บัตรประชาชนหมดอายุต้องใช้ทะเบียนบ้านไหม

การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน(กรณีขอมีบัตรครั้งแรก)

1. พิมพ์ บ.ป.1 พิมพ์ลายนิ้วมือ (3 นาที)

2. ถ่ายรูปด้วยระบบ VDO (3 นาที)

3. พิมพ์บัตรฯด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (2 นาที)

4. ออกใบเสร็จ ค่าธรรมเนียมส่งมอบบัตรฯ (2 นาที)

หลักฐานที่ต้องนำมาแสดง

- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ทุกกรณี)

- ใบสูติบัตร (กรณีอายุ 15 ปี ถ้ามี)

- บัตรเดิม (กรณีบัตรหมดอายุ บัตรชำรุดในสาระสำคัญหรือเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล)

- หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (กรณี เปลี่ยนชื่อตัวสกุล)

- หลักฐานการแจ้งความบัตรหายหรือถูกทำลาย (กรณีบัตรหายหรือถูกทำลาย)

- หนังสือสำคัญประจำตัวของบุคคลต่างด้าวของบิดา มารดา (กรณีเป็นบุตรของบุคคลต่างด้าว)

- หลักฐานอื่นที่แสดงว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทย เช่น ส.ด.8 ส.ด.9 เป็นต้น

การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน(กรณีขอเปลี่ยนบัตรใหม่)

1. พิมพ์ บ.ป.1 พิมพ์ลายนิ้วมือ (3 นาที)

2. ถ่ายรูปด้วยระบบ VDO (3 นาที)

3. พิมพ์บัตรฯด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (2 นาที)

4. ออกใบเสร็จ ค่าธรรมเนียมส่งมอบบัตรฯ (2 นาที)

หลักฐานที่ต้องนำมาแสดง

- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน (ทุกกรณี)

- ใบสูติบัตร (กรณีอายุ 15 ปี ถ้ามี)

- บัตรเดิม (กรณีบัตรหมดอายุ บัตรชำรุดในสาระสำคัญหรือเปลี่ยนชื่อ ชื่อสกุล)

- หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (กรณี เปลี่ยนชื่อตัวสกุล)

- หลักฐานการแจ้งความบัตรหายหรือถูกทำลาย (กรณีบัตรหายหรือถูกทำลาย)

- หนังสือสำคัญประจำตัวของบุคคลต่างด้าวของบิดา มารดา (กรณีเป็นบุตรของบุคคลต่างด้าว)

- หลักฐานอื่นที่แสดงว่าเป็นบุคคลสัญชาติไทย เช่น ส.ด.8 ส.ด.9 เป็นต้น

การจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน(กรณีบัตรหมดอายุ)

1. พิมพ์ บ.ป.1 พิมพ์ลายนิ้วมือ (3 นาที)

2. ถ่ายรูปด้วยระบบ VDO (3 นาที)

3. พิมพ์บัตรฯด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ (2 นาที)

4. ออกใบเสร็จ ค่าธรรมเนียมส่งมอบบัตรฯ (2 นาที)

1. ผู้ขอทำบัตรประจำตัวประชาชนจะต้องไม่เป็นบุคคลที่มีรายชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง
2. ผู้ขอทำบัตรประจำตัวประชาชนจะต้องมีข้อมูลในระบบฐานข้อมูลของกระทรวงมหาดไทยและข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องถูกต้องตรงกับฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร
3. สำหรับกรณีคนไทยที่ยังไม่เคยยื่นคำขอมีบัตร (กรณีมีบัตรครั้งแรก)ไม่สามารถยื่นขอทำบัตรในต่างประเทศได้ หากประสงค์จะทำบัตรจะต้องไปดำเนินการยื่นคำขอในประเทศไทยเท่านั้น โดยท่านสามารถศึกษาข้อมูลได้ที่ –> การมีบัตรประจำตัวประชาชนครั้งแรก
4. ท่านไม่สามารถทำบัตรประชาชนใหม่ได้ หากบัตรใบเดิมยังมีอายุเหลือเกินกว่า 60 วัน (ยกเว้นกรณีบัตรหาย)

คนไทยที่เดินทางไปต่างประเทศเป็นเวลานาน โดยปกติแล้วจะต้องแจ้งย้ายชื่อออก
จากทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) เข้าไปอยู่ในทะเบียนบ้านชั่วคราวสำหรับคนที่เดินทางไปต่างประเทศ

สำนักทะเบียนแต่ละแห่งจะกำหนดให้มีทะเบียนบ้านชั่วคราวสำหรับลงรายการของบุคคลที่
เดินทางไปต่างประเทศสำนักทะเบียนละ 1 แห่ง

[ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร 2535 ข้อ 87]  

ซึ่งผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านชั่วคราวดังกล่าว จะมีสิทธิขอทำบัตรประจำตัวประชาชนในต่างประเทศได้

อย่างไรก็ดี กระทรวงมหาดไทยได้อนุโลมให้ผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร. 14)
ที่ยังไม่ได้โอนชื่อเข้าทะเบียนบ้านชั่วคราวสามารถต่ออายุบัตรฯ ในต่างประเทศได้ก่อน

แต่ขอให้ สอท./สกญ. แนบเอกสารที่เป็นข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติที่ถูกต้องตาม
พ.ร.บ. ทะเบียนราษฎรให้ผู้ร้องพิจารณาดำเนินการตามที่เห็นสมควรในภายหลัง เช่น
ผู้ยื่นขอทำบัตรอาจดำเนินการเองในการโอนชื่อเข้าทะเบียนบ้านชั่วคราว
หรือมอบอำนาจให้ญาติพี่น้องที่อยู่ในประเทศไทยยื่นคำร้องขอเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้านชั่วคราว
สำหรับคนที่เดินทางไปต่างประเทศได้

[ตามระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 5) 2551 ข้อ 96/2]

กรณีหากยังไม่บรรลุนิติภาวะ ให้บิดา มารดา หรือผู้ปกครองโดยชอบด้วยกฎหมายเป็นผู้มอบอำนาจ
ขอโอนย้ายชื่อเข้าทะเบียนบ้านชั่วคราวแทน

"สำหรับผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง จะไม่สามารถขอทำบัตรประจำตัวประชาชนในต่างประเทศได้
ขอให้ติดต่อสำนักทะเบียนที่เกี่ยวข้อง เพื่อแจ้งย้ายชื่อออกจากทะเบียนบ้านกลาง
ไปเข้าทะเบียนบ้านชั่วคราวสำหรับคนที่เดินทางไปต่างประเทศ โดยดำเนินการ
ด้วยตนเองหรือสามารถมอบอำนาจบุคคลอื่นดำเนินการแทน"

และอย่าลืมครับ  masii ขอทิ้งท้ายแบบเดิม ถ้าหากเราต้องการสินเชื่อส่วนบุคคล หรือต้องการสินเชื่อเงินสด หรือต้องการบัตรกดเงินสดมาใช้งาน ก็จำเป็นต้องใช้สำเนาบัตรประชาชนเพื่อเป็นเอกสารสำคัญครับ และสามารถ คลิกที่นี่ เพื่อเปรียบเทียบสินเชื่อส่วนบุคคล ออนไลน์ สมัครบัตรเครดิต หรือสมัครสินเชื่อส่วนบุคคล สมัครบัตรกดเงินสด ได้ด้วยตัวเอง และสามารถแอด Line @ :@masii ครับมาสอบถามเพิ่มเติมได้เลย เรามีเจ้าหน้าที่คอยให้บริการอยู่

การทำบัตรประชาชน จะต้องมีคุณสมบัติคือ มีสัญชาติไทย ต้องมีอายุตั้งแต่ 7 ปี แต่ไม่เกิน 70 ปี และต้องมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (ท.ร.14) 

- ทําบัตรประชาชนครั้งแรก ต้องเตรียมอะไรบ้าง
สำหรับการเริ่มทำบัตรประชาชนครั้งแรก ควรทำภายใน 60 วัน หากพ้นกำหนดจะเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องเตรียมหลักฐาน ดังนี้

  • ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
  • สูติบัตร หรือเอกสารอื่นๆ ที่หน่วยงานราชการออกให้เพื่อยืนยันตัวตน 
  • หากเปลี่ยนชื่อ ให้นำหลักฐานมาแสดงด้วย
  • หากบิดามารดาเป็นคนต่างด้าว ให้นำหลักฐานประจำตัวคนต่างด้าวของบิดามารดามายืนยัน
  • หากไม่มีหลักฐานสำคัญ ให้นำบุคคลน่าเชื่อถืออย่างน้อย 2 คน ไปพบเจ้าหน้าที่เพื่อให้การรับรอง

- หากบัตรประชาชนเดิมหมดอายุ ต้องทำอย่างไร
หากบัตรเดิมหมดอายุ ต้องไปยื่นคำขอทำบัตรใหม่ภายใน 60 วัน นับแต่วันหมดอายุบนบัตร โดยไม่ต้องเสียค่าธรรมเนียม แต่หากพ้นกำหนด มีค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องใช้หลักฐานดังนี้

  • บัตรประจำตัวประชาชนใบเดิม (ที่หมดอายุ)
  • หากบัตรประชาชนใบเดิมหมดอายุเป็นเวลานานแล้ว จะต้องให้เจ้าบ้าน หรือบุคคลที่น่าเชื่อถือมารับรองด้วย

- บัตรหายอย่าเพิ่งตกใจ ขอทำบัตรประชาชนใหม่ได้
ในกรณีที่บัตรประจำตัวประชาชนหาย เสียหาย หรือถูกทำลาย ไปติดต่อขอทำใหม่ ณ ที่ว่าการอำเภอ หรือสำนักงานเขตเทศบาล ภายในเวลา 60 วันนับตั้งแต่วันที่บัตรหาย หากพ้นกำหนด ต้องเสียค่าปรับไม่เกิน 100 บาท โดยต้องใช้หลักฐาน ดังนี้

  • เอกสารที่มีรูปถ่าย ซึ่งออกให้โดยหน่วยงานราชการ เช่น ใบอนุญาตขับขี่ หลักฐานการศึกษา หรือหนังสือเดินทาง ฯลฯ
  • หากไม่มีหลักฐานข้อแรก ให้นำเจ้าบ้าน หรือบุคคลน่าเชื่อถือไปรับรองต่อเจ้าหน้าที่

ทําบัตรประชาชน ที่ไหนได้บ้าง?

การทำบัตรประชาชน สามารถไปติดต่อ ณ สถานที่ราชการ เช่น สำนักงานเขต, สำนักงานเทศบาล, สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, ที่ว่าการอำเภอในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ปัจจุบันสามารถทําบัตรประชาชนนอกเขตได้แล้ว โดยยื่นขอทำบัตรประจำตัวประชาชนได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ 

นอกจากนี้ ก็ยังมีจุดบริการด่วนมหานคร (BMA Express Service) ที่เปิดให้ไปติดต่อทำบัตรประชาชน ณ สถานีรถไฟฟ้า BTS ในกรุงเทพฯ (ยกเว้นกรณีบัตรหาย ไม่สามารถติดต่อทำที่ BTS ได้)

  • สถานีรถไฟฟ้าสยาม (หน้าศูนย์การค้าสยามพารากอน)
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.30-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าหมอชิต
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าพร้อมพงษ์
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 09.00-20.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-18.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าอุดมสุข
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.
  • สถานีรถไฟฟ้าวงเวียนใหญ่
    วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น.
    วันเสาร์-อาทิตย์ และนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00-19.00 น.

ภายในศูนย์การค้าต่างๆ ก็มีจุดบริการทําบัตรประชาชนในห้าง เพื่ออำนวยความสะดวกให้ประชาชนให้สามารถไปติดต่อได้ เช่น ศูนย์การค้าเกตเวย์เอกมัย, ห้างสรรพสินค้าแฟชั่นไอส์แลนด์, ห้างสรรพสินค้าซีคอนบางแค, ห้างสรรพสินค้าเดอะมอลล์บางแค, ห้างสรรพสินค้าตั้งฮั่วเส็ง เป็นต้น

จะเห็นได้ว่าการทำบัตรประชาชนในปัจจุบันมีความสะดวกรวดเร็วกว่าที่คิด หากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการทำบัตรประชาชน สามารถติดต่อสอบถามสำนักบริหารทะเบียน กรมการปกครอง Call Center 1548 หรือติดต่อที่สำนักงานเขต และที่ว่าการอำเภอทั่วประเทศ.

ต่อบัตรประชาชนหมดอายุต้องใช้ทะเบียนบ้านไหม

หลักฐาน 1. สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน 2. บัตรประจำตัวประชาชนเดิม (ถ้ามี) 3. หากไม่ปรากฏข้อมูลการทำบัตร หรือบัตรเดิมได้หมดอายุนานมากแล้ว ต้องนำเอกสารอื่นที่ทางราชการออกให้มาแสดง พร้อมทั้งนำเจ้าบ้านและบุคคลที่น่าเชื่อถือมารับรอง

ทำบัตรประชาชนต้องใช้ทะเบียนบ้านตัวจริงไหม

ในกรณีที่ทำบัตรประชาชนครั้งแรก เอกสารที่ต้องเตรียมก็ตามนี้เลย สูติบัตร ทะเบียนบ้านตัวจริงหรือเอกสารอื่นๆ ที่หน่วยงานราชการออกให้ ถ้าเคยเปลี่ยนชื่อต้องนำหลักฐานการเปลี่ยนชื่อมาด้วย

บัตรประชาชนหมดอายุทำต่างจังหวัดได้ไหม

ทําบัตรประชาชนที่ไหนได้บ้าง? การทำบัตรประชาชน สามารถไปติดต่อ ณ สถานที่ราชการ เช่น สำนักงานเขต, สำนักงานเทศบาล, สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง, ที่ว่าการอำเภอในพื้นที่ที่อาศัยอยู่ ปัจจุบันสามารถทําบัตรประชาชนนอกเขตได้แล้ว โดยยื่นขอทำบัตรประจำตัวประชาชนได้ทุกจังหวัดทั่วประเทศ

บัตรประชาชน หมดอายุ ต่อ ที่ไหนได้ บ้าง

ทำบัตรประชาชนใหม่ได้ที่ไหนบ้าง.
1. สำนักงานเขต.
2. สำนักงานเทศบาล.
3. สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง.
4. ที่ว่าการอำเภอในจังหวัดที่อาศัยอยู่.
5. ศาลาว่าการ กทม..
6. จุดบริการด่วนมหานคร BMA Express Service. ... .
7. ห้างสรรพสินค้า.

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก