ข้อใดคือระบอบการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชนชั้นใดในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่ไม่จัดอยู่ในกลุ่มชนชั้นปกครอง * ยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นหมายถึงช่วงเวลาใด พระมหากษัตริย์มีหน้าที่อะไรในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชนชั้นปกครอง ได้แก่ 5ชนชั้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ชนชั้นในสังคมสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น บทบาท ชนชั้นปกครองในสังคมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตรงกับข้อใด ชนชั้นพิเศษ ได้แก่ ระบบศักดินามีกี่ชนชั้น พระสงฆ์จัดอยู่ในชนชั้นใด และมีสิทธิพิเศษอย่างไรบ้าง ระบบศักดินามีความเกี่ยวข้องกับชนชั้นในสังคมไทยรัตนโกสินทร์ตอนต้นอย่างไร อธิบายมาให้เข้าใจพอสังเขป

ชนชั้นปกครอง สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

สังคมไทยสมัยกรุงศรีอยุธยา แม้ว่าจะต่อเนื่องมาจากสังคมสมัยสุโขทัย แต่ก็ได้มีความเปลี่ยนแปลงแตกต่างไปจากสังคมสมัยสุโขทัยหลายด้าน ทั้งนี้ก็เพราะว่าสถาบันสูงสุดของการปกครองได้เปลี่ยนฐานะไป นั่นคือ พระมหากษัตริย์ได้เปลี่ยนฐานะจากมนุษยราชในสมัยสุโชทัยเป็นเทวราชขึ้นในสมัยอยุธยา เปลี่ยนจากฐานะความเป็น “พ่อขุน” มาเป็น “เจ้าชีวิต” ของประชาชนซึ่งเป็นผลให้ระบบและสถาบันทางการปกครองต่างๆ แตกต่างไปจากสังคมไทยสมัยสุโขทัยด้วย
สังคมอยุธยา เป็นสังคมที่เต็มไปด้วยชนชั้น นับตั้งแต่การแบ่งแยกชนชั้นอย่างเด็ดขาด ระหว่างกษัตริย์กับราษฎรแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ ก็มีอันดับสูงต่ำลดหลั่นกันเป็นชั้นๆ ในหมู่ราษฎร ก็มีการแบ่งชนชั้นกันเป็นชนชั้นผู้ดีกับชนชั้นไพร่ ในหมู่ข้าราชการก็มี ศักดินาเป็นตัวกำหนดความสูงต่ำของข้าราชการในชนชั้นต่างๆ ซึ่งชนชั้นต่างๆ เหล่านี้ จะก่อให้เกิดมีสิทธิในสังคมอยุธยาขึ้นแตกต่างกันด้วย
ชนชั้นสูงสุดในสมัยอยุธยาคือพระบรมวงศานุวงศ์ ส่วนข้าราชการหรือขุนนางนั้น ก็แบ่งเป็นชั้นๆ ลดหลั่นกันไปตามลักษณะหน้า ที่และความรับผิดชอบ พร้อมกับตำแหน่งหน้าที่แล้ว ราชการสมัยอยุธยายังมีศักดินาซึ่งมากน้อยตามตำแหน่งหน้าที่ ระบบศักดินานี้เป็น ระบอบของสังคมอยุธยาโดยแท้ เพราะศักดินานั้น ทุกคนต้องมีตั้งแต่ขุนนางชั้นผู้ใหญ่ พระบรมวงศานุวงศ์ลงไปจนถึงข้าราชการชั้นผู้น้อย และประชาชนธรรมดา จำนวนลดหลั่นลงไป

ที่มาภาพ : //konchopkid.blogspot.com/2013/

1. พระมหากษัตริย์ พระราชฐานะและอำนาจของพระมหากษัตริย์ ในสมัยอยุธยา
ทรงมีฐานะเป็นสมมติเทพ (ไทยได้รับแนวความคิดนี้ มาจากคติความเชื่อของศาสนาพราหมณ์
ทรงเป็นประมุขของประเทศ มีอำนาจสูงสุดในการปกครอง
ทรงมีพระราชอำนาจในฐานะเป็นเจ้าชีวิตและเจ้าแผ่นดิน
ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา

2. พระบรมวงศานุวงศ์ หรือเจ้านาย คือเชื้อพระวงศ์ของพระมหากษัตริย์ มีฐานะรองจากพระมหากษัตริย์ อำนาจจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับตำแหน่ง หน้าที่การงานกับความโปรดปรานของพระมหากษัตริย์ ยศของเจ้านายแบ่งได้เป็น
สกุลยศ เป็นยศที่ได้รับมาตั้งแต่เกิด สืบเชื้อสายจากพระมหากษัตริย์โดยตรง มีลำดับชั้นดังนี้ เจ้าฟ้า พระองค์เจ้า หม่อมเจ้า
อิสริยยศ เป็นยศที่ได้รับพระราชทานจากการได้รับราชการ เช่น พระราเมศวร พระบรมราชา เป็นต้น
ยศที่ได้รับอาจมีการเลื่อนขั้นหรือลดขั้นได้แล้วแต่ความผิดที่ได้กระทำลงไปหรือความชอบ ที่ได้รับ แต่มิได้สืบทอดยศที่ได้นั้นไปถึงลูกหลาน สิทธิตามกฏหมายของเจ้านายนั้น เช่น สามารถได้รับส่วนแบ่งรายได้จากภาษีอากรของแผ่นดินจะถูกพิจารณาคดีความได้ภายใน ศาลของกรมวังเท่านั้น และจะนำไปขายเป็นทาสไม่ได้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้มีการสถาปนาเจ้านายให้ทรงกรมมีตำแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลเป็นตำแหน่ง ที่สำคัญที่สุดในตำแหน่งของเจ้านายทั้งหมดจะตั้งให้กับพระราชโอรสผู้หนึ่งผู้ใด เพื่อแสดงว่า ผู้นั้นสมควรจะได้ครองแผ่นดินเป็นกษัตริย์ต่อไป

3. ขุนนาง มีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือพระเจ้าแผ่นดิน ในการปกครองประเทศ โดยพระเจ้าแผ่นดินพระราชทานศักดินา ให้เป็นเครื่องตอบแทนอำนาจ และฐานะของขุนนาง มีดังนี้
1. ขุนนางเป็นชนชั้นที่มีอำนาจมากทั้งในด้านการปกครองและการควบคุมพลเมือง
2. ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงออกกฎหมายศักดินา จัดทำเนียบขันนาง ข้าราชการ ซึ่งประกอบด้วย ตำแหน่ง ยศ ราชทินนาม
3. ขุนนางที่มีไพร่พลมาก จะเป็นฐานแห่งกำลังและอำนาจที่สำคัญปัญหาความขัดแย้งในกลุ่มขุนนางและเจ้านายจึงเกิดขึ้นบ่อยครั้ง

//www.gotoknow.org/posts/431413

ข้อใดคือระบอบการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

การปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นการปกครองระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์จนถึง รัชกาลที่ 5 ได้มีการปฏิรูปการปกครองการบริหารที่สำคัญของชาติไทยโดยมีมูลเหตุสำคัญที่ก่อให้เกิด การปกครอง คือ มูลเหตุที่ทำให้มีการปรับปรุงการปกครอง

ชนชั้นใดในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่ไม่จัดอยู่ในกลุ่มชนชั้นปกครอง *

ได้แก่พระมหากษัตริย์, เจ้านาย, ขุนนาง และกลุ่มคนที่เป็น ชนชั้นใต้การปกครอง ได้แก่ไพร่และทาส กลุ่มคนทั้งหมด ล้วนมีความสัมพันธ์ต่อกันตามหน้าที่โดยพระมหากษัตริย์ ทรงมีพระราชอานาจสูงสุด ในราชอาณาจักรสยาม

ยุครัตนโกสินทร์ตอนต้นหมายถึงช่วงเวลาใด

ด้านการเมืองการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็น 3 ช่วง คือ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ระหว่าง พ.ศ. 2325–2394 สมัยปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย ระหว่าง พ.ศ. 2394–2475 และสมัยประชาธิปไตย ระหว่างพ.ศ. 2475–ปัจจุบัน 2.1 การเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พ.ศ. 2325–2394.

พระมหากษัตริย์มีหน้าที่อะไรในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

4. บทบาทของพระมหากษัตริย์ สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นเป็นอย่างไร บทบาทของพระมหากษัตริย์ในยามบ้านเมืองเป็นปกติสุข ทรงทาหน้าที่พัฒนาบ้านเมืองทั้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ให้เจริญก้าวหน้า ในยามศึกสงคราม ทรงตั้งกองทัพออกสู้รบ เพื่อปกป้องบ้านเมือง

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก