเป ชาเต, สญฺญํปิ อกตฺวา นิสีทิตํุ อยุตฺตํ.

ครั้นเมื่อเกิดเรื่องลามก ในบ้านเมือง อ. อันบุคลอันนั่งไม่สนใจอะไร ไม่สมควร

มกฺกโฏ

โก นุ เขฺวตฺถ อุปาโย โส โก วา ชานาติ กิญฺจนํ

ใครหนอ รู้บ้างว่า อย่างไร วางอุบาย ให้ เขา พยากรณ์เนื้อความ หันเหไปนอกทาง

สหายโก

โสตาปตฺติผลสฺส อุปนิสฺสยํ อทฺทส

ทรงได้เห็นแล้ว ซึ่งอุปนิสัยแห่ง โสดาปัตติผล

มกฺกโฏ

ปญฺจ ฐานานิ สมฺปสฺสนฺตา มาตาปิตโร ปุตฺตํ อิจฺฉนฺติ กุเล ชายมานํ

มารดา บิดา เล็งเห็นฐานะ ๕ ประการนี้ จึงปรารถนาบุตรเกิดในสกุล

มกฺกโฏ

กสฺสโป จ มหานาโม อุภาสุํ วามโสตเก

พระมหากัสสปะ และ พระ มหานามะ ทําให้ หู ท. ข้างซ้าย บริบูรณ์ หมาย ความเอา ประทับในหู ข้างซ้าย

มกฺกโฏ

วีมํสาสมาธิปธานสงฺขารสมนฺนาคโต อิทฺธิปาโทติ

อิทธิบาท ถึงแล้วซึ่ง สมถะ วิมังสาสมาธิ และ ปธานสังขาร

มกฺกโฏ

อิธ ปนาวุโส ภิกฺขุโน ปวิวิตฺตสฺส วิหรโต นิรายตฺตวุตฺติโน อิจฺฉา อุปฺปชฺชติ

แน่ะ! อาวุโส อ.ภิกขุ แห่งพระธรรมวินัยนี้ แม้ อยู่แล้วในวิหารแห่งความวิเวก แต่ว่า ปราศจากความพินิจซึ่งอนัตตา อ.ตัณหา ย่อมอุบัติขึ้น

มกฺกโฏ

กตมา จ ภิกฺขุ อชฺฌตฺติกา ปฐวีธาตุ ฯ ยํ อชฺฌตฺตํ ปจฺจตฺตํ กกฺขลํ ขริคตํ อุปาทินฺนํ เสยฺยถีทํ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ

ดูกร ภิกขุ ก็ปฐวีธาตุภายในเป็นไฉน ได้แก่สิ่งที่แค่นแข็ง กําหนดได้ มีในตน อาศัยตน คือ ผม ขนเล็บ ฟัน หนัง

มกฺกโฏ

กึสุ ภณฺฑานมุตฺตมํ โลเก อิตฺถี ภณฺฑานมุตฺตมํ

อะไรหนอเป็นของดีที่สุดในโลก สตรี เป็นของดีที่สุดในโลก

มกฺกโฏ

เกสนฺโต ปิฏฺฐิภาคสฺมิํ สุริโย วะ ปภงฺกโร

อาทิตย์ สว่าง แจ้ง อยู่ที่ มวยผมด้านหลัง

มกฺกโฏ

อิสฺสาปกตอิตฺถึ ,อิสฺสาย ปกตา อิตฺถี (ปกตา = ป บทหน้า +กรฺ ธาตุ + ต ปัจจัย + สิ ปฐมาวิภัตติ )

หญิงผู้ถูกความริษยาครอบงําแล้ว(หญิง ผู้อันความริษยา กระทําทั่วแล้ว)

Suntorn Bunsathit

กสฺสโป จ มหานาโม อุภาสํุ วามโสตเก

สะอาด สว่าง สงบ ใน หูข้างซ้าย ท. เพราะ พระมหากัสสปะ และ พระมหานาโม (แปล ใน...เพราะ สัตตมีวิภัติ วามโสตเก ใน ที่ ใกล้ ครั้นเมื่อ ใน...เพราะ

มกฺกโฏ

มหาชโน กถํ สมุฏฺฐาเปสิ" สากิยานํ มรณํ อยุตฺตํ เอวนฺนาม โกฏฺเฏตฺวา โกฏฺเฏตฺวา สากิยา มาเรตพฺพาติ อนุจฺฉวิกํเมตนฺติ.

อ.มหาชน ยังข้อสนทนา ให้ตั้งขึ้น ว่า " อ.ความตาย ของเจ้าศากย ทั้งหลายไม่สมควรเลย, (สเจ ถ้าหาก) อ.เจ้าศักยะทั้งหลาย ทุบแล้ว ตัดแล้ว ซึ่งชีวิต ของสัตว์ทั้งหลาย( มจฺจานํ ชีวิตํ) (วิฑูฑเภน) อันพระเจ้าวิฑูฑภะ พึงให้ตาย เพราะเหตุนั้น อ.ความตาย นี้ เป็นอันสมควร (โหติ) ย่อมเป็น.

มกฺกโฏ

อุปกฏฺโฐ ปุจฺฉาวิสชฺชนกาโล

อ. กาลแห่ง การถามตอบ เข้ามาใกล้แล้ว

มกฺกโฏ

จ โย พาโล สมาโน ปณฺฑิตฺมานี ว เอวํ อญฺโญ โก พหุสฺสุโต สทิโส มยา อตฺถิ อิติ โหติ.

หากว่า ผู้ใด เป็นคนโง่ เป็นผู้เข้าใจว่าตนเป็นบัณฑิต เทียว ว่า อ.ใคร ผู้เป็นพุูหุสูต อื่นใด ผู้เห็นเสมอด้วย เรามีอยู่ ดังนี้ ย่อมเป็น

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก