การพัฒนารูปแบบการบริหาร ดุษฎีนิพนธ์

ผู้แต่ง

คำสำคัญ:

การพัฒนา, รูปแบบ, การบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา, ศตวรรษที่ 21

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21 และ 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21 โดยมีการดำเนินการวิจัย 4 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา เมื่อกำหนดองค์ประกอบ และตัวชี้วัดการวิจัย 2) พัฒนาองค์ประกอบ และตัวชี้วัดการวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย 3) จัดสนทนากลุ่มกับผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน เพื่อรับข้อเสนอแนะเพิ่มเติม และ 4) ประเมินความคิดเห็นจากผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าพิสัยควอไทล์ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สำหรับความเหมาะสมขององค์ประกอบใช้ ค่ามัธยฐาน และพิสัยควอไทล์ สำหรับความสอดคล้อง

          สรุปผลการวิจัย

  1. ผู้เชี่ยวชาญ ทั้ง 21 คน เห็นด้วยกับการพัฒนาองค์ประกอบรูปแบบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21 ทั้ง 6 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาครูผู้สอน ด้านการพัฒนาการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาทักษะผู้เรียน ด้านการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาการประเมินผลผู้เรียน และตัวชี้วัดขององค์ประกอบทั้ง 30 ข้อ
  2. ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ทั้ง 9 คน ต่างเห็นสอดคล้องกันว่าองค์ประกอบและตัวชี้วัดของการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเหมาะสมดี
  3. ผลการประเมินความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา ทั้ง 150 คน พบว่า ทุกคนเห็นด้วยกับองค์ประกอบการบริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ทั้งหมดที่กล่าวมาทุกด้านแล้วอยู่ในระดับมาก

Downloads

Download data is not yet available.

References

คณะกรรมาธิการนานาชาติว่าด้วยการศึกษาในศตวรรษที่ 21. (2540). การเรียนรู้ : ขุมทรัพย์ในตน.กรุงเทพฯ :สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ.
คัมภีร์ สุดแท้. (2553). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
จันทรานี สงวนนาม. (2545). ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: บุ๊คพ้อยด์.
จินตนา สุจจานันท์. (2556). การศึกษาและการพัฒนาชุมชนในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
ณัฐศักดิ์ จันทร์ผล. (2552). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่เน้นการกระจายอํานาจ. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม.
เด่น ชะเนติยัง. (2552). เอกสารประกอบการบรรยายวิชาการวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
ถวิลวดี บุรีกุล และ เมธิศา พงษ์ศักดิ์ศรี. (2550). การสนทนากลุ่ม: เทคโนโลยี เพื่อการมีส่วนร่วมและการเก็บข้อมูลเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 2) กรุงเทพฯ: งานดี กราฟฟิก.
ทิศนา แขมมณี. (2550). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ รุญเจริญ. (2551). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
ธีระ รุญเจริญ. (2553). ความเป็นมืออาชีพในการจัดการศึกษาและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เอ็กซเปอร์เน็ท.
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. (2549). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: นิพิธการพิมพ์.
นราวัลย์ สุรังค์สุริยกุล. (2555). รูปแบบการจัดการคุณภาพโดยรวมในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
น้ำผึ้ง มีศิล. (2559). การวิจัยด้วยเทคนิคเดลฟาย : การหลีกเลี่ยงมโนทัศน์ที่ไม่ถูกต้อง. วารสาร Veridian E-Journal (ฉบับภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร. สาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ.9(1). 1256–1267.
มานพ วรรณลิภะ และ ปรีชา วิหคโต (2556). การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน
เขต 1. ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.
รุ่งนภา จิตรโรจนรักษ์. (2548). การพัฒนารูปแบบการบริหารของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุ่งรัชดาพร เวหะชาติ. (2548). การพัฒนารูปแบบการบริหารคุณภาพทั้งองค์การของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. การศึกษาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). ประสิทธิภาพการบริหาร. กรุงเทพ: อรุณการพิมพ์จำกัด.
สำนักงานปฏิรูปการศึกษา. (2545). การบริหารตามแนวปฏิรูปการศึกษา. วารสารวิชาการ. 5(6) ,23-30.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2549). กฎหมายเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ 21.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟิก.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2552). แนวทางการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
Bass, B. M. (1998). Transformational leadership: Industrial, Military and educational impact. Mahwah. NJ: Lawrence Erlbaum Associates.
Bass, B.M. & Avolio, B J. (1994). Improving Organizational Effectiveness Through Transformational Leadership. London: Sage.
Bass, B.M. & Riggio, R E. (2006). Transformational Leadership. (2nd ed). New Jersey: Lawrence Erlbaum Associates.
Best, J. W. (1981). Research in education. New Jersey: Prentice Hall.
Brown, W. and Moberg, D. J. (1980). Organization Theory and Management: A Macro Approach. New York: Wiley & Sons.
Cronbach, L. (1970). Essentials of psychological testing (3rd ed). New York: Row and Publishers.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Good, Carter V. (2005). Dictionary of Education. (5th Ed.). New York: McGraw-Hill.
Hoyle, J. R., English, F. W. & Steffy, B. E. (2005). Skills for Successful 21st Century School Leaders: Standards for Peak Performers. American
Association of School Administrators, Arlington, VA.
Husen , T. & Postlethwaite, T. Neville. (1994). Self-Directed Learning: A Guide for Learners and Teacher. New York: Association Press.
International Commission on Education for the Twenty-first Century., Delors, J., & UNESCO. (1996). Learning, the treasure within: Report to
UNESCO of the International Commission on Education for the Twenty-first Century. Paris: UNESCO Pub.
Luther Gulick. 1937. Paper on the Science of Administration. In the Luther Gulick and LyndallUrwick (eds.), Notes on the Theory of Organization.
New York: Institute of Public Administration.
Sergiovanni, Thomas J. (1984). Handbook for Effective Department Leadership. Massachusetts: Allyn & Bacon, Inc.
The National Commission on Teaching and America’s Future. (2003). No dream denied: A pledge to America’s children. Washington. DC :
Author.
Yukl, G.A. (2001). Leadership in organization. (2nded.). New Jersey: Prentice-Hall.

ฉบับ

บท

บทความวิจัย (Research Articles)

License

บทความทุกบทความเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก